ร่วมอนุรักษ์คลองบางไทร ล้อมรั้วด้วยใจ ถักทอสวนสายใยด้วยภูมิปัญญา นำพาสุขภาวะชุมชน

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-01510
สัญญาเลขที่ 56-00-0977

ชื่อโครงการ ร่วมอนุรักษ์คลองบางไทร ล้อมรั้วด้วยใจ ถักทอสวนสายใยด้วยภูมิปัญญา นำพาสุขภาวะชุมชน
รหัสโครงการ 56-01510 สัญญาเลขที่ 56-00-0977
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุธรรม แก้วประดิษฐ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นาง ปาลีรัตน์ แก้วประดิษฐ์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 27 มกราคม 2557
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 31 มกราคม 2557
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นาย มีชัย ดีถนอม 111 ม.2 ต.คลองน้อย อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช 08-43057564
2 นาย ดำรง ศรเกลี้ยง 107/1 ม.2 ต.คลองน้อย อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช 089 7255588
3 นาย สุวิทย์ สุขศรีนวล ครู ร.ร บ้านปากคลอง ต.คลองน้อย อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช 08-11244341

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  1. เพื่อให้ชุมชนบ้านบางไทรหมู่ที่ 2  มีรั้วมะขามสร้างสุขภาพ และสวนสุขภาพภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ชุมชนร่วมสร้างเอง และคนในชุมชน รู้จักใช้ภูมิปัญญาและการแพทย์พื้นบ้านในการจัดการดูแลสุขภาพ และสร้างความสามัคคี ให้กับคนในชุมช

1.1 ครัวเรือนร่วมสร้างรั่วสุขภาพโดยใช้กล้ามะขาม  ชะอม  หรือไม้ประดับอื่นๆ  70 ครัวเรือน 1.2 ชุมชนมีสวนสุขภาพภูมิปัญญาพื้นบ้าน 1 แห่ง

2.

2.เพื่อให้ชาวบางไทรร่วมอนุรักษ์สายน้ำ การละเล่นพื้นบ้านทางน้ำ และสืบสานภูมิปัญญาของท้องถิ่น

2.1 คลองบ้านบางไทรได้รับการดูแลรักาาอย่างต่อเนื่อง 2.2 อนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้านทางน้ำอย่างน้อย 3 อย่าง 2.3 ชุมชนและแกนนำได้ประชุมแลกเปลี่ยนกันทุกเดือ

3.

3.เพื่อให้ คลองบ้านบางไทรมีความสมบูรณ์และความมั่นคงทางด้านอาหาร

3.1 จำนวนปลาในแหล่งน้ำเพิ่มขึ้น พันธ์ไม้น้ำ ไม้พื้นบ้านเพิ่มขึ้น

4.

เพื่อบริหารการดำเนินโครงการและติดตามโครงการ

เพื่อให้โครงการมีการดำเนินการตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

การประชุมกลุ่มเป้าหมายคือแกนนำที่มีจิตสาธารณะ อาสาเข้ามาร่วมกิจกรรม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

แกนนำมาครบตามจำนวนที่ตั้งเป้าไว้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สมาชิกแกนนำสอบถามรายละเอียดปลีกย่อยของโครงการ และข้อสงสัยต่างๆในเรื่องของระเบียบการเงิน มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆหลายประเด็นแต่ท้ายที่สุดก็หาประเด็นร่วมกันได้ แต่เรืองที่น่ายินดีคือกลุ่มบุคคลที่มีความคิดเห็นคนละฝ่าย มาเข้าร่วมโครงการและอาสาเข้าร่วมอยู่ในกลุ่มแกนนำด้วยและจะชักชวนเพื่อนในกลุ่มมาเข้าร่วมโครงการด้วย

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ได้ทำหนังสือเพื่อแจ้งให้ครัวเรือนเข้าร่วมประชุมทุกครัวเรือนและได้ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวอีกช่องทางหนึ่ง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

จำนวนผู้เข้าประชุมถือว่าอยู่ในระดับที่น่าพอใจ ทุกคนให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการและก็ได้กลุ่มเป้าหมายตามเป้าที่ตั้งไว้ จำนวน70คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

กลุ่มแกนนำได้เสนอพันธ์ไม้เพื่อใช้ในกิจกรรม ประมาณ 8 ชนิด แต่ที่ประชุมมีความเห็นร่วมกันว่าน่าจะคัดเลือกพันธืไม้ให้เหลือเพียงแค่ 2 ชนิด เพราะจะง่ายในการจัดหาและการบริหารจัดการ  และขออาสาสมัครเพื่อร่วมในวันจัดหาพันธืไม้  และผู้รับผิดชอบเรื่องอาหารการกิน ทางแกนนำกลุ่มร่วมกันรับผิดชอบดีมาก และช่วยกันตั้งกฏระเบียบร่วมกัน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยึดถือปฎิบัติร่วมกันเช่น 1.ห้ามสูบบุหรี่และนำสุราเข้ามารับประทาน 2.จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งที่ทางกลุ่มจัดหากเข้าร่วมไม่ได้ให้ส่งตัวแทนเข้าร่วม 3.การเข้าร่วมประชุมจะต้องตรงเวลา

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแกนนำร่วมกันจัดหาพันธ์ไม้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

พันธืไม้ที่ได้มาที่มีขนาดยาว แกนนำกลุ่มและสมาชิก ได้สับเป็นท่อนใส่ถุงดำเพาะเอาไว้ และได้มอบหมายให้สมาชิกกลุ่มที่อยู่ใกล้โรงเรือนเพาะต้นไม้รับผิดชอบดูแล

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เป็นเรื่องที่น่ายินดีผู้ที่ตั้งใจเข้าร่วมโครงการบางคนได้เพาะเมล็ดมะขามเตรียมไว้ร่วมโครงการบ้างแล้วและได้แบ่งปันให้เพื่อนคนอื่นด้วย

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมบางคนที่ตั้งใจจะร่วมกิจกรรมจริงๆ ได้ถากถาง เตรียมพื้นที่ไว้บ้างแล้ว ซึ่งเกิดจากการประชาสัมพันธ์ของแกนนำ  และได้นำเครื่องไม้เครื่องมือมาร่วมด้วย ช่วยขุด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

หมู่บ้าน ตำบล ที่อยู่ใกล้ชิดติดกัน ชมเชย ถึงกิจกรรมที่ทำอยู่ มาสังเกตการณ์ดู สอบถาม ที่ไป ที่มา ของโครงการ  ดูทุกคนมีความสุข สนุกดี หยอกเย้ากระเซ้าแหย่ รับประทานอาหารร่วมกัน ความผูกพันธ์ ฟื้นคืนมา

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สองข้างทางของถนนดูสะอาดขึ้น ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พูดดคุย พบปะ ช่วยเหลือกัน และได้มีความคาดหวังร่วมกันถึงความเติบโต และจำนวนอัตราของการรอด ก่อนที่จะถึงฤดูการน้ำหลากที่จะมาถึง และได้ย้ำเตือนถึงผู้ที่เลี้ยงวัว อย่าปล่อยวัว หรือล่ามวัว ใกล้ต้นไม้

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
การได้รับความร่วมมือจากฝ่ายตรงข้าม

ด้วยผู้ใหญ่บ้านเพิ่งได้รับการเลือกตั้งใหม่ ส่วนหนื่งมีความบาดหมางกันบ้างในชุมชน แต่ผู้ใหญ่บ้านท่านได้ไปชักชวนกลุ่มแกนนำซึ่งเป็นกลุ่มผู้ใหญ่บ้านคนก่อน ให้เข้ามาร่วมเป็นแกนนำในการทำโครงการและได้ชักชวนกลุ่มเพื่อนเข้ามาร่วมกิจกรรมด้วย

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

 

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

1.บริเวณหน้าบ้านของผู้ร่วมโครงการได้รับการถาง หญ้าปรับพื้นที่

2.บริเวณ2 ข้างทางถนน 3.บริเวณริมคลอง

แกนนำและชาวบ้านได้ร่วมกันปรับถางป่า บริเวณหน้าบ้านของสมาชิก และบริเวณริมคลอง และบริเวณ 2 ข้างทางถนนโดยร่วมกันลงแขก

 

 

 

 

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การใช้จ่ายงบประมาณในงวดที่1 ใช้จ่ายน้อยกว่าที่ได้ได้รับคือร้อยละ70

ผุ็รับทุนกระชับการใช้จ่ายเงินให้เร็วขึ้น

แนะนำให้ผู้รับผิดชอบพยายามใช้จ่ายเงินให้ครบตามกิจกรรมที่ระบุในโครงการ

 

 

 

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

เงินจากทางสสส.โอนมาให้นั้น ทางแกนนำเช็คยอดบัญชีช้านิดหนึ่ง สาเหตูเนี่องจากช่วงนั้นเกิดน้ำท่วมในพื้ที่ การดำเนินงานเลยไม่สมดุลย์กับห้วงเวลา แต่ทางกลุ่มสามารถดำเนินงานได้อย่างน่าชมเชย

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากไม่มี
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
ไม่มี
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

เป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่งในเรื่องของคนในชุมชน ที่เคยมีความเห็นที่ขัดแย้งกัน ได้จับมือร่วมกันดำเนินงาน และส่วนหนึ่งคนเกิดความตื่นตัวเข้าร่วมโครงการ บางคนเขาทำกิจกรรมอยู่ก่อนบ้างแล้ว ขอสละในเรื่องการรับพันธ์ไม้ แต่จะขอเข้าร่วมในกิจกรรมอื่นต่อไป ในเรื่องสิ่งแวดล้อมนั้นในรอบเดือนที่ผ่านมาได้มีการลงแขกร่วมมือกันถางหญ้าหน้าบ้าน ถางป่าบริเวณ2 ข้างทางริมถนน และบริเซณริมคลองบ้างแล้ว เมื่อโครงการลงในพื้นที่ก็ได้รับการรักษาดูแลเพิ่มเติมขึ้นอย่างต่อเนือง และเป็นต้นแบบให้กับชุมชน ตำบลรอบข้าง ในการดำเนินงานภายใต้การรับงบประมาณสนับสนุนจากทางสสส. ซึ่งทางแกนนำถือว่าสิ่งเหล่านี้น่าจะเป็นการช่วยจุดไฟ เติมเชื่อ ให้กับชุมชนรอบข้างได้ดี

สร้างรายงานโดย sutham