ร่วมอนุรักษ์คลองบางไทร ล้อมรั้วด้วยใจ ถักทอสวนสายใยด้วยภูมิปัญญา นำพาสุขภาวะชุมชน

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 56-01510
สัญญาเลขที่ 56-00-0977

ชื่อโครงการ ร่วมอนุรักษ์คลองบางไทร ล้อมรั้วด้วยใจ ถักทอสวนสายใยด้วยภูมิปัญญา นำพาสุขภาวะชุมชน
รหัสโครงการ 56-01510 สัญญาเลขที่ 56-00-0977
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 สุธรรม แก้วประดิษฐ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 12 สิงหาคม 2557
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 สิงหาคม 2557
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสุวิทย์ สุขศรีนวล 35 ม.2 ต.คลองน้อย อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
2 นายอุดร มากทอง 3จ ม.2 ต.คลองน้อย อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  1. เพื่อให้ชุมชนบ้านบางไทรหมู่ที่ 2  มีรั้วมะขามสร้างสุขภาพ และสวนสุขภาพภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ชุมชนร่วมสร้างเอง และคนในชุมชน รู้จักใช้ภูมิปัญญาและการแพทย์พื้นบ้านในการจัดการดูแลสุขภาพ และสร้างความสามัคคี ให้กับคนในชุมช

1.1 ครัวเรือนร่วมสร้างรั่วสุขภาพโดยใช้กล้ามะขาม  ชะอม  หรือไม้ประดับอื่นๆ  70 ครัวเรือน 1.2 ชุมชนมีสวนสุขภาพภูมิปัญญาพื้นบ้าน 1 แห่ง

2.

2.เพื่อให้ชาวบางไทรร่วมอนุรักษ์สายน้ำ การละเล่นพื้นบ้านทางน้ำ และสืบสานภูมิปัญญาของท้องถิ่น

2.1 คลองบ้านบางไทรได้รับการดูแลรักาาอย่างต่อเนื่อง 2.2 อนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้านทางน้ำอย่างน้อย 3 อย่าง 2.3 ชุมชนและแกนนำได้ประชุมแลกเปลี่ยนกันทุกเดือ

3.

3.เพื่อให้ คลองบ้านบางไทรมีความสมบูรณ์และความมั่นคงทางด้านอาหาร

3.1 จำนวนปลาในแหล่งน้ำเพิ่มขึ้น พันธ์ไม้น้ำ ไม้พื้นบ้านเพิ่มขึ้น

4.

เพื่อบริหารการดำเนินโครงการและติดตามโครงการ

เพื่อให้โครงการมีการดำเนินการตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ชักชวนชาวบ้านร่วมลอกคูคลองเพื่อรักษาสภาพริมฝั่งคลองi

13,400.00 70 ผลผลิต

คลองบางไทรได้รับการดูแล ลอกคลองต่อเนื่องโดยวางแผนลอกคลองทุกหน้าน้ำหลาก และวันสำคัญต่างๆ ปีละ 3-4 ครั้ง และสมาชิกอบต.ที่ร่วมประชุมและเป็นกรรมการเสนอให้นำเข้าสภาเพื่อจัดทำแผนต่อเนื่อง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดภาคความร่วมมือระหว่างชาวบ้าน กลุ่มกรรมการ และหน่วยงานของรัฐ ในการรื้อฟื้นคลองที่เคยเป็นหัวใจและชีวิตของชาวบางไทร

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ชาวบางไทร

13,400.00 13,400.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบางไทรลงแขกลอกคลองบางไทรคลองบางไทรบริเวณหน้าวัดกลางระยะทาง 20 กม พบว่า ผู้ชาย จำนวน 20 คนได้ร่วมกันลงแขกลอกคลอง  จากนั้นชาวบางไทรร่วมกันปล่อยพันธ์ปลาน้ำจืด ที่ได้รับสนับสนุนจากโครางการ และจากชาวบ้าน ที่จับปลาพันธืุแปลกๆได้ มาเช่น ปลาหมอช้างเหยียบ ปลาสลิด ปลาเสือ  จำนวน กว่า 1000 ตัว โดยเป้นปลาเล็ก เช่นปลาแรด ปลาดุก ปลาหมอ จำนวน 1000 ตัว จากโครงการ และปลาใหญ่ เช่น แม่ปลา จากที่ชาวบ้านนำมาบริจาค เพื่อเป็นการรักษาพันธ์ุปลาให้มีอยู่ในคลองบางไทร โดยมีเด็กในบางไทรร่วมกิจกรรมปล่อยปลา ร่วมกับผู้ใหญ่ ให้เป็นแหล่งอาหารแก่ลูกหลานสืบไป ส่วนผู้หญิงก็ทำกับข้าวเลี้ยงกันริมคลอง บรรยากาศสนุกสนานเป็นกันเอง

