directions_run

ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด ”

หมู่ 3 บ้านท่าจูด ต.บางนายสี อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา

หัวหน้าโครงการ
นายประมวล เพ็ญภักดี

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด

ที่อยู่ หมู่ 3 บ้านท่าจูด ต.บางนายสี อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ 56-01501 เลขที่ข้อตกลง 56-00-1768

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2556 ถึง 30 กันยายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 3 บ้านท่าจูด ต.บางนายสี อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 3 บ้านท่าจูด ต.บางนายสี อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา รหัสโครงการ 56-01501 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 165,500.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนในชุมชนรู้จักวิธีการอนุรักษ์ธรรมชาติและพันธุ์สัตว์น้ำได้อย่างถูกต้อง
  2. พัฒนาและอนุรักษ์ธรรมชาติของชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ของชุมชน
  3. กลไกขับเคลื่อนของชุมชนมีพลังที่เข้มแข็งและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่
  4. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 1

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ
    2. เตรียมงานเพื่อจัดประชุมชี้แจงแก่ตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะกรรมการเข้าใจโครงการ และพร้อมใจดำเนินการสนับสนุนเต็มที่
    2. ช่วยประชาสัมพันธ์ และหาแกนนำมาช่วยดำเนินงานต่อไป
    3. คณะกรรมการเสนอ ต้องมีพิธีสงฆ์ เพื่อขอขมาเจ้าป่าเจ้าเขา ขออนุญาตเจ้าที่ในการพัฒนาป่าชุมชนนี้ และเป็นสิริมงคลแก่ชาวบ้านที่มาร่วมกิจกรรม

     

    25 20

    2. จัดประชุมเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการแก่ตัวแต่ละครัวเรือนและผู้ที่เกียวข้อง

    วันที่ 11 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ทำพิธีทางศาสนาเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ผู้ดำเนินงาน ขออนุญาตเจ้าที่เจ้าป่าเจ้าเขาขอให้ดำเนินงานให้สะดวกปลอดภัย    2. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านเข้าใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมโครงการ เช่น อาสาสมัครมาร่วมโครงการโดยเสนอกิจกรรมเพิ่มเติม ร่วมแรงถ่างป่าก่อนเริ่มโครงการ
    2. แสดงความเห็นต่อโครงการอย่างกว้่างขวางเพราะเป็นโครงการที่พัฒนาหมู่บ้านจริงๆ

     

    200 200

    3. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 2

    วันที่ 14 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สรุปผลการดำเนินงานเมือวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๖
    2. เตรียมจัดอบรมให้ความรู้การจับพันธุ์สัตว์น้ำที่ถูกต้อง
       

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สรุปผลการดำเนินงานเมือวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๖ ดังนี้ -มีชาวบ้านให้ความสนใจมากโดยเข้าร่วมเกินเป้าหมาย จำนวน 200 คน (เป้าหมายร้อยละ ๘๐ ของตัวแทนครัวเรือน) - ชาวบ้านที่เข้าร่วมได้เสนอแนวคิดในการพัฒนาหมู่บ้านเพิ่มจากกิจกรรมในโครงการ เช่น การร่วมการถ่างป่าชุมชนก่อนเริ่มกิจกรรม
    2. เตรียมจัดอบรมให้ความรู้การจับพันธุ์สัตว์น้ำที่ถูกต้อง สรุปได้ดังนี้

    - เชิญประมงอำเภอและจังหวัดเป็นวิทยากร เพื่อชาวบ้านได้สนใจและได้ความรู้ตามหลักวิชาการ - คัดเลือกชาวบ้านที่อาชีพประมง พูดคุยเป็นแลกเปลี่ยนที่ประชุม เป็นการสร้างบรรยายกาศการประชุมไปด้วย

     

    25 25

    4. จัดอบรมให้ความรู้การจับสัตว์ที่ถูกต้องต่อการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำโดยวิทยากรกับกลุ่มชาวบ้านที่ประกอบอาชีพประมงในชุมชนในการจับสัตว์ที่ถูกต้องต่อการอนุรักษ์

