แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ กลุ่มชุมชนพันวาลร่วมใจพัฒนาอาชีพ ”

ชุมชนพันวาล หมู่ที่ 20 ตำบลรับร่อ อำเภอท่าแซะจังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
น.ส.วันเพ็ญ ประการแก้ว

ชื่อโครงการ กลุ่มชุมชนพันวาลร่วมใจพัฒนาอาชีพ

ที่อยู่ ชุมชนพันวาล หมู่ที่ 20 ตำบลรับร่อ อำเภอท่าแซะจังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 56-02517 เลขที่ข้อตกลง 56-00-1068

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2556 ถึง 30 กันยายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"กลุ่มชุมชนพันวาลร่วมใจพัฒนาอาชีพ จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนพันวาล หมู่ที่ 20 ตำบลรับร่อ อำเภอท่าแซะจังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กลุ่มชุมชนพันวาลร่วมใจพัฒนาอาชีพ



บทคัดย่อ

โครงการ " กลุ่มชุมชนพันวาลร่วมใจพัฒนาอาชีพ " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนพันวาล หมู่ที่ 20 ตำบลรับร่อ อำเภอท่าแซะจังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 56-02517 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 133,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 250 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการพัฒนาให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและเพิ่มรายได้
  2. เพื่อให้ประชาชนจัดตั้งกลุ่มอาชีพครัวเรือน
  3. เพื่อพัฒนาและติดตามโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงโครงการฯ งบประมาณที่ได้และการร่วมกันจ้ดกิจกรรมตามแผนงาน

    วันที่ 12 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับที่มาโครงการและวัตถุประสงค์  พร้อมทั้งรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการลดปลดหนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน อบต. และชาวบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชาชนและแกนนำมีความรุ้และความเข้าใจ ในรายละเอียดของโครงการ รวมทั้งสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกการเลี้ยงจิ้งหรีด 20 คน และเลี้ยงกบจำนวน 20 คน

     

    250 86

    2. ลงทะเบียนสมาชิก

    วันที่ 15 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการทุกครัวเรือนสมัครพร้อมทั้งลงทะเบียนเข้าร่วมเป็นสมาชิกเลี้ยงกบและจิ้งหรีด จำนวน 50 คน ผู้ใหญ่บ้านและอบต.รับทราบและสนับสนุนการดำเนินงาน พร้อมทั้งจัดทำกติกาการเป็นสมาชิกกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สมาชิกเข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในกฏ กติกาของกลุ่มเป็นอย่างดี โดยมีดังนี้ 1)  สมาชิกต้องเสียค่าสมัครคนละ 50บาท  2) กลุ่มเลี้ยงกบและจิ้งหรีดเมื่อขายแล้วต้องหักเข้ากองกลาง 10% เพื่อเป็นคาหัวอาหารในการเลี้ยงสัตว์ต่อไป 3) ต้องทำงานตามตารางเวรที่กลุ่มตั้งไว้ในการให้อาหารดูแลสัตวืเลี้ยง

     

    100 50

    3. ให้ความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 23 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสมาชิกในเรื่องการใช้ชีวิตประจำวันและการใช้จ่ายครัวเรือนอย่างประหยัด การออม การปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองเหลือแจกเพื่อนบ้าน และขายให้กับคนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สมาชิกมีความรู้และเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและสัญญาว่าจะนำไปใช้อย่างครบถ้วนทุกครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ

     

    100 97

    4. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 26 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้รับความรู้ในการจัดทำรายงานที่เกี่ยวข้องกับการลงรายงานทางอินเตอร์เนต การทำบัญชีและการลงรายงานค่าใช้จ่ายที่ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีความเข้าใจและสามารถลงบันทึกข้อมูลทั้งรายงานและการเงินได้ถูกต้อง

     

    2 2

    5. สร้างเสริมรายได้ชุมชน

    วันที่ 28 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับการเลี้ยงกบและจิ้งหรีดสิ่งที่ควรระวังในการเลี้ยง เช่นโรคของสัตว์เลี้ยงแบ่งกลุ่มและสาธิตและการขุดบ่อเตรียมความพร้อมที่จะนำกบมาปล่อยบ่อ วิธีดูแลและทำความสะอาดให้กับสมาชิกที่มาร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สมาชิกที่มาร่วมกิจกรรมมีความรู้ความใจในการเลี้ยงและดูแลสัตว์เลี้ยง ทั้งกบและจ้งหรีด

     

    40 50

    6. สำรวจข้อมูลการเป็นหนี้

    วันที่ 14 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมและเสนอแนวทางการสำรวจข้อมูลจากองค์กรต่างๆที่สมาชิกมีภาวะหนี้รวมเช่นกองทุนหมู่บ้าน ธกส. นอกระบบ และสำรวจข้อมูลตามบ้านของสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานมีความเข้าใจที่มาของการเป็นหนี้สินของสมาชิกส่วนใหญ่เกิดภาวะหนี้สินเพราะการลงทุนไม่มีเงินในการลงทุนก็ไปกู้ยืมทุกองค์กรณ์

     

    50 50

    7. การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ สาธิตทำปุ๋ย และจดเลี้ยงจิ้งหรีด

    วันที่ 15 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สมาชิกที่มาร่วมกิจกรรมใช้ปุ๋ยชีวภาพแทนปุ๋ยเคมีในการปลูกผักไว้กินเองตามครัวเรือนหมักปุ๋ยโดยใช้เศษอาหารต่างๆเพื่อลดรายจ่ายและได้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สมาชิกเห็นความสำคัญในเรื่องของสุขภาพหันมาปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเองรู้จักทำปุ๋ยชีวภาพไว้ใช้ในครัวเรือนและลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

     

    20 20

    8. ให้ความรู้ในการเพิ่มรายได้และแนวทางการปลดหนี้

    วันที่ 25 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมถึงประโยชน์ในการทำบัญชีครัวเรือนจากพี่เลี้ยง สสส.และวิทยากรจากชุมชนทรัพย์อนันต์ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินในครัวเรือนและการทำสวนผสมและการทำปุ๋ยชีวภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สมาชิกที่เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจในการทำบัญชีครัวเรือนและการทำปุ๋ยหมักปุ๋ยชีวภาพในสูตรต่างๆมาใช้ลดการใช้สารเคมีหันมาใชปุ๋ยชีวภาพแทนเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

     

    100 27

    9. จัดเวทีสรุปข้อมูลให้ชุมชนในการจัดกิจกรรมครั้งแรก

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการ และทีมงาน สรุปผลจากการสำรวจบัญชีครัวเรือนของสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คนพบว่า สมาชิกเป็นหนี้กองทุนเงินล้าน จำนวน 20 คน หนี้ธ.ก.ส 26 คน หนี้นอกระบบ 17 คน ทั้งแจ้งให้สมาชิกทราบ และตอนบ่ายผู้รับผิดชอบโครงการ และทีมงานร่วมกับอบต.และธกสร่วมกันหาแนวทางลด/ปลดหนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลที่ได้จากการสำรวจพบว่าหนี้สินส่วนใหญ่มาจากการลงทุนในการเกษตร เนื่องจากไม่มีทุนในการเพาะปลูกจึงจำเป็นต้องกู้ในระบบทุนต่าง ๆ ที่มีในหมู่บ้าน และธ.ก.ส และบางครั้งต้องกู้นอกระบบเนื่องจากเงินในระบบไม่เพียงพอต่อการใช้ บางกลุ่มมีการใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย เช่น เล่นหวย สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า และเล่นการพนัน  หลังจากนั้นคณะกรรมการร่วมกับอบต.ได้คิดแนวทางการแก้ไขปัญหา โดย นำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อย่างจริงจังและลดการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย  ในครั้งนี้รองนายกฯ อบต.และผู้ใหญ่บ้านจะนำผลจากการประชุมครั้งนี้สู่แผนพัฒนาชุมชนต่อไป

     

    100 107

    10. พบพี่เลี้ยงเพื่อจัดทำรายงาน

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการ ชี้แจงการทำรายงาน และลงบันทึกภาพถ่ายกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดทำรายงานการเงิน และการส่งข้อมูลเพิ่มเติมทางเว็ปไซด์ พี่เลี้ยงตรวจสอบรายงานการเงินและบัญชี

     

    3 3

    11. ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงเพื่อติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการและตรวจสอบเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายแต่ละกิจกรรมเพื่อจัดทำรายงานงวดที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถจัดทำรายงานประจำงวดที่1ได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ส่วนเอกสารหลักฐานการเงินมีความถูกต้องครบถ้วนมีรายละเอียดเพิ่มเติมตามคำแนะนำของพี่เลี้ยง

     

    2 2

    12. ประชุมสมาชิกกลุ่มอาชีพ ครั้งที่ 1

    วันที่ 6 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริงจำนวน 41 คน ประกอบด้วยผู้ดำเนินโครงการ นางสาววันเพ็ญ ประการแก้ว พร้อมคณะกรรมการกลุ่มและสมาชิก
    • รายเอียดของกิจกรรมผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานได้แบ่งสมาชิกออกเป็น 2กลุ่ม กลุ่มจิ้งรีดมีสมาชิก 20 คน ประทานกลุ่ม นางทองหล่อ ตุ้มเมืองโดน สมาชิกของกลุ่มจิ้งรีดได้ช้วยกันจับจิ้งรีดทั้งหมดได้ 10 กิโลกรัมได้นำออกขายตามหมู่บ้านได้เป็นเงิน 2000 บาท แต่ปัญหาของลูกจิ้งรีดที่ต้องเจอกับสภาพอากาศที่ร้อนจัดส่งผลให้ลูกจิ้งรีดตาย ประทานกลุ่มคณะทำงานกลุ่มของจิ้รีดมีความเห็นพร้อมกันว่าจะนำเงินที่ขายจิ้งรีดได้ไปชื้อพันธ์จิ้งรีดมาใหม่ยังเลี้ยงเป็นกลุ่มเดิม กลุ่มเลี้ยงกบ ประทานกลุ่ม นายเฉลิม ตุ้เมืองโดนสมาชิก 20 คน สมาชิกได้ช้วยกันจับกบในบ่อเอาไปขาย 20 กิโลกรัม ได้เป็นเงิน 2000 บาท และได้แจกพันธ์กบให้กับสมาชิกไป 10ราย รายละ 12 ตัว และอีก 10 คนยังเลี้ยงกับกลุ่มเดิมส่วนเงินจำนวน 2000 บาทเอาไว้ซื้อหัวอาหารให้กับพ่อแม่พันธ์กบต่อไปเพื่อขยายพันธ์กบเพิ่มและกลุ่มสมาชิกเพิ่มด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สิ่งที่ได้จากการนำผลผลิตของกลุ่มไปขายทำให้คณะทำงานและสมาชิกเห็นว่าการที่เรามีอาชีพเสริมทำให้ครอบครัวมีความหวังที่จะมีรายได้เพิ่มในครอบครัวของตัวเองและในหมู่บ้านพันวาลได้มีอาชีพเสริมเพิ่มขึ้นอีก

     

    60 41

    13. จัดทำทะเบียนผู้ที่ทำเกษตรอินทรีย์ และแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ในกลุ่ม

    วันที่ 10 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 36 คน คณะทำงาน 13 คน สมาชิกกลุ่ม 23 คน จัดทำที่ท่ี่ทำการกลุ่ม
    • วิทยากรโดยปราชญ์ชาวบ้าน นายเฉลิม ตุ้มเมืองโดน ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ว่ามีผลดีอย่างไรและได้นำสมาชิกลงแปลงเกษตรของกลุ่มและได้พูดถึงปัญหาที่ผ่านมาให้สมาชิกฟังการที่ทำการเกษตรไม่ได้ผลตามที่ต้องการเป็นเพราะภัยแหล้งที่พ่านมาฝนไม่ตกติดต่อกัน 4 เดือน ทำให้พืชผลตายสมาชิกที่ทำการเกษตรก็พูดเสียงเดียวกันการแก้ปัญหาก็ต้องหาแหล่งนำ้โดยการนำน้ำภูเขามาใช้และหันมาปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อย เช่น ปลูกมะละกอ ข้าวโพด มะเขือ เป็นต้น
    • คณะทำงานและสมาชิกของมีการแลกเปล่ี่ยนความคิดเห็นก็ทำให้ทราบถึงปัญหาการขาดทุนเพราะการลงทนทำให้เกิดภาวะหนี้สินเพิ่มขึ้นและประชาชนส่วนใหญ่ยังต้องการการทำอาชีพเสริมมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานและสมาชิกได้เข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นของชุมชนและมีการหาแนวทางแก้ไขร่วมกันและยังต้องการที่จะมีอาชีพเสริมเพิ่มขึ้นอีก

     

    50 36

    14. ทำรายงานเพิ่มเติมข้อมูลทางเว็ปไซด์

    วันที่ 10 เมษายน 2557 เวลา ทั้งวัน น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำข้อมูลของการทำกิจกรรมมาลงเว็ปไซด์
    • ให้พี่เลี้ยงดูรายงานการเงินเพื่อการดำเนินงานให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ดำเนินโครงการและคณะทำงานได้มีความรู้ความเข้าใจในการทำรายงานมากขึ้นสามารถที่จะทำรายงานได้อย่างถูกต้อง
    • คณะทำงานสามารถจัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงการได้

     

    4 2

    15. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโครงการพระราชดำหริหนองใหญ่

    วันที่ 18 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำแกนนำชุมชน เยาวชน และชาวบ้านเรียนรุูัโครงการพระราชดำริหนองใหญ่ อ.เมือง จ.ชุมพร ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงในการเลี้ยงสัตว์/ปลาและการปลูกพืชผักต่างๆ
    • นำความรู้ที่ได้กลับมาปฏิบัติการต่อในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงาน คนในชุมชน และสมาชิก อบต. นางกนกวรรณ สุรีิโย ร่วมเดินทางไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณะทำงานด้วย
    • นายอนุวัติ เสียมศักดิ์  เจ้าหน้าที่ในโครงการในพระราชดำริหนองใหญ่กรุณามาให้ความรู้กับคนในชุมชน ในเร่ือง ความเป็นมาของโครงการ ประโยชน์ของสมุนไพร แปลงข้าวเกษตรอินทรีย์ ที่พักสำหรับผู้มาศึกษาเรียน (บ้านดิน) บ้านมียา การจัดการมเดินชมการจัดบริเวณเรียนรู้ โซนเลี้ยงสัตว์เพ่ือการอนุรักษ์ เช่น นกกระจอกเทศ กวาง ชะนี เลียงผา เป็นต้น
    • คณะศึกษาดูงานเยี่ยมสถานที่ต่างๆ พร้อมรับประทานอาหารเที่ยง พร้อมสัมผัสกับธรรมชาติที่สมบูรณ์ของโครงการในพระราชดำริ
    • คณะทำงานได้ความรู้ในกาบริหารจัดการศูนย์ ความรูัเรื่องสมุนไพร เพ่ือนำมาปรับใช้ในการทำงานของชุมชนต่อไป

     

    50 30

    16. ประชุมสมาชิกจัดตั้งกลุ่มอาชีพ ครั้งที่ 2

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2557 เวลา 13:00-14.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมจริง40 คน มีคณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกคณะทำงานและผู้รับผิดชอบโครงการประชุมสมาชิกให้ทราบถึงปัญหาของสัตย์เลี้ยงและแนวทางการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขันตอนการพัฒนาสินค้าให้เข้าสู่ตลาดชุมชนให้มากที่สุดความต้องกาบริโภครของชุมชน  ปัญหาของกบที่เลี้ยงเป็นตัวผู้มากกว่าตัวเมียก็เอาไว้เป็นพ่อพันธ์ แล้วหาแม่พันธ์มาจากที่อื่นพร้อมกับซื้อลูกกบมาเลี้ยงอีก จิ้งรีดที่ตายก็ซื้อมาเลี้ยงใหม่และทำกล่องอาศัยของจี้งรีดใหม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกในกลุ่มมีความเข้าใจที่จะทำงานร่วมกันและการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นและมีการสร้างอาชีพเสริมมากขึ้น โดยการเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงไก่พันธ์เนื้อ การแปรรูปผลิตภัณในท้องถิ่น ทำให้เกิดอาชีพเสสริมขึ้นมาเป็นการเพิ่มรายได้ให้ครอบครัวและชุมชน

     

    60 40

    17. เข้าประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงและส่งรายงานความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและกรรมการเข้าร่วมประชุมพร้อมกับพี่เลี้ยงและเพีื่อนๆโครงการอื่นๆเพื่อได้มีความรู้ความเข้าใจในการทำรายงานมากขึ้น ณ.สำนักงานเทศบาลวังไผ่ อำเภอเมืองชุมพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายงานส่งรายงานความก้าวหน้าของโครงการได้ความรู้ความเข้าใจในการทำงานมากขึ้นแก้รายงานที่ยังขาดรายละเอียดให้มีความถูกต้องมากขึ้น

     

    4 4

    18. ประชุมสรุปผลการประชุมติดตามโครงการ 8 ครั้ง

    วันที่ 10 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00-12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสมาชิก ได้แจ้งถึงการดำเนินงานและการใช้งบประมาณในการทำกิจกรรม แต่ละกิจกรรมที่ผ่านมา ให้สมาชิกทราบและแจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมที่ทำในปัจจุบัน และปัญหาที่เกิดขึ้นกับพืชผลและสัตว์เลี้ยง
    ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 8 ครั้ง เรี่มตั้งแต่เดือน 15 ธ.ค. 56 จัดทำทะเบียนสมาชิกโดยให้สมาชิกร่วมจ่ายค่าสมาชิกคนละ 50 บาทรายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน จำนวน 20 คนใช้งบ 600 บาท / ครั้งท่ี2 วันที่  23 ธันวาคม 2556 ประชุมให้ความรู้เศรษฐกิจพอเพียงรายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรม อบต. ปราชชาวบ้าน ผุ้รับผิดชอบโครงการ สมาชิกคณะทำงาน จำนวน 20 คน ใช้งบ 600 บาท ครั้งที่ 3 วันที่ 28 ธันวาคม 2556 ประชุมในกิจกรรมสร้างอาชีพเสริมรายได้รายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรมผู้รับผิดชอบโครงการ สมาชิกคณะทำงานจำนวน 20 คน ครั้งที่ 4 วันที่ 15 มกราคม 2557 ประชุมในกิจกรรมการปลูกพืชผักปลอดสารพิษเป้นการลดรายจ่ายซื้อบริโภครายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับผิดชอบโครงการ สมาชิกคณะทำงานจำนวน 20 คนใช้งบ 600 บาท ครั้งที่ 5 วันที่ 10 มีนาคม 2557 ประชุมในกิจกรรม จัดทำทะเบียนผู้ที่ทำเกรษตรอินทรีย์ รายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรมผู้รับผิดชอบโครงการ สมาชิกคระทำงานจำนวน 20 คนใช้งบ 600 บาท ครั้งที่ 6 วันที่ 18 เมษายน 2557 ประชุมในกิจกรรมจัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการพระราชดำริหนองใหญ่ รายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรม อบต. ผู้รับผิดชอบโครงการ สมาชิกคณะทำงานจำนวน 20 คนใช้งบ 600 บาทครั้งที่ 7วันที่ 10 มิถุนายน 2557 ประชุมในกิจกรรมติดตามประเมินผลโครงการประจำเดือน เดือนละ 1ครัง รายละเอียดผู้เข้าร่วมกิกรรม ผู้รับผิดชอบโครงการ สมาชิกคณะทำงาน จำนวน 30 คนใช้งบ 900 บาท ครั้งที่8 วันที่ 13 สิงหาคม 2557 ในกิจกรรมจัดเวที่คืนข้อมูลสรูปผลการดำเนินงานพร้อมมอบผลรางวัลให้กับสมาชิกที่สามารถออมลดปลดหนี้ได้ รายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตัวแทนของ อบต. ผู้รับผิดชอบโครงการ สมาชิกคณะทำงาน จำนวน 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรูปผลการประชุมครั้งที่ 1ผู้ที่สมัครเข้ารว่มเป็นสมาชิกโครงการมีความรู้ความเข้าใจในจุดประสงค์ของโครงการ  สรูปการประชุมครั้งที่ 2สมาชิกส่วนมากเห็นความสำคัญในการทำเกษตรแบบผสมไม่ปลูกพืชชนิดเดียวปลูกรั้วกินได้ สรูปกิจกรรมครั้งที่3 สมาชิกที่ปลูกผักต่างๆไว้กินในครัวเรือนนอกจากจะเป็นการประหยัดรายจ่ายแล้วยังสมารถที่จะขายเสริมรายได้ได้อีกสมาชิกที่เลี้ยงสัตย์ก็มีรายได้จารการขายสัตย์เลี้ยงเหมือนกัน สรูปผลครั้งที่ 4 สมาชิกรู้ถึงพิษภัยในการที่ซื้อผักตลา  สรูปผลครั้งที่ 5 สมาชิกที่ทำเกษตรอินทรีย์ จำนวน 36 ครัวเรือนทำให้ทราบถึงชุมชนของเรายังมีการรักษาสุขภาพเห็นความสำคัญในเรื่องอาหารการกินและมีการขยายกลุ่มมากขึ้นเมื่อเห็นความสำคัญของสุขภาพ  สรูปผลครั้งที่ 6 สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้มีความปราปปลื่มยินดีมากในการได้เห็นการทำงานของพระองค์ท่านและคณะทำงานที่หนองใหญ่ทำให้สมาชิกหลายคนกับมาทำเกษตรแบบผสมผสารมากขึ้นรู้จักพัฒนาความเป็นอยู่ของครอบครัวก้าวตามรอยพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง สรูปผลครั้งที่ 7 สมาชิกที่เข้าร่วมประชุมชนมีความเข้าใจการทำงานของคณะทำงานในทุกกิจกรรมที่ผ่านมามีการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรม สรูปผลครั้งที่ 8 สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานของผู้รับผิดชอบโครงการคณะทำงานและมีความยินดีที่ชุมชนของเราได้มีหน่วยงานของ สสส. เข้ามาพัฒนาอาชีพให้ชุมชนของเราสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ก็จะรักษาและพัฒนาอาชีพเสริมนี้ให้อยู่กับชุมชนของเราต่อไป

     

    20 31

    19. ประชุมชนติดตามผลจัดตั้งกลุ่มอาชีพครั้งที่ 3

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม 50 คน ประชุมสมาชิกถึงความเป็นอยุู่ของสมาชิก ส่วนมากก็เป็นหนี้ตั้งในระบบและนอกระบบตั้งแต่เริ่มทำอาชีพทำให้เป็นหนี้สสมหลายครอบครัวเมื่อก่อนทำแต่อาชีพหลักไม่ได้สนใจที่จะหาอาชีพเสริมเมื่อเวลาผ่านไปหนี้ก็มากขึ้นรายจ่ายมากขึ้นเพราะไม่ทำอาชีพเสริม เมื่อเห้นความสำคัญต่างก็พากันหาสิ่งที่ทำแล้วมีรายได้ขึ้นมาช้วยในเรื่องการใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน ก็หันมาเลี้ยงกบ เลี้ยงจิ้งรีีด เลี้ยงปลา ปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้กินเอง ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจึงอยากที่จะทำอาชีพเสริมให้มากขึ้นหาแนวทางสนันสนุนจากหลายๆหน่วยงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกทุกคนมีรู้ความเข้าใจและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการสร้างรายได้ให้ครอบครัวและพัฒนาชุมชน เพราะทุกคนต้องการปลดลดหนี้อยากมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและมีการลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น ใช้ชีวิตแบบพอเพียง

