แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 56-01325
สัญญาเลขที่ 56-00-0862

ชื่อโครงการ ห้วยแห้งเดินตามรอยเท้าพ่อ สร้างความสมานฉันท์ความสามัคคีในชุมชน
รหัสโครงการ 56-01325 สัญญาเลขที่ 56-00-0862
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางเบญจา รัตนมณี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายศราวุธ รัตนมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 25 กันยายน 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 กันยายน 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายปัญญา อนิลบล 62/1 หมู่ที่ 6 ตำบลครน อำเภอสวี จังหวัดชุมพร 08 1080 1922
2 นางสาวหะริญา อนิลบล 62/1 หมู่ที่ 6 ตำบลครน อำเภอสวี จังหวัดชุมพร 08 1376 2604
3 นายยงยุทธ อินทรวิสัย 70 หมู่ที่ 6 ตำบลครน อำเภอสวี จังหวัดชุมพร 08 1081 0820
4 นางรัตนา แกมมอน 33/3 หมู่ที่ 6 ตำบลครน อำเภอสวี จังหวัดชุมพร 08 6788 7193

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.สร้างกลไกประสานเชื่อมความสามัคคีให้สมาชิกในชุมชน

1.1 ร้อยละ 80 ของประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมเวทีการทบทวนตนเอง 1.2 ร้อยละ 80ของประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน 1.3 ร้อยละ 50 ของประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

2.

2.สรรหาพื้นที่"มุมสมาชิกชุมชน"(จัดระเบียบชุมชน)

2.1 ร้อยละ 75 ของประชาชนมีความพึงพอใจ

3.

3.เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อขยายผลการดำเนินงาน

3.1 มีข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ

ติดตามประเมินผลโครงการแต่ละครั้ง

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำชุมชน/จัดตั้งสภาผู้นำ-สภาผู้นำจัดประชุมเพื่อจัดทำระเบียบข้อบังคับของสภาและทำความเข้าใจเรื่องการสร้างความสัมพันธ์ของสมาชิกชุมชนi

8,700.00 30 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้านจัดให้มีการประชุมเพื่อจัดตั้งสภาผู้นำชุมชน  มีผู้เข้าร่วมประชุม 56 คน คิดเป็นร้อยละ 93 (เป้าหมายตั้งไว้ 60 คน)


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การจัดตั้งสภาผู้นำชุมชน โดยคณะกรรมการโครงการชี้แจงให้สมาชิกชุมชนได้รับทราบว่าเป็นเรื่องของกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ของคนในชุมชน และเป็นแกนนำหลักในการพัฒนาชุมชนหมู่บ้าน ซึงในที่ประชุมมีมติเลือก นายสนิท สุทธิเสริม เป็นประธานสภาผู้นำ และมีผู้เข้าร่วมเป็นทีมงานประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน กำนันผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการและอสมหมู่บ้าน สมาชิกโครงการเข้าร่วมประชุม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 1คน ผู้ใหญ่บ้าน กำนันผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน รายละเอีียด กิจกรรมปฎิบัติจริง

8,700.00 8,700.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลที่ได้จากประชุมได้ให้มติที่ประชุมคัดเลือกสภาผู้นำมติที่ประชุมเลือก นายสนิท สุทธิเสริมเป็นสภาผู้นำ

กิจกรรมหลัก : ประชาชน/คณะทำงาน/แกนนำประสานใจ/เด็กและเยาวชน-จัดพื้นที่กลาง"มุมสมาชิกชุมชน"ร่วมกันปรับภูมิทัุศน์โดยการปลูกไม้ดอกไม้ประดับบริเวณพื้นที่สร้างสรรค์i

2,000.00 50 ผลผลิต

จัดหาพื้นที่กลางใช้เป็นพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับสมาชิก โดยใช้ศูนย์หมู่บ้าน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ใช้ศูนย์หมู่บ้านเป็นพื้นที่กลางและเป็นมุมที่สมาชิกใช้แลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือตั้งวงสนทนา จัดกิจกรรมออกกำลังกายหรือกิจกรรมอื่นๆในภาพรวม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสองฝ่าย

2,000.00 2,000.00 50 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงานและประชาชนผู้เขั้ากิจกรรมทั้งสองฝ่ายได้มาร่วมช่วยกันพัฒนาไหล่ทาง ซ่อมแซมถนนที่เป็นหลุมเป็นบ่อและร่วมปลูกต้นโกสน ทุกคนมาช่วยกันและให้ความร่วมมือในกิจกรรมเป็นอย่างดี

กิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมออกกำลังกายสำหรับคนรักสุขภาพเช่นแอโรบิกฯลฯi

12,000.00 50 ผลผลิต

มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง มีผู้สนใจและเข้าร่วมเต้นแอโรบิค ครังละ 30-45 คน สัปดาห์ละ 4 วัน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการร่วมประชุมหารือเรื่องการออกกำลังกาย ซึ่งสมาชิกส่วนใหญ่เสนอเรื่องการเต้นแอโรบิคเป็นการออกกำลังกายของชุมชน โดยเสนอให้มีการออกกำลังกายสัปดาห์ 4 วัน หากวันไหนฝนตกหนักจะขยับเลื่อนไปแต่ในหนึ่งสัปดาห์ต้องไม่ต่ำกว่า 3 วัน ซึ่งมีสมาชิกสนใจเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะดำเนินงาน วิทยาการที่นำออกกำลังกาย(น.สนารีรัตน์ ล่องวัต) เด็กเยาวชน ผู้สูงอายุ คณะกรรมการหมู่บ้าน อสม.ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรม

12,000.00 12,000.00 50 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เห็นถึงคนในชุมชนเห็นคุณค่าการดูแลสุขภาพหันมาออกกำลังกายมากขึ้นและได้มีการเชิญชวนคนมาเข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้นในแต่ละวัน

กิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมวาดภาพ/สำหรับเด็กและเยาวชน/ผู้สูงวัยเล่าประสบการณ์/ช่วยกลุ่มเด็กและเยาวชนพัฒนาชุมชนi

7,000.00 20 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการจัดกิจกรรมให้เด็ก เยาวชนและผู้สูงอายุ จัดเวทีสร้างความสัมพันธ์ในชุมชน มีสมาชิกเข้าร่วม 55 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการจัดกิจกรรมให้เด็ก เยาวชนและผู้สูงอายุ ได้มีเวทีพบปะพูดคุยสร้างความสัมพันธ์ในชุมชนผู้สูงอายุเล้าประสบการณ์ของตนเองกับความสัมพันธ์ของสมาชิกในชุมชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนรุ่นหลังได้รับทราบข้อมูลและความเป็นมาของชุมชน และประเพณีวันสงกรานต์ที่เป็นประเพณีสำคัญที่ทำให้คนในชุมชนได้มีโอกาสพบปะพูดคุย เป็นการผ่อนคลายและไดพักผ่อน และร่วมกิจกรรมรดน้ำผู้สูงอายุและผู้เข้าร่วมกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ประชาชน/คณะทำงาน/แกนนำประชาชน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ อสม ประสานใจชุมชนกลุ่มเป้าหมาย 20 คนมาจริง 55 คน

7,000.00 7,000.00 20 55 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชน/คณะทำงาน/แกนนำประชาชนประสานใจชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมเกินเป้าหมายจริงที่ตั้งไว้

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะกรรมการโครงการเดือนละ 1ครั้งi

3,500.00 50 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการจัดประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานในงวดที่ 2 จำนวน  5 ครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการมีการประชุมร่วมกันเพื่อทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมาเตรียมนำเสนอแก่สมาชิกชุมชน พร้อมทั้งมีการวางแผนเตรียมจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 8 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะดำเนินงานโครงการ

500.00 500.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประสานกันทางโทรศัพท์และทางรถยนต์กับคณะดำเนินงาน 5คนที่จะร่วมเดินทางไปพบพี่เลี้ยง

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะดำเนินงานโครงการ

500.00 500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการประสานงานปรึกษาหารือทางโทรศัพท์กับคณะดำเนินงานโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะดำเนินงาน เจ้าหน้าที่ อสม และประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสองฝ่ายในหมู่บ้าน

500.00 500.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในวันนั้นทุกคนก็ช่วยกันวิ่งบอกและโทรศัพท์ให้ประชาชนในหมู่บ้านได้ออกมาช่วยกันพัฒนาหมู่บ้านในวันที่ 12 สิงหาคมกันอย่างพร้อมเพรียงกัน

คณะทำงานเเละคณะดำเนินงานโครงการ

500.00 500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ ประสานงานทางโทรศัพท์และทางรถยนต์ให้คณะดำเนินงานได้รับทราบทุกคน

ผู้รับโครงการและคณะดำเนินงานโครงการ

1,000.00 800.00 10 8 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับโครงการและคณะดำเนินงานโครงการวางแผนดำเนินงานการเดินทางไปดูงานจ.เพชรบุรีเป็นเวลา 2 วัน

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะดำเนินงาน

500.00 500.00 50 43 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะทำงาน ได้ช่วยกันวิ่งประสานทางรถส่วนตัวและทางโทรศัพท์ บอกสมาชิกถึงการเดินทางไปดูงานจ.เพชรบุรีครบทุกคนในวันนั้น

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุม

500.00 500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการคณะทำงานจำนวน 10 คน พร้อมประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ

  • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะดำเนินงานโครงการและประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คนเข้าร่วมประชุม
500.00 500.00 2 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการพร้อมคณะดำเนินงานโครงการและประชาชนผู้เข้าร่วมประชุมและเข้าร่วมโครงการเข้าร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการผ่านไปด้วยดีอยากให้การต่อยอดของกิจกรรมต่อไป

กิจกรรมหลัก : ค่าเดินทางและที่พัก ในกรณี เข้าร่วมประชุมกับ สสส.i

10,000.00 2 ผลผลิต

มีการเข้าร่วมการติดตามโครงการจากพี่เลี้ยง สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงจังหวัด จำนวน 4 ครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้รับผิดชอบและคณะทำงานได้เข้าร่วมรับการตรวจสอบผลการดำเนินงานจากพี่เลี้ยง สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงจังหวัด โดยคณะทำงานนำเอกสารทางการเงินมาให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ ซึ่งยังมีเอกสารหลายรายการที่ไม่ชัดเจนต้องปรับปรุงในขณะที่การลงข้อมูลในระบบรายงานไม่เป็นปัจจุบัน ต้องจัดทำให้เป็นปัจจุบัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 7 ครั้ง

 

0.00 500.00 2 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ให้ทุกคนได้เข้าใจเกี่ยวกับเอกสารสสส.ที่จะส่งพี่เลี้ยงโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการ รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

5,000.00 500.00 4 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานได้เข้าใจการทำงานระบบระเบียบของสสส

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการ

1,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เดินทางเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อสรุปรายละเอียดกิจกรรมที่ได้ทำไป

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการ เจ้าหน้าการเงิน

1,000.00 500.00 2 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการ เดินทางพบพี่เลี้ยงนางเบญจา รัตนมณี เพื่อให้ตรวจสอบเอกสารแก้ไขรายงานโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการ

1,000.00 500.00 4 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารมีการแก้ไขเพิ่มเติม 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะดำเนินงานโครงการ

1,000.00 500.00 3 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารทั้งหมดเป็นระเบียบเรียบร้อยท้้งการการเงินและเอกสารทุกอย่าง

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะดำเนินงานโครงการ อสม. และประชาชนผุู้เข้าร่วมโครงการ

1,000.00 5,000.00 2 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะดำเนินงานโครงการได้ร่วมประชุมชี้แจงสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ โครงการนั้นได้ดำเนินไปด้วยดีทุกกิจกรรมเห็นกิจกรรมใหม่ๆเกิดขึ้นคนในชุมชนก็เห็นคุณค่าและให้ความสำคัญเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้นๆกิจกรรมที่จัดขี้นมานั้นเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้นและตั้งใจจะกิจกรรมและต่อยอดกิจกรรมนี้ต่อไป

กิจกรรมหลัก : ค่าจัดทำรายงานส่ง สสส.i

1,000.00 2 ผลผลิต

มีการจัดทำสรุปรายงานงวดที่ 1 ส่ง สสส.


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานจัดทำสรุปผลการดำเนินงานโดยการลงข้อมูลในระบบรายงานให้เป็นปัจจุบันและพิมพ์ส่งให้ สสส. มีความล่าช้าเล็กน้อย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะดำเนินงานจ้างให้ร้านจัดพิมพ์รายงาน
1,000.00 1,000.00 1 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จัดทำรายส่งสสส 1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ งวดละ 1 ชุด 2. รายงานฉนับสมบูรณ์เมื่อปิดโครงการ 1 ชุด
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การจัดทำโครงการในพื้นที่ที่ท้องที่และท้องถิ่นอยู่คนละขั้ว ต้องระมัดระวัง เพราะจะมีปัญหาที่ทั้งสองฝ่ายไม่ปรับความเข้าใจ ฝ่ายดำเนินการทำเพื่อการพัฒนาในขณะที่อีกฝ่ายมองถึงเรื่องผลประโยชน์ โครงการนี้ก็เช่นกัน แต่คณะกรรมการโครงการไม่ย่อท้อใช้การจุดประกายเรื่องกิจกรรมรวมเป็นสะพานในการสร้างการมีส่วนร่วม ทำให้เกิดประเพณีจากโครงการนี้ขึ้นจากการที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่น การจัดงานปีใหม่มีการแลกเปลี่ยนของขวัญกันและกัน การรดน้ำผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ ส่งผลให้สมาชิกชุมชนมีความพึงพอใจและต้องการให้ชุมชนจัดกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี จะได้เป็นศูนย์รวมใจของสมาชิกชุมชนที่ได้เข้ามาร่วมกันอย่างพร้อมเพรียง

สร้างรายงานโดย Nongluk_R