กิจกรรมหลัก : จัดการแข่งขันกีฬาทางน้ำในคลองบางไทรi

17,000.00 70 ผลผลิต

ด็กวัยรุ่นผู้สูงอายุ มีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์อันดี ผู้เข้าแข่งขันหมาจาก ที่ชนะเลิศ ชื่อ คุณยายผวน  สุวรรณสุทธ์ เป้นผู้ที่อายุสูงที่สุดในจำนวนผู้ร่วมแข่งขันทั้งหมด 6 คน แกทำชนะอันดับ 1 สวย ไม่รั่วน้ำ และรวดเร็ว


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมกีฬาพื้นบ้านบางไทร บรรยากาศสนุกสนาน คล้ายกับประเพณีงานวัด สมัยก่อน คนแก่ดีใจที่ได้มีส่วนร่วมสร้างสรรค์เรื่องเล่า ของเล่น วิธีการทำอุปกรณ์เครื่องใชสมัยก่อนแก่ลูกหลาน เกิดการรวมกลุ่มที่จะขยายผลเป็นปรเพณีงานประจำปีของบางไทรต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กรรมการ ผู้เข้าร่วมโครงการ และ กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนอบต.

17,000.00 17,000.00 70 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมกีฬาพื้นบ้านบางไทร มีเด้กมาร่วมกิจกรรมกับผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เพื่อสร้างความสามัคคี และรื้อฟื้นประเพณีบางไทรแต่เดิม ดยปรับเปลี่ยน จากกีฬาทางน้ำเป้นกีฬาพื้นบ้าน เน้นการแข้งขันกีฬารายบุคคล ได้แก่ ดึงข้อแข่งกัน แช่งกัน มวยทะเล  หัวล้านชนกัน ตีไก่ ส่วนประเภททีมได้แก่ ผู้จัดกิจกรรมสำคัญได้แก่คณะทำงาน 15 คน รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามมติ วิ่งเปี้ยว มอญซ่อนผ้า และเรือบก ซึ่งเน้นการทำงานเป็นทีม โ ผลสำคัญ บรรยากาศดี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายครบ ทั้งเด็กวัยรุ่นผู้สูงอายุ มีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์อันดี ผู้เข้าแข่งขันหมาจาก ที่ชนะเลิศ ชื่อ คุณยายผวน  สุวรรณสุทธ์ เป้นผู้ที่อายุสูงที่สุดในจำนวนผู้ร่วมแข่งขันทั้งหมด 6 คน แกทำชนะอันดับ 1 สวย ไม่รั่วน้ำ และรวดเร็ว แกบอกว่า งานประกวดเรือพระปีที่แล้ว แกทำหมาจากขนาดจิ๋วให้ประดับเรือจำนวน เกือบร้อยใบ เรือประกวดได้ที่ 1 เดีย่วนี้เด้กรุ่นหลายเค้าไม่ทำกันแล้ว ยายตายก้คงไม่มีใครทำต่อ เพราะไม่รู้จะสานทำอะไร มีของอื่นมาใช้แทนเยอะแยะ ป้า โสภา และป้าหนูริน ซึ่งร่วมแข่งขัน ได้ อันดับ 2 และ สาม บอกว่า การจัดกิจกรรมสืบสานกีฬาพื้นบ้าน จะทำให้สิ่งเหล่านี้ไม่สูญหายไป เด้กที่มาร่วมกิจกรรมได้หัดฝึกทำกัน และได้ภาคภูมิใจกับผลงานของตนเอง

กิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมแรลลี่ครอบครัวทัวร์คลองบางไทรi

15,400.00 70 ผลผลิต

จัดกิจกรรม ที่สวนภูมิปัญญา มีเด้ก เยาวชน 30 คน ผู้สูงอายุ 15 คน วัยรุ่น 15 คน กรรมการ และชาวบางไทรทุกกลุ่มวัยมาเข้าร่วมกิจกรรมมีกิจกรรม อีก 20 คน การเล่านิทาน การหัดร้องเพลงกล้อมเด้กและประกวด การเล่านิทาน และการร้องเพลงบอก และการละเล่นของเด็ก เช่นเก้าอี้ดนตรี การเล่นหมากขุมรายครอบครัว


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

บรรยากาศ ในกิจกรรมสนุกสนานอบอุ่น เด้กๆและรุนผู้ใหญ่มีกิจกรรมครอบครัวด้วยกัน สีหน้าแต่ละคนสดชื่น เกิดความร่วมมือ และการสมทบทุนสวนภูมิปัญญา จากการร่วมบริจาคอุปกรณ์ เครื่องเล่น และเงินแก่ประธานโครงการและทุกคนอยากให้มีกิจกรรมแบบนี้ทุกๆปี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

แกนนำ 10 คน ชาวบางไทร 60 คน

15,400.00 15,400.00 70 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กิจกรรมแรลลี่ครอบครัวทัวร์คลองบางไทร เพื่ออนุรักษ์คลองบางไทร และสร้างสามัคคีภายในชุมชน ได้จัดกิจกรรม ที่สวนภูมิปัญญา มีเด้ก เยาวชน 30 คน ผู้สูงอายุ 15 คน วัยรุ่น 15 คน กรรมการ และชาวบางไทรทุกกลุ่มวัยมาเข้าร่วมกิจกรรมมีกิจกรรม อีก 20 คน การเล่านิทาน การหัดร้องเพลงกล้อมเด้กและประกวด การเล่านิทาน และการร้องเพลงบอก และการละเล่นของเด็ก เช่นเก้าอี้ดนตรี การเล่นหมากขุมรายครอบครัว
บรรยากาศ ในกิจกรรมสนุกสนานอบอุ่น เด้กๆและรุนผู้ใหญ่มีกิจกรรมครอบครัวด้วยกัน สีหน้าแต่ละคนสดชื่น เนื่องจกเป็นการจัดกินกรรมในวันแม่แห่งชาติ ทุกคนที่มาร่วมงานมีความปิติยินดี คนร่วมกิจกรรมตั้งแต่เช้า จน มืด เนื่องจากมีกิจกรรมตอนค่ำจุดเทียนชัยถวายพระพร ต่อเนื่องไปเลย ผู้จัดกิจกรรมสำคัญได้แก่คณะทำงาน 15 คน ร่วมแรงแข็งขัน จากการพูดคุยทุกคนเหนือยเพราะอากาศร้อนมาก แต่ไม่มีไครีรีบกลับ เพราะเป็นกิจกรรมที่สร้างความสุขให้กับคนบางไทรอีกครั้ง ด้านความร่วมมือนับว่าเป็นกิจกรรมที่ได้รับร่วมมือทุกภาคส่วน จาก อบต.คลองน้อย จากชาวบ้น ที่มีบริจาคเงินสมทบกิจกรรมสวนภูมิปัญญ า และวัสดุจำนวน ประมาณ 5000 บาท และผญ.บ้านและคณะกรรมการได้จัดทำกองทุนสวนภูมิปัญญาบ้านบางไทรเพื่อสืบสานภูมิปัญญาพื้นบ้านต่อไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
กองทุนภูมิปัญญา

เกิดกระบวนการคิดและร่วมวางแผนกิจกรรมสร้างบ้านสร้างเมืองประชุมหารือ ร่วมกัน การจัดทำเวที ร่วมปรึกษาพูดคุย และนำประเด็นใกล้ตัว มาพูดเชิงสร้างสรรค์ ใช้แนวคิดการผลักดันการจัดการปัญหาชุมชนเป็นความร่วมมือของทุกองคาพยพ

เกิดกองทุนที่ชาวบ้านพร้อมใจกันร่วมพัฒนาชุมชน

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
สวนภูมิปัญญาบ้านบางไทร

สร้างสรรค์และรวบรวมวัฒนธรรมบางไทร มาเก็บ แสดง ไว้ และ ทำให้มีชีวิต โดยการสร้างสวนหย่อม พื้นที่อุปกรณ์ออกกำลังกาย ให้ เป็นสถานที่ เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนทุกเพศทุกวัย ใช้เป็นเวทีชาวบ้านในการพูดคุยปรึกษาปัญหาชุมชน

ศูนย์เรียนรู้ด้านภูมิปัญญาบางไทร

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ด.ต.ไชยยงค์ เรืองขนาบ 5 ม. 2 ต.คลองน้อย อ.ปากพนั จ.นครศรีธรรมราช

เป็นผู้มีความมุ่งมั่น กล้าแสดงความคิเดเห็นกล้าตัดสินใจ มีความเป็นผู้นำ และมีความสามารถ ความรู้ในการจัดการคน จัดการวางแผน และลงมือทำเอง และเป็นที่รักของคนในชุมชน

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

คลองบางไทรได้รับการลอกเอาหญ้าวัชพืชที่รกคลุมทางน้ำออกในบางส่วน

มีการลอกคลองบางไทรจำนวน 100 เมตร จากคลองยาวทั้งหมด 5 กม. และชาวบ้านและอบต.ร่วมกันทำแผนลอกคูคลองต่อเนื่อง

พื้นทีรั้วบริเวณหน้าบ้านได้รับการดูแลจัดการรักษาความสะอาดการปลูกรั้วไม้พืชต่างๆเกือบทุกหลัง

ชาวบ้านเริมมีการเปลี่ยนแปลงแนวคิดเห็นด้วยกับการปลูกรั้วไม้สีเขียวมีประโยชน์ด้วยตัวเอง

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

มีการดำเนินการและใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานกำหนด

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย Nongluk_R