    วันที่ 16 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีจับสัตว์น้ำที่ถูกต้องโดยประมงอำเภอและจังหวัด วันที่ 16-17 ธันวาคม 2556 ณ ศาลาหมู่บ้านท่าจูด ตามตารางการประชุม ดังนี้
    วันที่ 16 ธันวาคม 2556 08.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 12.00 น. การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำและการจับสัตว์น้ำที่ถูกต้อง โดย นางอาภรณ์ บุญประสงค์  นักวิชาการประมงอำเภอ 13.00 - 15.00 น. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำอาชีพประมงที่ยั่งยืน โดย นางอาภรณ์ บุญประสงค์  นักวิชาการประมงอำเภอ นายพีระพงศ์ บุญส่อง นักวิชาการประมงจังหวัด และนายบรูณินต์  ชมชื่น ตัวแทนชาวบ้านที่ประกอบอาชีพประมง วันที่ 17 ธันวาคม 2556 08.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 12.00 น. การจับสัตว์น้ำตามฤดูการ  กำหนดเขตอนุรักษ์ และสร้างกฏกติกาในการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำและเขตอนุรักษ์ของชุมชน 13.00 - 15.00 น. ปฏิบัติจริงตามที่สร้างกติกา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านรู้จักวิธีจับสัตว์นืำที่ถูกต้อง  โดยไม่ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติเพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำจะส่งผลดีต่อการประกอบอาชีพประมงในระยะยาว  ชาวบ้านมีความเข้าใจในรายละเอียดของการอบรมเป็นอย่างดี  ร่วมกันจัดตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำภายในชุมชนขึ้น มีกฎกติกาชุมชนดังนี้

    1. ห้ามจับสัตว์น้ำในฤดูวางไข่  และในเขตอนุรักษ์
    2. กำหนดการใช้ตาอวน
    3. ถ้าจับปูที่มีไข่ ให้นำส่งธนาคารปู

     

    50 50

    5. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 21 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.มอ จัดขึ้น ณ โรงแรมทวิน โลตัส นครศรีธรรมราช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ฝึกทำรายงานหน้าเวปไซด์
    2. ฝึกทำรายงานการเงิน

     

    2 2

    6. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 3

    วันที่ 22 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน เพื่อรายงานความก้าวหน้าของโครงการ และเตรียมงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. จัดการประชุมประจำเดือนครั้งที่  3 โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุม 25 คน
    2. รายงานความก้าวหน้าของโครงการ ดังนี้ มีเขตอนุรักษ์และกฏกติกาของชุมชนแล้ว
    3. เตรียมการจัดทำห้องสมุดมีชีวิตของชุมชน ดังนี้

    - รับสมัครอาสาเยาวชน จำนวน 20 คน - คัดเลือกปราชญชุมชนที่มีความรู้และสนใจเข้าร่วมกิจกรรม 2 คน คือ นายปรีชา ต่างจิตต์ และนายธานี พัดตัน

     

    25 25

    7. สำรวจป่าชุมชนและรวบรวมข้อมูลพันธุ์จัดทำแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

    วันที่ 28 ธันวาคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจป่าชุมชน เพื่อรวบรวมข้อมูลพันธุ์ไม้ สิ่งมีชีวิต จัดทำป้ายชื่อ  โดยมีวิทยากร และปราชญในชุมชน ให้คำแนะนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เยาวชนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน  ได้รับความรู้จากวิทยากรและปราชญหมู่บ้านนำไปปฏิบัติและร่วมกันเป็นผู้ดูแลรักษาป่าชุมชน
    2. เยาชนได้รู้จักพันธุ์ไม้และสรรพคุณของพันธุ์ไม้ มากมาย โดยให้นำเสนอแลกเปลี่ยนซึงกันและกัน
    3. เยาวชนรู้สึกนึกรักพื้นป่าแห่งนี้จากการบอกเล่าจากปากของปราชญชุมชน
    4. เยาวชนได้สร้างกติกาอนุรักษ์ป่าชุมชนดังนี้ -ห้ามทิ้งขยะ

    - ห้ามตัดไม้ทำลายป่า
    - รักษาความสะอาดบริเวณป่าชุมชน
    - อนุรักษ์สัตว์น้ำและสัตว์ป่าบริเวณป่าชุมชน
    - ไม่ก่อความเสียหายทรัพย์สินของบริเวณป่าชุมชน

     

    20 20

    8. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 4

    วันที่ 11 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมโดยมีแกนนำหมู่บ้าน คณะกรรมการ และชาวบ้านเข้าร่วมประชุม
    2. อธิบายผลที่ได้จากการนำเยาวชนออกสำรวจป่าชุมชน
    3. ขอความร่วมมือจากชาวบ้านให้ช่วยกันอนุรักษ์ป่าชุมชนไว้ให้คงอยู่คู่หมู่บ้าน
    4. ชาวบ้านเสนอกติกาการเข้าใช้ป่าชุมชนของหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านได้ความรู้และเข้าใจการทำกิจกรรม
    2. ได้กติกาการใช้ป่าชุมชนเพื่อให้ป่าชุมชนมีความยั้่งยืน
    3. ชาวบ้านให้ความร่วมมืออนุรักษ์ป่าชุมชน

     

    25 25

    9. จัดเวทีคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจให้ชาวบ้านร่วมกันอภิปรายและหาแนวทางแก้ไขปัญหากำหนดมาตรการ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (15 ม.ค. 57)

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วันที่ 14 ม.ค.57 คณะกรรมการและชาวบ้านร่าวมกันจัดเตรียมพื้นที่ในการทำกิจกรรม  ที่บริเวณป่าชุมชนหมู่บ้านท่าจูด และต่อประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง
    2. วันที่ 15 ม.ค.57 08.30 น. เตรียมพร้อมสำหรับการทำกิจกรรมโดยคณะกรรมการโครงการและชาวบ้าน
    3. 09.00 น. เริ่มทำกิจกรรมตามที่ได้จัดเตรียมไว้ตามแผน
    4. 12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
    5. 13.00 น. เริ่มทำกิจกรรม และพักรับประทานอาหารว่าง
    6. 14.00 น. เสร็จสิ้นการทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ชุมชนมีมาตรการในการอนุรักษ์ธรรมชาติโดยคณะกรรมการและชาวบ้านได้ร่วมกันกำหนดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการปฎิบัติสำหรับชาวบ้านในหมู่บ้าน  เช่น การห้ามตัดไม้ภายในเขตป่าชุมชน  กำหนดพื้นที่อนุรักษ์สัตว์น้ำ ให้ความรู้ในการประกอบอาชีพประมงแก่ชาวบ้านเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ 2.การจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นด้วยความเรียบร้อยด้วยความร่วมมือจากคณะกรรมการโครงการและชาวบ้าน 3.กิจกรรมที่ทำขึ้นจะส่งผลให้ธรรมชาติภายในบริเวณหมู่บ้าน อุดมสมบูรณ์ ใช้เป็นแหล่งทำมาหากินของชาวบ้าน

     

    150 150

    10. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09.00 เริ่มเปิดการประชุม โดยมีคณะกรรมการและผู้ร่วมโครงการ จำนวน 25 คน เป็นผู้ร่วมประชุม 11.00 ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้ร่วมโครงการรับทราบถึงวาระการประชุมและมีความเข้าใจในการทำงาน 2.วางแผนการดำเนินกิจกรรมครั้งต่อไป แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อความสะดวกในการทำกิจกรรมและให้เกิดปัญหาน้อยที่สุด

     

    25 25

    11. จัดทำป้ายชื่อแสดงพันธุ์ไม้ และแผนที่ทรัพยากรชุมชน

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแผนที่ทรัพยากรชุมชนเพื่อแสดงข้อมูลชุมชนไว้ที่จุดชมวิวของหมู่บ้าน จัดทำป้ายชื่อแสดงพันธุ์ไม้จากการสำรวจ (สร้างแกนนำเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์ธรรมชาติชุมชน)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ป้ายชื่อของพันธุ์ไม้และป้ายแผนที่ทรัพยกรชุมชน เพื่อเป็นแหล่งความรู้ให้แก่เยาวชนได้ศึกษาค้นคว้า

     

    20 20

    12. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ ๖

    วันที่ 8 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวางแผนในการดำเนินกิจกรรม อบรมมัคคุเทศน์ประจำชุมชน  และติดต่อประสานงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการรับทราบ และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละฝ่าย

     

    25 25

    13. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ ๗

    วันที่ 5 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวางแผนและเตรียมตัวในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป  แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบถึงแผนงานในการทำกิจกรรม และเตรียมพร้อมเริ่มดำเนินงานตามหน้าที่

     

    25 30

    14. จัดกิจกรรม ปลูกป่า ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ล่องเรือ เดินป่า และการแสดงพื้นบ้าน

    วันที่ 12 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดเตรียมพื้นที่บริเวณป่าชุมชนบ้านท่าจูดและติดต่อประสานงาน 2.เปิดตัวแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บ้านท่าจูด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเยาวชนในหมู่บ้าน และชุมชนข้างเคียง เครือข่ายภาครัฐและเอกชน 3.ร่วมปลูกป่าชายเลน ปลูกต้นไม้ประจำถิ่น ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำในเขตหวงห้าม 4.นำเที่ยว ล่องคลอง เดินป่าชุมชนบ้านท่าจูดโดยมีมัคคุเทศน์ประจำชุมชนเป็นผู้ให้คำบรรยาย 5.การแสดงของแกนนำเด็ก ศิลปะพื้นบ้านแห้กลองยาว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้ และร่วมกันเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์ป่าชุมชนของหมู่บ้านท่าจูด เพื่ิอให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน 2.มัคคุเทศน์ชุมชนให้ความรู้และนำเที่ยวภายในป่าชุมชนทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประทับใจ

    3.กิจกรรมสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

     

    300 350

    15. อบรมเชิงปฎิบัติการเป็นมัคคุเทศน์ประจำชุมชน

    วันที่ 21 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เยาวชนที่รับสมัครไว้ จำนวน 20 คน รวมตัวที่ป่าชุมชนหมู่บ้านท่าจูด เวลา 08.30 น. 2.วิทยากรจากเครือข่ายภาคเอกชนมาให้การอบรมในพื้นที่ 3.แบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมตามที่วางแผนดำเนินกิจกรรม 4.สรุปผลการทำกิจกรรมในแต่ละวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เยาวชนสามารถถ่ายทอดความรู้ที่่ได้รับจากวิทยากรให้กับชาวบ้านและผู้ที่สนใจได้ 2.เยาวชนที่อบรมสามารถเป็นมัคคุเทศน์ประจำชุมชนได้ มีความรู้และศักยภาพเพียงพอในการทำกิจกรรม 3.ได้รับความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี ทำให้กิจกรรมสำเร็จไปได้ด้วยดี  ในระยะเวลา 5 วัน ในการทำกิจกรรม 4.เมื่อเกิดปัญหาทุกคนสามารถร่วมกันแก้ไขได้

     

    20 20

    16. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ ๘

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 - 11.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบติดต่อตัวแทนภาครัฐองค์กรท่องถิ่นภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องมาร่อมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำแผนพัฒนาปัรบปุรงแหล่งทอ่งเทียวพัฒนาสร้างธนาคารกุ้งก้ามกราม ปล่อยปลากะพงขาว ปล่อยปู สนันสนุนโดย สำนักงานประมงจังหวักพังงาร่อมกับอำเภอตะกั่วป่าเทศบาลบางนายสี 

     

    26 26

    17. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ ๙

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 - 12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการร่วมกันประชุมเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการเข้าใจแผนการทำงานในการทำกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวและแบ่งหน้าในการรับผิดชอบและประสานงาน

     

    25 25

    18. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน จัดทำแผนปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 - 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาพื้นที่ป่าชุมชน เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์และภาคีเครือข่าย และร่วมกันปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเป็นอนุรักทรัพยากรณ์เป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาป่าชุมชนและแล่งท่องเที่ยว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความร่วมมือจากทุภาคส่วนเป็นอย่างดี ทำให้กิจกรรมเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ส่งผลให้ป่าชุมชนพัฒนาไปในทางที่ดีและมีสภาพที่สมบูรณ์ขึ้น ได้รับเงินสมทบจากเทศบาลตำบลบางนายสี จำนวน 10000 บาท

     

    150 200

    19. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ ๑๐

    วันที่ 7 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 - 11.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชนสรุปผลการทำกิจกรรมที่ผ่านมาสำรวจผลในการพัฒนาปรับแหล่งท่องเที่ยว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สำรวจผลการทำงานที่ผ่านมาแต่ละโครงการและผลจากการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวป่าชุมชนของหมู่บ้านท่าจูด

     

    25 25

    20. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ ๑๑

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงความเรียบร้อย และตั้งคนคอยดูแลธนาคารกุ้งก้ามกามในป่าชุมชนบ้านท่าจูด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้าวช่วยกันแบ่งหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายคอยช่วยกันดูแลพันธุ้กุ้ง

     

    25 30

    21. ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 12

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงผลการทำโครงการแก่คณะกรรมการ
    สรุปปิดโครงการ และจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมชาวบ้านเพื่อให้ร่วมมือกันดูแลป่าชุมชนบ้านท่าจูดให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและชี้แจงการดำเนินโครงการที่ผ่านมา ติดตามผลการเปลี่ยนแปลงของป่าชุมชนที่ได้รับการพัฒนาจากชาวบ้านและองค์ภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความร่วมในโครง กำหนดแนวทางให้ชาวบ้านช่วยกันดูแลรักษาธรรมชาติเพื่อให้อุดมสมบูรณ์และยั่งยืนตลอดไป เพื่อประโยชน์ชองสังคมและชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านให้มีอาชีพและใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติอย่างมีความสุขในระยะยาาว

     