     

    60 50

    20. จัดส่งรายงานเข้าเว็บไซด์ พร้อมส่งรายละเอียดของโครงการฯ กับพี่เลี้ยง

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ส่งรายงานเข้าเว็บไซด์ พี่เลี้ยงตรวจสอบเอกสาร พร้อมคำแนะนำในการทำกิจกรรม และแนวทางแก้ไข 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ดำเนินโครงการฯ และคณะทำงาน มีความเข้าใจ ในการจัดทำรายงาน และรายละเอียดของการส่งรายงาน

     

    4 4

    21. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการและจัดทำรายงานโครงการ

    วันที่ 13 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 - 12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารวมประชุมจริง 107 คน มีคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทน อบต สมาชิกผู้สนใจ ผู้รับผิดชอบโครงการ ประชุมสมาชิกสรูปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงปัจจุบันรวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำกิจกรรมที่ผ่านมา พร้อมแนาทางการแก้ปัญหา การเป็นหนี้ของสมาชิกที่ยังไม่สามารถที่จะแก้ปัญหาได้ เพราะการไม่มีทุนตั้งแต่แรกในการเริ่มทำการเกษตรทำให้มีการกู้ยืมในระบบและนอกระบบของชุมชนเป็นส่วนมาก การเป็นหนี้ก็ส่งถึงปัจจุบัน แต่ทางออกที่จะพอช่วยได้บ้างคือการที่สมาชิกมีอาชีพเสริมขึ้นมาโดยการเลี้ยงสัตว์ และปลูกผักไว้กินเหลือกินก็ขายทำให้เกิดรายได้ขึ้นมาในครอบครัวช่วยประหยัดในการซื้อบริโภค ทำให้เกิดการออมขึ้นมาได้ ดังนันจึงมีการมอบรางวัลให้กับสมาชิกที่สามารถทำบัญชีครัวเรีอนแล้วมีเงินออม จำนวน 10 คนจากสมาชิก 50คน ที่ทำบัญชีครัวเรือน รางวัลมูลค่าละ 200 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจในการดำเนินงานของคณะทำงานและผู้รับผิดชอบโครงและอยากมีอาชิพเสริมมากขึ้นในชุมชนเพราะเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวเป็นหนทางหนึ่งที่ช้วยในการลดปลดหนี้ได้ การเข้าร่วมเป็นสามชิกโครงการในครั้งนี้ทำให้หลายคนได้เห็นว่าการใช้จ่ายของครอบครัวตัวเองต้องมีการแก้ไขเรื่องอะไรบ้าง รู้จักวางแผนเรื่องการเงินการใช้จ่ายหารายได้เสริมโดยการปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตย์ขายให้กับชุมชนและชุมชนใกล้เคียง

     

    200 107

    22. ประชุมสรุปผลการจัดตั้งกลุ่มอาชีพครั้งที่4

    วันที่ 6 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการจัดกลุ่มเลี้ยงจิ้งหรีดใหม่และกบรอบที่2 โดยรอบแรกมีเงินเข้ากลุ่มจากกบ4,000บาทและจิ้งหรีด2,000 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการจัดการกลุ่มรอบแรกมีเงินเข้ากลุ่มจากกบ4,000บาทและจิ้งหรีด2,000 บาท และแจกลูกกบและจิ้งหรีดรอบที่2ให้กับสมาชิก

     

    60 63

    23. ลงรายงานกิจกรรมทางอินเตอร์เน็ต

    วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำผลจากกิจกรรม การปรับเปลี่ยนปฏิทินงาน และลงรายงานกิจกรรมพร้อมทั้งให้พี่เลี้ยงตรวจสอบรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำผลจากกิจกรรม ของวันที่13 สิงหาคมและตรวจสอบผลการทำบัญชี และรายงานการเงิน การปรับเปลี่ยนปฏิทินงานให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรม พร้อมทั้งให้พี่เลี้ยงตรวจสอบรายงาน

     

    3 3

    24. สรุปผลการดำเนินการปลดหนี้ของสมาชิก

    วันที่ 13 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งการดำเนินเรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือนจากผลการวิเคราะห์และการจัดการลดหนี้ครัวเรือนทำให้ประชาชนในชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกมีหนี้สินเพิ่มมากขึ้นจากเดิม35ครัวเรือนประมาณครัวเรือนละหนึ่งแสนบาทโดยมีกองทุนสนับสนุนจากส่วนกลาง (เครือข่ายธกส.)ในพื้นที่ให้ความสะดวกให้กู้ยืม และมีประชาชนสามารถลดหนี้ได้ 15 คนจากการมีผลผลิตมากขึ้นและไม่เพิ่มหนี้และได้รับรางวัลมูลค่า200บาทจำนวน 10 ครัวเรือน

     

    50 70

    25. ส่งและตรวจสอบรายงาน

    วันที่ 19 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานลงอินเตอร์เน็ต และตรวจสอบรายงานให้ถูกต้องเพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบรูณ์ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมผู้รับผิดชอบโครงการและผู้จัดทำรายงานมีความรู้ ความเข้าใจสามารถจัดทำรายงานได้ถูกต้องทั้งการรายงานและการจัดทำรายงานการเงิน แก้ไขตามที่พี่เลี้ยงแนะนำ

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการพัฒนาให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและเพิ่มรายได้
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 90 2. จำนวนครัวเรือนที่มีการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้
    1. ครัวเรือนมีการสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 50 และสามารถสร้างรายได้และลดหนี้ได้ 15 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 30 โดยทั้งนี้ในภาพรวมยังมีหนี้สินทั้งในและนอกระบบครัวเรือนละ หนึ่งแสนบาท
    2. สมาชิกได้รับความรู้ มีความเข้าใจจากการได้รับการอบรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโครงการพระราชดำริมาปรับใช้ทำให้เกิดครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน ด้วยการจัดทำบัญชีครัวเรือนทำให้ทราบว่ารายรับและรายจ่ายมีความไม่สมดุลกันจึงมีการลดการใช้สิ่งที่ไม่จำเป็นครัวเรือนลง ประหยัดเพิ่มขึ้น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์มากขึ้นด้วยการรวมกลุ่มกันนำพืชผักที่มีการปลูกไปขายและนำเงินมาจัดสัดส่วนเป็นทุนดำเนินการต่อไป
    2 เพื่อให้ประชาชนจัดตั้งกลุ่มอาชีพครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : มีกลุ่มอาชีพเสริมรายได้ มีกลุ่มเกษตรอินทรีย์

    มีการจัดตั้งกลุ่มรายได้รวมชุมชนเป็นกลุ่มเสริมรายได้จำนวน30ครัวเรือนรวมสมาชิกกลุ่มเลี้ยงกบเลี้ยงจิ้งหรีดและกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ ส่วนกลุ่มทำปุ๋ยไปรวมในกลุ่มเกษตรอินทรีย์ร่วมกับกลุ่มละแวกอื่นที่มีการจัดตั้งโดยงบประมาณอื่นในชุมชนที่มีกลุ่มอยู่แล้ว

    3 เพื่อพัฒนาและติดตามโครงการ
    ตัวชี้วัด : ผู้รับผิดชอบ คณะทำงานมีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำกิจกรรมและการรายงานผล

    ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำโครงการ การรายงานผลการจัดกิจกรรมทางอินเตอร์เน็ต สามารถนำความรู้ไปปรับใช้กับแผนงาน/โครงการอื่น ๆ ของชุมชนได้

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการพัฒนาให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและเพิ่มรายได้ (2) เพื่อให้ประชาชนจัดตั้งกลุ่มอาชีพครัวเรือน (3) เพื่อพัฒนาและติดตามโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ กลุ่มชุมชนพันวาลร่วมใจพัฒนาอาชีพ

    รหัสโครงการ 56-02517 รหัสสัญญา 56-00-1068 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่ม ๒ กลุ่มคือ ๑) กลุ่มเลี้ยงสัตว์ที่ประกอบด้วยการเลี้ยงกบและเลี้ยงจิ้งหรีด๒)กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชนซึ่งมีสมาชิกรวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มประกอบอาชีพเพื่อการลดหนี้สินครัวเรือนซึ่งเดิมมีกลุ่มอื่น ๆที่ไม่มีการประกอบอาชีพเสริมให้ครอบครัวมีรายได้เพิ่มขึ้นจากรายได้ปกติที่มีการทำสวนกาแฟและสวนผลไม้ ซึ่งต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูงในส่วนของปุ๋ยและยาฆ่าแมลง ซึ่งในการเลี้ยงจิ้งหรีดทำให้ชุมชนลดการใช้สารพิษเนื่องจากจิ้งหรีดจะตายเมื่อได้รับสารพิษในบริเวณใกล้เคียงและจิ้งหรีดต้องกินพืชผักปลอดสารพิษด้วย สมาชิกชุมชนจึงมีพฤติกรรมเปลี่ยนไปในการใช้สารเคมี

    รายงานการประชุมกลุ่ม และซากวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงจิ้งหรีด

    ชุมชนขยายจำนวนสมาชิกกลุ่มด้วยการนำลูกกบและพันธ์จิ้งหรีดให้สมาชิกในชุมชนที่สนใจเลี้ยงอย่างต่อเนื่องโดยใช้เงินกองทุนที่ตั้งไว้ มีทุนจิ้งหรีด๒,๐๐๐บาทและทุนกบ ๔,๐๐๐บาท เป็นทุนในการขยายพันธ์กบและจิ้งหรีดต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการดูแลสุขภาพตนเองดีขึ้นจากการที่มีพี่เลี้ยงและบุคคลภายนอกให้คำแนะนำ ทำให้ประชาชนมีความตระหนักและสนใจดูแลตนเองมากขึ้น

    สภาพร่างกายสะอาด เรียบร้อย

    ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการใส่ใจดูแลตนเองมากขึ้นตั้งแต่ศรีษะ จนถึงเท้า พร้อมทั้งดูแลสมาชิกในครอบครัวมากขึ้น สังเกตุได้จากการล้างมือก่อนรับประทานอาหาร (เดิมมีน้อย)และใช้ช้อนกลาง เป้นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษมากขึ้น และปรุงอาหารสุกมากขึ้น (เป็นชุมชนคนอีสาน)บริโภคทุกอย่างที่ตนปลูกและเลี้ยงสัตว์เองซื้อเพิ่มเติมน้อย

    อาหารของครอบครัว/ชุมชน

    จะปลูกผักปลอดสารพิษตามความสะดวกและความต้องการของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    สมาชิกโครงการที่มีการวิเคราะห์บัญชีครัวเรือนแล้วจะทราบว่าตนเองต้องลด ละเลิก เหล้า บุหรี หวยและการเล่นไพ่ เพื่อลดรายจ่ายของตนเองและครอบครัว มีครอบครัวตัวอย่าง ๑๐ คนจากสมาชิกเข้าร่วม ๖๐ คน

    ข้อมูลชุมชน

    ชุมชนพร้อมที่จะดำเนินการลด-ละ-เลิกอบายมุข ต่อไปโดยจะเชื่อมกับหน่วยงานสาธารณสุขและทหารในพื้นที่ดำเนินการต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ประชาชนมีการปรับวิถีชีวิตของตนเองเพื่อให้มีรายได้เสริมมากขึ้นรวมทั้งใช้เวลาว่างที่เดิมเมื่อเสร็จภารกิจจากการทำสวนผลไม้และกาแฟจะมีการรวมกลุ่มกันเล่นการพนัน (ไพ่และหวย)ปัจจุบันจะรวมกันปลูกผักปลอดสารพิษ โดยมีหมอดินชุมชนเป็นแกนนำในการสอนการทำปุ๋ย/ปลูกผักทำให้มีอาหารปลอดภัยบริโภครวมทั้งเลี้ยงปลาดุกและปลานิลในบ่อขุดรวมของชุมชน เมื่อจับปลาบริดภคแล้วมีการนำไปขายกับชุมชนใกล้เคียง

    ภาพถ่ายสภาพพื้นที่ๆเปลี่ยนไปและข้อมูลชุมชน

    มีการนำเมล็ดพันธุ์ผักที่ปลูก(แตงกวา)แจกจ่ายให้กับสมาชิกกลุ่มเพื่อลดต้นทุน รวมทั้งรวมกลุ่มกันขายพืชผักที่ปลูกได้อย่างต่อเนื่อง เพิ่มชนิดการปลูกมากขึ้นได้แก่ถั่วฝักยาว มะเขือ ผักกวางตุ้ง กระเพา แมงลัก โหระพา เป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สมากชิกที่เข้าร่วมโครงการจำนวน ๖๐คนจากประชาชนทั้งหมด ๒๕๐ คนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนทำให้ทราบว่าตนเองมีรายรับและรายจ่ายไม่สมดุลกันจากการที่ใช้จ่ายมากขึ้นในเรื่องการลงทุนทางการเกษตรทั้งในส่วนของการใช้ปุ๋ยและฮอร์โมนใส่ทุเรียนทำให้เงินไม่พอต้องไปกู้ยืมจากธกส.และเงินนอกระบบบ้าง เมื่อมีโครงการทำให้ได้ทราบว่ายังมีกิจกรรมบางส่วนที่ชุมชนร่วมกันทำแล้วได้สุขภาพโดยมีวิทยากรให้คำแนะนำทั้งในเรื่องของการรับประทานอาหารให้ได้คุณค่า การใช้เวลาว่างให้เป้นประโยชน์การปลูกพืชผักไว้รับประทานเองเหลือแจกสมาชิกและขายต่อไป

    รายงานการประชุมชุมชน

    ประชาชนลดการใช้สารเคมีหันมาใช้สารอินทรีย์จากการทำของสมาชิกกลุ่มโดยทำในพืชผักสวนครัวก่อน แล้วจะขยายในสวนผลไม้ต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการจัดการชุมชนด้วยการลดการใช้สารพิษและปุ๋ยเคมีด้วยการใช้สารอินทรีย์เพิ่มขึ้น จากการได้รับความรู้จากทีมวิทยากรและการส่งเสริมของชุมชนและทหารในพื้นที่ มีการนำน้ำจากภูเขามาจัดทำเป็นน้ำประปาด้วยการต่อท่อน้ำแล้วกระจายไปตามครัวเรือนและสวนผักและสวนผลไม้ ชุมชนมีการจัดการขยะด้วยการเผาและฝัง ชุมชนนี้ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ต้องใช้ไฟปั่นและตะเกียง ลักษณะบ้านเรือนจะเป็นไม้ใต้ทุนสูงแบบชุมชนอีสาน

    ภาพถ่าย

    ชุมชนรวมกลุ่มกันทำเครื่องปั่นไฟด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นกำลังทดลองใช้อยู่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    ชุมชนอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีความเอื้ออาทรกันเป็นเครือญาติ มีการแลกเปลี่ยนอาหารและอื่น ๆกันภายในชุมชน มีเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงอยู่๒ครัวเรือนที่ไม่มีใครยุ่งเกี่ยวมีการเฝ้าระวังกันในชุมชนอย่างดี มีสำนักสงฆ์ ๒ แห่งเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และชุมชนให้ความเคารพและเป็นที่ปฏิบัติธรรมตลอดทั้งเดือน(ทุกวันพระ/วันสำคัญ)มีสนามกีฬาชุมชน ๑ แห่ง ที่ศูนย์เด็กเล็กชุมชนรวมทั้งเป็นสถานที่จัดกิจกรรมประเณีท้องถิ่นของหมู่บ้าน

    ข้อมูลชุมชน

    ชุมชนมีการดำเนินกิจกรรมประเพรีอย่างต่อเนื่องโดยมีอบต.ให้การสนับสนุนงบประมาณบางส่วน และชาวบ้านสมทบด้วยกำลังกายและอาหาร เป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีกองทุนที่ได้จากการขายจิ้งหรีดและกบที่เก็บไว้เป็นกองทุนกับกลุ่มจำนวน ๖,๐๐๐บาท เป็นทุนในการจัดกิจกรรมต่อไป(จากการเก็บจากสมาชิกหลังจากขายรอบแรก)จากการแจกไป ๒ รอบ(รอบที่๒ตัวยังเล็กอยู่)แลการปลูกผักปลอดสารพิษบางครอบครัวสามารถเพิ่มรายได้เล็กน้อยต้องรวมกับรายได้ประจำอื่น ๆ(สวนผลไม้และยางพารา)ยังมีหนี้สินอยู่หลายครอบครัวเฉลี่ยแล้วครอบครัวละหนึ่งแสนบาท

    ข้อมูลจากการประชุมหมู่บ้านและธกส.

    ชุมชนรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพาะปลูกโดยจะปลูกกล้วยหอมทองที่เชื่อมกับบ้านหินเภาที่มีพันธ์กล้วยและมีทีมการตลาดที่มีการปลูกเพื่อส่งออก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการประสานกับละแวกอื่น ๆภายในชุมชนในการเกษตรชุมชน สามารถรวมกลุ่มและส่งผลผลิตทางการเกษตรขายให้กับสหกรณ์ชุมชนและชุมชนทรัพย์อนันต์

    รายงานและสอบถาม

    ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะหน่วยทหารที่อยู่ในชุมชนช่วยในเรื่องความปลอดภัยชายแดนและการส่งเสริมอาชีพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ชุมชนมีการเรียนรู้ที่จะประเมินปัญหาได้ รวมทั้งแก้ไขปัญหาและประเมินผลจากการกระทำได้ เช่น เมื่อเกิดปัญหาจิ้งหรีดตายยกกล่องเนื่องจากมีการฉีดยาฆ่าหญ้าบริเวณใกล้เคียงจึงร่วมกันกำหนดกติกาที่ห้ามกระทำในบริเวณโดยรอบบริเวณให้ใช้การตัดหญ้าแทนถ้าไม่ยังฝ่าฝืนต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งเป็นเงินและซื้อพันธุ์จิ้งหรีดให้ใหม่ เป็นต้น

    การสอบถามและข้อมูลชุมชน

    มีการประชุมตกลงร่วมกันเสมอเมื่อเกิดปัญหาอย่างไม่เป็นทางการและเป็นกลุ่มย่อยๆตามละแวกของตน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ชุมชนมีทุนหลายรูปแบบทั้งที่เป็นพระที่ชาวบ้านนับถือ สามารถนำชุมชนได้ทุกครั้งเมื่อมีกิจกรรมหรือการแก้ไขปัญหา และมีแกนนำกลุ่มบ้านที่ชุมชนเชื่อถือ รวมทั้งมีญาติธรรมที่เข็มแข็ง

    กิจกรรมที่กระทำร่วมกันในพิธีทางศาสนา

    ชุมชนมีการรวมกลุ่มกันพัฒนาสำนักสงฆ์ด้วยทุนทรัพย์ของประชาชนในชุมชนเองและชุมชนใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    กลุ่มมีการดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษและเลี้ยงกบ/ปลาบริโภคอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งส่งเสริมให้ทำเป็นอาชีพเสริมในสมาชิกครัวเรือนเพื่อขายให้กับตลาดที่มีการสั่งจองพืชผัก โดยใช้เงินทุนต่อยอดเองไม่ต้องขอใช้เงินโครงการ สสส.

    แปลงผักในพื้นที่แต่ละบ้านของชุมชน

    ชุมชนสามารถนำเวลาว่างเดิมมาทำอาชีพเสริมต่อไปโดยทีมแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการโดยไม่ขอต่อยอดเนื่องจากไม่สะดวกในการจัดทำรายงานและพื้นที่ห่างไกลไม่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ชุมชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันมากขึ้นจากเพื่อน ๆโครงการสสส.สามารถเชื่อมความสัมพันธ์ในการติดต่อประสานกันในเรื่องอาชีพ การสื่อสารระหว่างกัน และการตลาด เป็นต้น

    เรื่องเล่าดี ๆ ในเวทีจิตอาสา

    ทีมทำงานโครงการของท่าแซะได้มีเวทีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในทีมจิตอาสาอย่างน้อยปีละครั้ง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    ทีมผู้รับผิดชอบโครงการสามารถจัดทำแผนปฏิบัติการได้และสามารถนำไปใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ ของหมู่บ้านมีการทำแผนพัฒนาละแวกของตนเองและสามารถแนะนำละแวกอื่น ๆได้

    แผนชุมชน

    มีการประสานแกนนำชุมชนในการเสนอแนะการจัดกิจกรรมของชุมชนและประสานผู้นำในการใช้แนวทางการจัดทำแผนชุมชนเพื่อการพัฒนาหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ผู้รับผิดชอบโครงการทุกคนมีความภาคภูมิใจที่สามารถเป็นแกนนำได้โดยไม่ใช่ผู้นำชุมชน ทำให้คนในชุมชนมีความกระตือรือร้นที่จะช่วยตนเองมากขึ้นจากเดิมที่ต้องการรวยทางลัด รู้จักพอเพียง รู้จักเพื่อน ๆ ที่มีการพบปะกัน ได้เห็นพื้นที่ดีๆ อย่างโครงการพระราชดำหริหนองใหญ่ที่นำไปปรับใช้เป็นแบบอย่างในชุมชนตนเอง

    สอบถาม

    จะทำตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีกับชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันมีความห่วงใยกันในกลุ่มๆเครือญาติและบ้านใกล้เคียงเป็นอย่างดี

    การรับประทานอาหารร่วมกันในวันสำคัญหรือเมื่อมีแขกของกลุ่มบ้าน

    มีการนำอาหารและสิ่งของมาใช้ร่วมกันและดูแลเครือญาติของตนเมื่อประสบปัญหาให้สามารถอยู่ได้ในชุมชนต่อไป มีการประสานแนะนำผุ้รู้/เชี่ยวชาญให้การช่วยเหลือ เป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การทำกิจกรรมของชุมชนต้องผ่านความเห็นชอบของแกนบ้านและผู้นำชุมชนก่อนถึงจะร่วมกันดำเนินการ ถึงแม้นว่าในภาพรวมทั้งหมู่บ้านยังมีความขัดแย้งกันบ้าง(สีเสื้อ)แต่ในกลุ่มย่อยหรือละแวกบ้านจะมีความเข้าใจตรงกัน

    สังเกตจากการประชุมและรายงานการประชุมของชุมชน

    การจัดกิจกรรมในภาพรวมชุมชนต้องมีการทำความเข้าใจรวมทั้งให้มีการร่วมกันของกลุ่ม เมื่อตกลงแล้วจึงตัดสินใจกระทำกิจกรรมนั้น ๆ เช่นการจัดกิจกรรมเสริมรายได้ชุมชนต่อเนื่องแต่ไม่ใช้งบสสส.เนื่องจากมีอุปสรรคการจัดทำรายงาน เป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    กลุ่มชุมชนพันวาลร่วมใจพัฒนาอาชีพ จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 56-02517

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.วันเพ็ญ ประการแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด