แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ดอนโรงสร้างสุข ด้วยวิถีเกษตรพอเพียง

รหัสโครงการ 56-01512 รหัสสัญญา 56-00-0970 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1.มีองค์ความรู้เรื่องเกษตรชีวภาพ เพื่อลดการใช้สารเคมี

2.มีองค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำหมักผัก-ผลไม้รวม ได้แก่ กล้วย มะละกอ แตงโม แตงกวา สัปปะรดหมักรวมกับกากน้ำตาลและพด.1 น้ำหมักสูตรนี้ใช้เวลา 21 วัน ใช้บำรุงต้นและบำรุงใบ

3.มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพสูตรไล่แมลง มีส่วนผสมผงพะโล้ เครื่องแกง ใช้ในการไล่แมลง

1.น้ำหมักชีวภาพเก็บรวบรวมไว้ที่แหล่งเรียนรู้ที่บ้านนางสมมารถ และศูนย์เรียนรู้หมู่บ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

น้ำยาเอนกประสงค์สูตรสมุนไพร นำเอาสมุนไพรในชุมชนมาทำน้ำยาเอนกประสงค์ ได้แก่  มะนาวสดใช้ขจัดคราบและแต่งกลิ่นมะนาว  และเติมสีจากธรรมชาติเพื่อเพิ่มคุณค่าให้น่าใช้ได้แก่ สีม่วงจากอัญชัน  สีเขียวจากใบเตย สีแดงจากกระเจี๊ยบ

1.น้ำยาเอนกประสงค์สูตรสมุนไพร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เดิมทำงานแบบตัวใครตัวมัน ตอนนี้รวมตัวกัน ทำงานเป็นกลุ่ม แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม รวมทั้งมีการชักชวนภาคีเครือข่ายร่วมทำงาน

1.บันทึกการประชุมและลายมือชื่อผู้เข้าร่วมประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการรวมกลุ่มกันทำงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ มีการมอบหมายงานอย่างเป็นทางการ และชี้แจงบทบาทของแต่ละบุคคล และทุกคนทำงานด้วยความสมัครใจ มี

มีการมอบหมายหน้าที่อย่างชัดเจน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เดิมทำงานแบบโดยมีการรวมตัว เป็นกลุ่มกันบ้างสนใจการพัฒนาชุมชนเฉพาะเพียงบางกลุ่ม ป้จจุบันรวมตัวกันทำงานเป็นกลุ่ม แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม มีการชักชวนภาคีเครือข่ายร่วมทำงาน

1.บันทึกการประชุมและลายมือชื่อผู้เข้าร่วมประชุม 2.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ศูนย์เรียนรู้หมู่บ้าน 3.มีฐานเรียนรู้ของชุมชนเกี่ยวกับน้ำหมัก ปุ๋ยหมัก 4.มีภาคีร่วมทำงานและสนับสนุนกิจกรรมได้แก่ -กศน. สนับสนุนงบประมาณ -อบต.เขาพระบาทเป็นพี่เลี้ยงดำเนินงาน -รพ.สต.เขาพระบาท สนับสนุนวิทยากร -เกษตรอำเภอ สนับสนุนวิทยากร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

1.มีฐานเรียนรู้เรื่องปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ 2 แห่ง
2.มีฐานเรียนรู้การปรับปรุงดินและน้ำ 2 แห่ง
3.มีฐานเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ 2 แห่ง และครัวเรือนเป้าหมายปลูกทุกบ้าน
4.มีฐานสมุนไพรเพื่อใช้ในการเกษตร 2 แห่ง
5.ครัวเรือนมีการทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 100

1.ฐานเรียนรู้น้ำหมักปุ๋ยหมักที่บ้านนางสมมารถและนางหนุฟอง 2.ฐานการปรับปรุงดิน ที่บ้านนางระเบียบ 3.ฐานสมุนไพรที่ศูนย์เรียนรู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

1.มีการสร้างภาคีเครือข่าย มีการเชิญชวนภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมทำงน โดยให้การสนับสนุนบุคลากร ความรู้วิชาการและงบประมาณเพิ่มเติมบางส่วน ตลอดจนมีการถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่กระบวนการพัฒนาไปยังหมู่บ้านใกล้เคียง มีการสนับสนุนดังนี้ 1.กศน.เชียรใหญ่ ให้การสนับสนุนความรู้ด้านอาชีพเสริม
2.กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาพระบาท ให้การสนับสนุนถังหมักชีวภาพ 3.รพ.สต.เขาพระบาท  และ อบต.เขาพระบาทร่วมเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 4.เกษตรอำเภอเชียรใหญ่ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้

1.บันทึกการประชุม 2.หลักฐานการสนับสนุนงบประมาณแต่ละกิจกรรม 3.ภาพถ่ายการทำกิจกรรม

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.กลุ่มเป้าหมาย 120 คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีลดสารเคมี 2.กลุ่มเป้าหมาย 120 คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขบัญญัติส่วนบุคคล 3.กลุ่มเป้าหมาย 120 คน ร่วมกันกำจัดขยะโดยการทิ้งขยะที่ย่อยสลายได้ ลงถังหมักชีวภาพ

1.ทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับสารเคมีตกค้างในเลือดจากบุคลากร รพ.สต.เขาพระบาทร่วมกับทีมงาน 2.ครัวเรือนเป้าหมายได้รับถังหมักชีวภาพ สนับสนุนจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ ต.เขาพระบาท

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

1.ร้อยละ 100 ครัวเรือนเป้าหมาย ปลูกผักสดไว้กินเองข้างบ้าน โดยไม่ต้องซื้อผักกิน รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยนกันผักด้วยกันเอง 2.ร้อยละ 100 ครัวเรือนเป้าหมาย มีการจัดการขยะที่ย่อยสลายได้ในครัว  โดยทิ้งลงถังหมักชีวภาพ 3.กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการลดการใช้สารเคมี และลดปริมาณสารเคมีที่เข้าสู่ร่างกาย

1.ทะเบียนการถอดบทเรียนโดยพี่เลี้ยงพื้นที่ 2.บันทึกการติดตามเยี่ยม ซึ่งเก็บไว้ที่ฐานเรียนรู้ชุมชน 3.ทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

1.ครัวเรือนเป้าหมาย ได้ออกกำลังกายจากวิถีชีวิตประจำวัน คือ ออกแรงขุดดิน ปลูกผัก รดน้ำต้นไม้ ในแต่ละวันใช้เวลาไม่น้อยกว่า 30 นาที

บันทึกการสัมภาษณ์และการถอดบทเรียนโดยพี่เลี้ยง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

1.มีการติดป้ายห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่ประชุมและศูนย์เรียนรู้ชุมชน และบ้านกลุ่มเป้าหมาย

ป้ายห้ามสูบบุหรี่และบันทึกการถอดบทเรียนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ประชาชนในหมู่บ้าน มีสีหน้ายิ้มแย้มมากขึ้น เพราะกลไกการทำกิจกรรมของโครงการ ทำให้คนสุขภาพดี ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจำวัน

บันทึกการพูดคุย สีหน้า ท่าทางที่มีความสุขมากกว่าเข้าร่วมกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

1.นำสมุนไพรในชุมชน มาทำำน้ำยาเอนกประสงค์ เช่น น้ำมะนาวผสมกับน้ำยาล้างจาน ทำให้สะอาดลดไขมัน มีกลิ่นมะนาว 2.นำสมุนไพรมาผสมให้เกิดสีผสมน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์สร้างการยอมรับ ได้แก่ สีเขียวจากใบเตย สีเหลืองจากขมิ้น สีแดงจากกระเจี๊ยบ สีม่วงจากอัญชีน 3.นำยาเส้น ยากลาย มาผสมกับปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อใช้ไล่แมลง

น้ำยาเอนกประสงค์ที่มีใช้ทุกครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

1.ครัวเรือนเป้าหมาย ทุกครัวเรือน มีการเรียนรู้ที่จะลดการใช้เครื่องปรุงรส โดยใช้ผักสด หรือปรุงอาหารสดๆ  ทำให้ได้รสชาติที่หวาน กลมกล่อม 2.ครัวเรือนเป้าหมาย ลดปริมาณขยะโดยการทำเป็นปุ๋ยและน้ำหมักชีวภาพ 3.ครัวเรือนเป้าหมาย มีการเรียนรู้ที่จะอยู่อย่างมีความสุข บนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

1.แปลงผักที่อยุู่รอบบ้าน 2.ถังน้ำหมักชีวภาพที่อยู่รอบบ้าน 3.ความสุขที่ได้จากการพูดคุยถอดบทเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

1.มีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและน้ำหมักชีวภาพ โดยใช้เศษอาหารที่เหลือจากในครัวเรือน หัวปลา เศษผัก เศษข้าว ผสมกับกากน้ำตาล และผสมกับสะเดา ยาเส้น เพื่อใช้ในการไล่แมลง  หรือผสมกับผงพะโล้และเครื่องแกง เป็นสูตรไล่แมลง

1.บันทึกการทำกิจกรรมของครัวเรือนเป้าหมาย 2.บันทึกการรับถังหมักชีวภาพ และการทำน้ำหมักชีวภาพจากถังหมักชีวภาพ ครัวเรือนละ 2 ใบ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ครัวเรือนเป้าหมาย มีการปลูกผักสดไว้รับประทานเองข้างบ้าน โดยไม่ต้องซื้อจากรถเร่ ได้อาหารสะอาด สด ปลอดสารเคมี

บัญชีครัวเรือนที่แสดงรายจ่ายลดลง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีการตั้งกติกากลุ่มคือ 1.เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการดำเนินงานตามกิจกรรมของโครงการ ให้เก็บรวบรวมไว้ที่กองกลางคือฐานเรียนรู้แต่ละแห่ง ใครต้องการใช้ให้มายืมและเก็บไว้ที่เดิม
2.วัสดุเกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักชีวภาพ ยืมได้จากศูนย์เรียนรู้บ้านผู้ใหญ่บ้าน 3.วัสดุเกี่ยวกับการทำน้ำยาเอนกประสงค์ ยืมได้ที่บ้านคุณหนูฟอง

1.เครื่องมือ-เครื่องใช้ และอุปกรณ์เก็บไว้ที่ศูนย์เรียนรู้ไว้เป็นกองกลาง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

1.มาตรการในการปลูกผัก ถ้ากลุ่มมอบเมล็ดผักไปให้แล้ว ยังไม่ปลูกหรือเพาะชำ เมื่อทีมงานไปเยี่ยม ก็จะถูกตัดสิทธิ์ในรอบถัดไป ไม่อนุญาตให้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยเป็นเวลา 1 เดือน

2.มาตรการในการทำน้ำหมักชีวภาพ ถ้ามอบถังให้แล้ว ไม่ทำน้ำหมักชีวภาพหรือนำถังไปใส่น้ำ ก็จะถูกยึดคืนและตัดสิทธิ์ทุกกิจกรรม

1.บันทึกการประชุมประจำเดือนในการกำหนดมาตรการที่เข้าร่วมกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

1.อบต.เขาพระบาท โดยรองนายก เป็นผู้เปิดเวทีประชุมและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาหมู่บ้าน

2.กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาพระบาท ให้การสนับสนุนงบประมาณร่วมพัฒนา

บันทึกการประุชม และภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ทีมงานได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาและวิธีพัฒนาชุมชน คือ การกำหนดแนวทางพัฒนา ใช้หลักการคือความสมัครใจ และร่วมพัฒนาความสามารถ การเลือกวิธีการโดยการโหวดหาข้อยุติ

บันทึกการประชุมและภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

1.ด้านวิชาการ มีการเชิญวิทยากรผู้ที่มีความรู้มาถ่ายทอด ได้แก่ เรื่องสารเคมี เชิญวิทยากรจาก รพ.สต.เขาพระบาท ด้านน้ำหมักชีวภาพจากเกษตรอำเภอเชียรใหญ่  น้ำยาเอนกประสงค์จาก กศน.เชียรใหญ่

2.ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในหมู่บ้านมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ ดอกดาวเรือง ยากลาย มาผสมไล่แมลงมะนาวมาทำน้ำยาเอนกประสงค์

บันทึกการประชุมและหนังสือเชิญ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

1.มีการจัดทำฐานเรียนรู้ในชุมชน มีการมอบหมายหน้าที่ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งถ่ายทอดความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดเวลา

บันทึกการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

1.กลุ่มมีการประชุมและเก็บข้อมูลเสมอ 2.กลุ่มมีการรวบรวมความรู้

บันทึกการถอดบทเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

1.ทีมงานมีึความรู็ในการเขียนโครงการและการขอรับงบประมาณสมทบจากชุมชน 2.ทีมงานมีทักษะในการบริหารจัดกาและเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม

บันทึกการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ทีมงานรู้สึกภูมิใจที่ได้เสียสละ  ช่วยเหลือสังคม และพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่

บันทึกการถอดบทเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

1.ทีมงาน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน สอบต. กลุ่ม          อสม.และทีมงาน ร่วมมือกันเป็นหนึ่งเดียว  ทำงานด้วยความเสียสละ ไม่มีค่าตอบแทน แต่ทุกคนมีจุดหมายเดียวกันคือ ทำเพื่อพี่น้องประชาชนให้มีความสุข บนพื้นฐานความพอเพียง

บันทึกการถอดบทเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ปลูกผักกินเอง ภายใต้คำพูด “กินผักบ้านเรา กินผักที่ปลูก ปลอดภัยดี" 2.ปัจจุบันดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย ได้แก่ เมื่อถึงเวลาทำอาหาร เดินไปเก็บผักมาปรุงอาหาร ล้างเอง ปรุงเอง กินทันที ทำให้ได้รสชาติที่อร่อย ไม่เสียเวลา ไม่ปนเปื้อนสารเคมี

สวนแปลงผักรอบบ้านและบันทึกถอดบทเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

1.ชุมชนให้ความเชื่อถือ ช่วยเหลือกัน ให้ความเคารพกัน 2.ชุมชนเกิดความรัก ความสามัคคี มองเห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน

ภาพถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

1.แกนนำและประชาชนมีการระดมความคิดในเวทีประชาคมและถอดบทเรียน โดยทุกคนมีสิทธิ์ออกความคิดเห็นและเคารพสิทธิระหว่างบุคคล 2.มีการนำภูมิปัญญาและระดมทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ในการพัฒนา ได้แก่ เชิญครูหรือปราชญ์ในชุมชนเข้าร่วมกระบวนการพัฒนา  การตัดสินใจทุกครั้งใช้มติของที่ประชุม  การทำกิจกรรมหรือจัดสรรวัสดุอุปกรณ์ ใช้หลักข้อตกลงจากมติกลุ่มตามลำดับ

บันทึกการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