    26 25

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ประชาชนในชุมชนรู้จักวิธีการอนุรักษ์ธรรมชาติและพันธุ์สัตว์น้ำได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมประชุมโครงการปฏิบัติกฎระเบียบชุมชน 2. ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการประมงในชุมชนเข้ารับการอบรม 3. ไม่มีการจับสัตว์น้ำในช่วงฤดูวางไข่
    1. ตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมประชุมเพือร่วมกำหนดกฏกติกาชุมชนในการอนุรักษ์ธรรมชาติและพันธ์ุสัตว์น้ำ ร้อยละ 100 หรือจำนวน 150 ครัวเรือน
    2. ผู้ประกอบอาชีพประมงในชุมชนเข้ารับการอบรมร้อยละ 100 หรือจำนวน 50 คน
    3. ไม่มีการจับสัตว์น้ำในฤดูวางไข่ และในเขคอนุรักษ์
    2 พัฒนาและอนุรักษ์ธรรมชาติของชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ของชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีมัคคุเทศก์ประจำชุมชน 2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเปิดตัวแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนประกอบด้วยคนในชุมชน , ชุมชนใกล้เคียง และนักท่องเที่ยว
    1. มีมัคคุเทศก์ประจำหมู่บ้าน ส่วนใหญ่เป็นเด็กเยาวชนที่ผ่านการสำรวจชุมชนมาแล้ว และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติของชุมชนดีมากโดยเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการนี้มาตลอด มีห้องสมุดมีชีวิต ซึ่งเป็นแห่ลงท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
    2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเปิดตัวแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนมีจำนวนสูงกว่าเป้าหมายที่วางไว้  (เป้าหมาย 300 คน ผู้เข้าร่วมจริง 350 คน) ซึ่งผู้เข้าร่วมประกอบด้วย เยาวชนและชาวบ้านภายในหมู้บ้าน  ชุมชนข้างเคียงและผู้ที่สนใจ
    3 กลไกขับเคลื่อนของชุมชนมีพลังที่เข้มแข็งและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่
    ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีมาตรการ กฏกติกาในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน 2. มีการประชุมของคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งและมีการบันทึกการประชุม 3. มีแผนพัฒนาปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนเพื่อเสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุนงบประมาณ
    1. ชุมชนมีมาตรการ กฏกติกาในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน และปฏิบัติได้ ดังนี้ ห้ามจับสัตว์น้ำในฤดูวางไข่  และในเขตอนุรักษ์ กำหนดการใช้ตาอวน ถ้าจับปูที่มีไข่ ให้นำส่งธนาคารปู
    2. มีการประชุมของคณะกรรมการสภาองค์กรชุมชน เดือนละครั้ง รวมทั้งสิ้น 12 ครั้ง และมีการบันทึกการประชุม
    3. มีแผนพัฒนาปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว โดยเข้าแผน อบต.เป็นหลัก และขอโครงการโลกสีเขียวได้รับอนุมัติแล้ว
    4 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานโครงการเข้าร่วมการประชุมกับสสส. หรือ สจรส.ม.อ. อย่างน้อยร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งทีจัด 2. มีป้ายไวนีลสถานที่นี้ปลอดบุหรีจัดตั้งไว้ในชุมชน 3. มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์จัดส่ง สสส. 4. มีภาพถ่ายทุกกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

    มีการส่งรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ครบถ้วน

    มีภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการ

    ีมีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ติดในบริเวณที่จัดกิจกรรม และจัดตั้งอย่างถาวร

    เข้าร่วมการประชุมกับสจรส.ม.อ.ครบทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนในชุมชนรู้จักวิธีการอนุรักษ์ธรรมชาติและพันธุ์สัตว์น้ำได้อย่างถูกต้อง (2) พัฒนาและอนุรักษ์ธรรมชาติของชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ของชุมชน (3) กลไกขับเคลื่อนของชุมชนมีพลังที่เข้มแข็งและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ (4) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด

    รหัสโครงการ 56-01501 รหัสสัญญา 56-00-1768 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    สภาพป่าชุมชนเปลี่ยนเป็นห้องสมุดมีชีวิต เด็กเยาวชนและนักท่องเที่ยว ได้เรียนรู้ว่ามีอะไรบ้าง เป็นท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ที่สมบรูณ์

    จากรูปถ่าย และสถานที่จริง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    เปลี่ยนสภาพป่าชุมชนเป็นที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน ป่าชายเลน ลำคลองและเพิ่มพันธุ์สัตว์น้ำชุมชนบ้านท่าจูด จังหวัด พังงา

    รหัสโครงการ 56-01501

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประมวล เพ็ญภักดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด