แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ หมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน ”

บ้านสวนขัน หมู่ที่ 1 ตำบลสวนขัน อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์

ชื่อโครงการ หมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน

ที่อยู่ บ้านสวนขัน หมู่ที่ 1 ตำบลสวนขัน อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 56-01209 เลขที่ข้อตกลง 56-00-1109

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2556 ถึง 30 กันยายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"หมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านสวนขัน หมู่ที่ 1 ตำบลสวนขัน อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " หมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านสวนขัน หมู่ที่ 1 ตำบลสวนขัน อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 56-01209 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 201,600.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 130 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้
  2. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ
  3. เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการ โดยทีม สสส.และสจรส.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1

    วันที่ 26 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเป้าหมาย 30 คน  เข้าร่วมประชุมที่ศาลาเอนกประสงค์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เริ่มประชุมเวลา 10.00 น.   เมื่อที่ประชุมพร้อม นาง ดัชนีย์ มัชฌิมวงค์ ประธานโครงการ เปิดประชุม
    ระเบียบวาระที่1 ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ     -โครงการหมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมพัฒนาสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรอีกทั้งยังส่งเสริมและปลุกจิตสำนึกให้ชุมชนเห็นถึงความสำคัญของสมุนไพรพื้นบ้าน และต้องการให้กลุ่มเป้าหมายได้อนุรักษ์ปลุกพืชผักสมุนไพรมากขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพขั้นพืนฐานได้ด้วย เช่น ครัวเรือนมีการปลูกพืชสมุนไพรไว้ที่บ้าน มีฐานเรียนรู้เกี่ยวกับการนำพืชสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 2ฐาน 1.ฐานเกษตรวิถี 2.ฐานสมุนไพรบำรุงสุขภาพ       -กิจกรรมจะทำอะไรบ้างและมีวีธีการอย่างไร เช่น ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 30 ครัว เพื่อกำหนดแนวทางกิจกรรมและรายงานผลดำเนินการตามกิจกรรมและติดตามความก้าวหน้าตลอดจนรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมงานและมีการรณรงค์ให้คนรุ่นใหม่ไม่สูบบุหรี่ มีการออกกำลังกายหลังการประชุม เช่น เต้นแอโรบิค โยคะ พร้อมทั้งวางแผนที่จะลดละเลิกบุหรี่ให้ได้ในที่สุด       -กระบวนการพัฒนาครั้งที่1 ประชุมชี้แจงให้รู้ถึงความสำคัญของสมุนไพรพื้นบ้าน       -กระบวนการพัฒนาครั้งที่2 แตัละกลุ่มได้เรียนรู้ร่วมกัน เช่น การปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้านรอบบริเวณบ้าน อาจจะมีการทำแปลงสาธิตพร้อมทั้งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงคุณและโทษของสมุนไพรพื้นบ้าน รณรงค์ติดป้ายห้ามสูบบุหรี่ ออกกำลังกาย และทำบัญชีครัวเรือน       -กระบวนการพัฒนาครั้งที่3 ติดตามสอบถามการเปลี่ยนแปลงจากครัวเรือนจัดทำเป็นฐานการเรียนรู้ในชุมชน เผยแพร่กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับชาวบ้านที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มเติม       -กระบวนการพัฒนาครั้งที่4 ให้ความรู้สมุนไพรชุมชน สรรพคุณและวีธีการปลูก การขยายพันธ์ การนำไปใช้ประโยชน์ทำเป็นยาส่งเสริมให้ครัวเรือนปลูกอย่างน้อย 5 ชนิด         -กระบวนการพัฒนาครั้งที่5 จัดประชุมร่วมกับปราญช์ชาวบ้าน สืบค้นภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อดูแลพื้นฐาน เช่น สมุนไพรที่ใช้ในการลดไข้ สมุนไพรที่ใช้ในการลดการปวดท้อง ท้องเสีย แก้วิงเวียนหรือสมุนไพรที่ใช้กำจัดแมลงการทำลูกประคบและชุดอบสมุนไพร และจัดทำเป็นฐานการเรียนรู้ด้านสมุนไพรเพื่อแก่เกษตรกรและสามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายด้วย           -กระบวนการพัฒนาครั้งที่6 เปิดเวทีถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ชาวบ้านโดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านสอนให้ความรู้ เช่น ให้ความรู้และรณรงค์ด้านการทำชุดอบสมุนไพรในชุมชน ทดลองใช้ชุดอบสมุนไพรในชุมชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ชุดประคบสมุนไพร ชี้แจงถึงสรรพคุณของสมุนไพรประกอบด้วย           -กระบวนการพัฒนาครั้งที่่7 เปิดเวทีถ่ายทอดความรู้ให้ประชาชนในพื่้นที่เกี่ยวกับความรู้ด้านสมุนไพร ทดลองนำสมุนไพรที่ผ่านการแปรรูปไปใช้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังดำเนินกิจกรรมเสร็จ           -กระบวนการพัฒนาครั้งที่8 ร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนเพื่อเรียนรู้ในการพัฒนาเกี่ยวกับสมุุนไพรในชุมชนพร้อมทั้งขยายฐานเพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
                ปิดประชุมเวลา 16.00น.
                          ลงชื่อ นายมีชัย จันจง                                                       เลขานุการ

                                                ลงชื่อ  นางดัชนีย์ มัชฌิมวงค์
                                                            ประธานโครงการ

     

    50 30

    2. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเป้าหมาย 50 คน เข้าร่วมประชุมที่ศาลาเอนกประสงค์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เริ่มประชุมเวลา 10.00 น.   เมื่อที่ประชุมพร้อม นาง ดัชนีย์ มัชฌิมวงค์ ประธานโครงการ เปิดประชุม
                          แจ้งให้คณะกรรมการ เยาวชน อสม.แกนนำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้านช้วยกันระดมความรู้ ความคิดเพื่อหาข้อมูลและรวบรวมองค์ความรู้ของพืชสมุนไพรเพื่อจัดพิมพ์และทำเป็นคู่มือเพื่อสืบสานภูมิปัญญาพื้นบ้านเมื่อเสร็จจากการทำกิจกรรมกลุ่มเป้าหมายได้มีการออกกำลังกายในรูปแบบต่าง ๆ รวมกัน 30 นาทีและกลุ่มเป้าหมายได้ร่วมกิจกรรมจัดทำบัญชีครัวเรือนเกี่ยวกับการลดรายจ่ายเพื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม

     

    50 0

    3. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3

    วันที่ 3 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานมีการประชุม เป้าหมาย  50 คน เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรม รายงานผลการดำเนินงานตามกิจกรรมและติดตามความก้าวหน้า ตลอดจนรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมงาน  โดยใช้ศาลาเอนกประสงค์วัดสวนขัน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทเรียนในการพัฒนา และปรับปรุงกิจกรรมครั้งถัดไป 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันนี้ประชุมคณะทำงาน เพื่อนำความรุ้ ได้ความคิด และหาข้อมูลเพิ่มเิติมในการจัดทำคู่มือสมุนไพรพื้นบ้าน ให้ปราชย์ชุุมชนเป็นพี่เลี้ยงเป็นที่ปรึกษา
    ประธานได้เสนอว่า ให้ทุคนเขียนสรรพคุณสมุนไพร แล้วรวบรวม เพื่อจัดทำเป็นองคืความรู้ ประธานเสริมว่าทุกครัวเรือนต้องมีการปลูกสมุนไพร  เน้นให้มีการแลกเปลี่ยนครัวเรือนอื่น
    ให้มีการขยายพันธืและอนุรักษ์่ต่อป

     

    50 50

    4. ปราชญ์ชุมชนถ่ายทอดความรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้านสู่กลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 1

    วันที่ 10 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมประชาชน ปราชญ์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรชุมชน จัดทำคู่มือแนวทางสมุนไพร ภูมิปัญญาพื้นบ้านโดยเชิญปราชญ์และครูภูมิปัญญามาถ่ายทอดความรู้ และรวบรวมองค์ความรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์ในชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประธานเล่าให้ฟังว่า ดีใจที่ทุกคนมาอนุรักษ์สุมนไพร พวกเราต้องร่วมมือกัน โครงการนี้กว่าจะได้เงินมาลำบากมาก พวกเราทุกคนต้องรักและหวงแหนกิจกรรมให้เกิดให้ได้  มีกิจกรรมดังนี้1.วางแผนดำเนินกิจกรรมสืบสานสมุนไพร โดยการจับบั๊ดดี้ อสม.1 คน หาเพื่อน 1คน เพื่อเรียนรู้ ปลูกและใช้สมุนไพร 2.กำหนดเส้นทางการสืบค้นภูมิปัญญาจากปราชญ์ชุมชน โดยการแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ถอดบทเรียนการใช้สมุนไพรจากปราชญ์ทั้ง 4 คน

     

    80 80

    5. มีคู่มือแนวทางสมุนไพรพื้นบ้านและการนำไปใช้ดูแลสุขภาพตนเอง

    วันที่ 20 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมเพื่อระดมความรู้ ความคิดเพิ่มเติม และรวบรวมองค์ความรู้ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันนี้มีการประชุมชาวบ้านเพื่อชี้แจ้งให้ทราบเกี่ยวกับโครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ และร่วมกันคิดแนวทางการทำงาน วาระแรกปราชญ์ชุมชนได้ถ่ายทอดความรู้ การแปรรูปตำรับยาสมุนไพร รวมรวบทำเป็นชุมคู่มือความรู้ สิ่งที่ได้จากการพูดคุยวันนี้ได้รู้จักสมุนไพร 55 ชนิด ประกอบด้วย ไม้กระดูกไก่ ไหลเผือก เชือดผู้-เมีย ผนแสนห่า ไม้ตีนเป็ด คูระเปรียะ ขอบนางย้อย ขอบนางใหญ่ เปล้าน้อย เปล้าใหญ่ ไม้ไผ่คล้าน เข็มแดง เข็มขาว สาวเหล้า สาวหยุด กำแพงเจ็ดชั้น  ตำรับยาอายุวัฒนะประกอบด้วยแห้วหมู ชุมเห็ด ตีนเป็ด กระดูกไก่  ไหลเผือก ขมิ้นฤาษี  กำแพงเจ็ดชั้น หญ้าปราบธรณี สิ่งที่ได้จากประชุมวันนี้คือ 1.ได้รู้จั้กสมุนไพรเพิ่มขึ้น  2.ได้รู้จักสุมนไพรและสรรพคุณ 3.มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้เกิดขึ้น 

     

    80 80

    6. ประชุมชี้แจงคณะทำงานและการดำเนินงานโดย สจรส.มอ.

    วันที่ 21 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงาน 5 คน ร่วมรับฟังคำชี้แจงรายละเอียดการทำงานและการบันทึกข้อมูลลงโปรแกรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้ฝึกการบันทีกข้อมูลลงในโปรแกรมออนไลน์ และได้นำเอกสารให้พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบความถูกต้อง

     

    5 5

    7. ประชุมประชาชนเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ ครั้ืงที่ 2

    วันที่ 3 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเป้าหมาย 80 คน เข้าร่วมประชุมที่ศาลาเอนกประสงค์ จัดประชุมแกนนำครัวเรือนเพื่อนำความรู้ ความคิดเพิ่มเติมและหาข้อมูลในการจัดทำคู่มือสมุนไพรพื้นบ้านตำนานพื้นเมือง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมแกนนำครัวเรือนเพื่อนำความรู้ ความคิดเพิ่มเติมและหาข้อมูลในการจัดทำคู่มือสมุนไพรพื้นบ้านตำนานพื้นเมือง โดยให้ปราชญ์ชุมชนเป็นพี่เลี่ยงและที่ปรึกษาอีกทั้งนำสมุนไพรที่มีดั่งเดิมในแต่ละครัวเรือนมาแลกเปลี่ยนกันเพื่อนำไปปลูกขยายพันธุ์ในแต่ละครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย ชี้แจงให้กลุ่มเป้าหมายแบ่งกลุ่มกันปลูกสมุนไพรหายากในชุมชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขยายพันธ์สมุนไพร การดูแลสมุนไพรในครัวเรือน

     

    80 80

    8. ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 4 และพี่เลี้ยงโครงการติดตามงาน

    วันที่ 5 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการเข้าร่วมประชุม 30 คน ประกอบด้วย อสม. 15 คน คณะกรรมการ 10 คน ปราชญ์ชุมชน 2 คน และเยาวชน 8 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เมื่อได้เวลานายมนูญ พลายชุมพี่เลี้ยงโครงการได้พบปะคณะกรรมการและผู้เข้าร่วมประชุมโดยได้ให้คำแนะนำและสอบถามถึงความคืบหน้าของโครงการหมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้านว่าได้ดำเนินการไปถึงขั้นตอนไหนจากนั้นได้ให้คำแนะนำแก่คณะกรรมการและผู้้เข้าร่วมประชุมถึงรายละเอียดโครงการว่าต้องดำเนินการต่อไปอย่างไรโดยให้คณะกรรมการได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสมุนไพรพื้นบ้านภายในชุมชนของตนเองจากนั้นให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงคุณ โทษและประโยชน์อีกทั้งให้มีฐานเรียนรู้ของสมุนไพรพื้นบ้านภายในชุมชน หลังจากนั้นได้ให้คณะกรรมการกำหนดวันลงพื้นที่ในขั้นตอนต่อไป

     

    50 30

    9. จัดทำกิจกรรมพัฒนาแปลงฐานเรียนรู้สมุนไพร

    วันที่ 10 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมเพื่อระดมความรู้ ความคิดเพิ่มเติม และรวบรวมองค์ความรู้ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันนี้เป็นการเก็บรวบรวมองค์ความรู้ สมาิชิกบอกว่าโครงการนี้เป็นโครงการที่ดีมาก  พวกเราทุกคนต้องสร้าง สานสัมพันธ์กันให้กันให้มาก  ต้องให้ความร่วมมือ  ผู้ใหญ่บ้านบอกว่า โครงการนี้ได้ประโยชน์มาก ต้องร่วมด้วยช่วยกัน  พี่กบบอกว่า ต่อไปพวกเราต้องหันมาปลูกสมุนไพร ขยายพันธ์สมุนไพร แกนนำ ทีมทำงาน ปราชญ์ชุมชน ร่วมกันกลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้สมุนไพรในชุมชน สรรพคุณ และแบ่งกลุ่มบ้านรับผิดชอบออกเป็นโซน สุมนไพรที่สามารถปลูกได้เลย คือว่านหางจระเข้ ตะไคร้หอม เถาวัลย์เปรียง หญ้าเข็ดมอญ  ทุ่งฟ้า  สาวหยุด ย่านาง มะนาว เข็มขาว เข็มแดง

     

    80 80

    10. ปราชญ์ชุมชนถ่ายทอดให้ความรู้เกี่ยวกับทำลูกประคบในการดูแลสุขภาพ

    วันที่ 15 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมแกนนำครัวเรือนเพื่อส่งเสริมการปลูกและขยายการปลูกสมุนไพรพื้นบ้านตามแนวทางคู่มือสมุนไพรในชุมชนทุกครัวเรือน โดยให้ปราชญ์ชุมชนเป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษา เกี่ยวกับการขยายพันธุ์ วิธีดูแลรักษาเพื่อเจริญสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการขยายพันธุ์สมุนไพรในชุมชน
    2. กลุ่มเป้าหมายทุกคนได้แลกเปลี่ยนเรียนรุ้และเสนอแนะให้มีการสมทบเงินเข้ากองทุนสมุนไพร
    3. มีการจัดสวนสมุนไพรและปลูกทดแทนชนิดเดิมที่ตายไป

     

    80 130

    11. ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง นครศรีฯ เพื่อปรึกษาการทำงานตามโครงการ

    วันที่ 20 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานเข้าปรึกษากับพี่เลี้ยง เพื่อปรึกษาการทำกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้พูดคุยกับพี่เลี้ยง เกี่ยวกับกลวิธีการดำเนินงานตามโครงการ การบันทึกเอกสารตามแบบฟอร์มและการบันทึกเข้าโปรแกรมออนไลน์

     

    5 5

    12. ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 5

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น. - 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วาระการประชุม เริ่มประชุมเวลา 09.00 น. ที่ประพร้อม ปิดปรระชุมโดยนางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์  ประธานโครงการ
    วันนี้เราคณะทำงานประชุมร่วมกับปราญช์ชาวบ้าน เพื่อสือบค้นภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อดูแลพื้นฐานเช่น สมุนไพรที่ใช้ในการลดไข้ สมุนไพรที่ใช้ในการลดการปวดท้อง ท้องเสีย แก้วิงเวียนหรือสมุนไพรใช้กำจัดแมลง การทำลูกประคบและชุดอบสมุนไพรและจัดทำเป็นฐานเรียนรู้ด้านสมุนไพรเพื่อการให้แก่เกษตรกรสามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายได้ ปิดประชุมเวลา 15.00 น. ลงชื่อ นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ ประธานโครงการ  ลงชื่อ นายมีชัย จันจง เลขานุการ ผู้จดบันทึกการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมให้ความร่วมมือในการประชุมเป็นอย่างดีและพร้อมกับดำเนินกิจกรรมของโครงการเป็นอย่างดี

     

    50 50

    13. มีคู่มือแนวทางสมุนไพรพื้นบ้านและการนำไปใช้ดูแลสุขภาพตนเอง ครั้งที่ 2

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมเพื่อระดมความรู้ ความคิดเพิ่มเติม และรวบรวมองค์ความรู้ ที่ได้จากกระบวนการครั้งที่ 1 หาข้อมูลเพิ่มเติม ช่วยกันเติมข้อมูลให้สมบูรณ์
    2. จัดพิมพ์และจัดทำเป็นแนงทางคู่มือสมุนไพรชุมชนเป็นการสืบสานภูมิปัญญาพื้นบ้าน ประชุมครั้งที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและมีข้อมูลในเรื่องสมุนพื้นบ้านเป็นอย่างดี

     

    80 80

    14. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6

    วันที่ 5 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00 น. ที่ประชุมพร้อม เปิดประชุมโดย นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ ประธานโครงการ
    วาระการประชุม วันนี้จะเปิดเวทีแห่งนี้ให้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนกันกับปราชญ์ชาวบ้านโดยการถ่ายทอดองค์ความรู้และรณรงค์การทำชุดอบสมุนไพรในชุมชนและแลกเปลี่ยนเรียนการใช้ชุดประคบสมุนไพร โดยชี้แจงสรรพคุณของสมุนไพร ปิดการประชุม เวลา 16.00 น. ลงชื่อ นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ ประธานโครงการ  ลงชื่อ นายมีชัย จันจง เลขานุการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวได้มีความรู้เกี่ยวกับในเรื่องของการใช้ชุดประคบสมุนไพร

     

    50 50

    15. ฐานเรียนรู้ด้านสมุนไพรชุมชนในการนำมาใช้ดูกแลสุขภาพตนเอง (ลูกประคบ)

    วันที่ 25 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เชิญปราชญ์ชาวชุมชนสอนให้ความรู้เกี่ยวกับการทำชุดอบสมุนไพรในชุมชน
    • ฝึกปฏิบัติในการชุอบสมุนไพรในชุมชน
    • ทดลองใช้ชุอบสมุนไพรในชุมชนกลุ่มผู้ป่วยภูมิแพ้ ปวดกลามเนื้อ ปวดเมื่อย หอบหืด อ้วน
    • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การใช้ชุดประคบสมุนไพรชุมชนเพื่อบำบัดโรคจำนวน 1 คร้ง
    • จัดกิจกรรมแปรรูปสมุนไพรเพื่อทำเป็นชุดประคบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ความรู้เกี่ยวกับการทำชุดอบสมุนไพรและได้ฝึกปฏิบัติและทดลองในการทำชุดอบสมุนไพร

     

    80 80

    16. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 7

    วันที่ 5 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00 น. ที่ประชุมพร้อม เปิดประชุมโดย นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ ประธานโครงการ
    วาระการประชุม ที่ประชุมวันนี้จะเปิดเวทีแห่งนี้เป็นเวทีถ่าายทอดความรู้ให้ประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านสมุนไพร ทดลองนำสมุนไพรที่ผ่านการแปรรูปไปใช้และแลกเลี่ยนเรียนรู้หลักดำเนินการกิจกรรมเสร็จ ปิดการประชุม เวลา 16.00 น. ลงชื่อ  นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ ประธานโครงการ  ลงชื่อ นายมีชัย จันจง เลขานุการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการแปรรูปสมุนไพรนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างดี

     

    50 50

    17. ประชุมปราชญ์และชาวบ้านเพื่อรวบรวมองค์ความรู้พื้นบ้าน

    วันที่ 17 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกับประชาชนเพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใชุมชนเพื่อจัดทำเป็นคู่มือแนวทางสมุนไพรภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้จากผู้มีประสบการในชุมชนให้เกิดการเรียนรู้วิธีการที่ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีคู่มือของพืชสมุนไพรจากกลุ่มเป้าหมาย

     

    160 80

    18. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.ที่ประชุมพร้อม เปิดประชุมโดย นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ วาระที่ประชุม วันนี้คณะทำงานเราต้องร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนเพื่อเรียนรู้ในการพัฒนาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรในชุมชนพร้อมทั้งขยายฐานเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป ปิดประชุม เวลา 16.00 น. ลงชื่อ นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ ประธานโครงการ  ลงชื่อ นายมีชัย จันจง เลขานุการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะในเรื่องพืชและสมุนไพรเป็นอย่างดี

     

    50 50

    19. ตรววจสอบเอกสารโดย สจรส.มอ. และนำผลสรุปหลักฐานการดำเนินงาน

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเอกสารหลักฐานการเงินผลสรุปการดำเนินงานของโครงการหมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินงานของ สจรส.มอ เพิ่มความถูกต้องสมบูรณ์ของเอกสารการดำเนินงานโครงการ

     

    2 2

    20. จัดประชุมเพื่อหาข้อเสนอในการจัดสวนสมุนไพรชุมชน

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุม เวลา 10.00น.ที่ประชุมพร้อม ประธานเปิดประชุมแจ้งที่ประชุมทราบ วาระที่ประชุม 1.จัดประชุมเพื่อหาข้อเสนอในการจัดสวนสมุนไพรชุมชน โดยวิเคราะห์ถึงความต้องการใช้ดูแลรักษาได้บอกประโยชน์ต่อชุมชน 2, จัดกิจกรรมพัฒนาแปลงสมุนไพร 3. จัดทำฐานเรียนสมุนไพรในชุมชน 4.จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.จัดประชุมเพื่อหาข้อเสนอในการจัดสวนสมุนไพรชุมชน โดยวิเคราะห์ถึงความต้องการใช้ดูแลรักษาได้บอกประโยชน์ต่อชุมชน 2, จัดกิจกรรมพัฒนาแปลงสมุนไพร 3. จัดทำฐานเรียนสมุนไพรในชุมชน 4.จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน

     

    130 130

    21. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 9

    วันที่ 10 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.คณะทำงานพร้อม ประธานเปิดประชุมขอชื่นชมคณะทำงานที่ร่วมกิจกรรมมาแรมปีแต่ยังเข็มแข็ง วันนี้พวกเราต้องประสานการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ชุดประคบสมุนไพรเพื่อบำบัดโรคโดยมีการสาธิตของปราชญ์ชุมชนหลังจากนั้นเราก็เตรียมพร้อมกับการปฎิบัติฐานเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรดูแลสุขภาพตนเองต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      วันนี้พวกเราต้องประสานการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ชุดประคบสมุนไพรเพื่อบำบัดโรคโดยมีการสาธิตของปราชญ์ชุมชนหลังจากนั้นเราก็เตรียมพร้อมกับการปฎิบัติฐานเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรดูแลสุขภาพตนเองต่อ

     

    50 50

    22. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 9

    วันที่ 10 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา  09.00น.วันนี้เรามาจัดกลุ่มเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนเพื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาเกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน จัดพิมพ์ข้อมูลการถอดบทเรียนและเผยแพร่ให้ความรู้ สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมถอดบทเรียนเพื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาเกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน จัดพิมพ์ข้อมูลการถอดบทเรียนและเผยแพร่ให้ความรู้ สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

     

    50 50

    23. ฐานเรียนรู้ด้านสมุนไพรชุมชนในการนำมาใช้ดูกแลสุขภาพตนเอง (ชุดอบสมุนไพร)

    วันที่ 20 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.วันนี้ได้มีกิจกรรมเชิญปราชญ์ชุมชนให้ความรู้เกี่ยวกับการทำชุดอบสมุนไพรในชุมชน ฝึกปฎิบัติในการทำชุดอบสมุนไพร ทดลองใช้ชุดอบสมุนไพรการแปรรูปสมุนไพรเพื่อทำเป็นชุดลูกประคบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมเชิญปราชญ์ชุมชนให้ความรู้เกี่ยวกับการทำชุดอบสมุนไพรในชุมชน ฝึกปฎิบัติในการทำชุดอบสมุนไพร ทดลองใช้ชุดอบสมุนไพรการแปรรูปสมุนไพรเพื่อทำเป็นชุดลูกประคบ

     

    80 80

    24. ปรึกษาพี่เลี้ยงโครงการเกี่ยวกับการบันทึกเอกสารรายงานและปิดโครงการ

    วันที่ 28 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานปรึกษาพี่เลี้ยงเกี่ยวกับการทำรายงานโครงการและการปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปรึกษาพี่เลี้ยงเกี่ยวกับการทำรายงานและแนวทางปิดโครงการ

     

    8 8

    25. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 10

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00น.วันนี้เป็นวันประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 แต่ยังไม่สุดท้ายที่เรายังต้องประสานและดำเนินการโครงการต่อเพราะว่ามีประโยชน์กับชาวบ้านจริงๆ วันนี้เรามาจัดกลุ่มกิจกรรมเพื่อถอดบทเรียน จัดพิมพ์ข้อมูลการถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการก่อนและหลังและสรุปผลการพัฒนาตามโครงและเผยแพร่ข้อมูลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      วันนี้เรามาจัดกลุ่มกิจกรรมเพื่อถอดบทเรียน จัดพิมพ์ข้อมูลการถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการก่อนและหลังและสรุปผลการพัฒนาตามโครงและเผยแพร่ข้อมูลการดำเนินงาน

     

    50 0

    26. จัดกลุ่มเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาเกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00น.วันนี้จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนเพื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาเกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอดบทเรียนเพื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาเกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน

     

    50 50

    27. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 09.00น.วันนี้มีวาระประชุม จัดประชุมถ่ายทอดความรู้ให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับความรู้ด้านสมุนไพร สรรพคุณ ประโยชน์โทษการบำรงรักษา การแปรรูปโดยใช้ฐานเรียนรู้ในชุมชน วันนี้รับสมัครกลุ่มที่สนใจเข้าร่วมกิจกรมฝึกปฎิบัติแปรรูปสมุนไพรในชุมชน ทดลองนำสมุนไพรที่ผ่านการแปรรูปไปใช้ จัดกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังดำเนินกิจกรรมเสร็จเรียบร้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับความรู้ด้านสมุนไพร สรรพคุณ ประโยชน์โทษการบำรงรักษา การแปรรูปโดยใช้ฐานเรียนรู้ในชุมชน วันนี้รับสมัครกลุ่มที่สนใจเข้าร่วมกิจกรมฝึกปฎิบัติแปรรูปสมุนไพรในชุมชน ทดลองนำสมุนไพรที่ผ่านการแปรรูปไปใช้ จัดกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังดำเนินกิจกรรมเสร็จเรียบร้อย

     

    130 130

    28. ตรวจโครงการโดยพี่เลี้ยงนครศรีฯ

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมตรวจโครงการและเรียนรู้การบันทึกข้อมูล ทำความเข้าใจการบันทึกและการส่งรายงานให้ถูกต้องโดยพี่เลี้ยง สจรส.แนะนำเพื่อให้รวดเร็วขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยง สจรส. ให้ความร่วมมือดีมากในการจัดทำเอกสาร และการสรุปรายงาน

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้
    ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนเป้าหมายมีการปลูกสมุนไพร อย่างน้อย 5 ชนิด ร้อยละ 100 2. ปราชญ์ชุมชนถ่ายทอดความรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้านสู่กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 3. มีแปลงสมุนไพรชุมชนอย่างน้อย 3 แปลง 4. มีฐานเรียนรู้ด้านสมุนไพรชุมชนในการนำมาใช้ดูแลสุขภาพตนเอง 1 ฐาน เรียนรู้
    1. ครัวเรือนเป้าหมายมีการปลูกสมุนไพร 5 ชนิด จำนวน 120ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100
    2. ปราชญ์ชุมชนถ่ายทอดความรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้านสู่กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100
    3. ชุมชนร่วมกันปลูกและมีแปลงสมุนไพรชุมชน 3 แปลง
    4. มีฐานเรียนรู้และแปรรูปสมุนไพรชุดประคบ 1 ฐานเรียรู้
    2 เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : มีคู่มือแนวทางสมุนไพรพื้นบ้านและการนำไปใช้ดูแลสุขภาพตนเอง 1 ชุด

    1.มีคู่มือและแนวทางการนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพ  2 ชุด ได้แก่ องค์ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรในารดูแลสุขภาพ และสมุนไพรพื้นบ้านตำนานพื้นเมือง

    3 เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการ โดยทีม สสส.และสจรส.
    ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานโครงการเข้าร่วมการประชุมที่สสส./สจรส.ม.อ.จัดขึ้น 2. มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์จัดส่งสสส. 3. มีการถ่ายภาพทุกกิจกรรมตลอดระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ และติดตั้งป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ในสถานที่จัดกิจกรรม
    1. คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมตามที่ สสส กำหนดทุกครัั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
    2. มีการรายงานความก้าวหน้าและจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ครบทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
    3. มีการถ่ายภาพกิจกรรม ไม่ครบทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 90 และสถานที่ในชุมชนมีการติดป้ายห้ามสูบบุหรี่

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ (2) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ (3) เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการ โดยทีม สสส.และสจรส.

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ หมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน

    รหัสโครงการ 56-01209 รหัสสัญญา 56-00-1109 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    องค์ความรุู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน และมีการรวบรวมจัดทำเป็นรูปเล่ม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

    คู่มือสมุนไพรชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    มีการจัดทำลูกประคบ โดยใช้สมุนไพรพื้นบ้าน มีสรรพคุณแก้อัมพาต อัมพฤกษ์ และมีการนำไปใช้ในชุมชน

    ลูกประคบสูตรแก้อัมพาต

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    มีการกระบวนการทำงานโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามาร่วมทำงานโดยสมัครใจ

    บันทึกการเข้าประชุม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีการปลูกสมุนไพรไว้ที่ครัวเรือน เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    สวนสมุนไพรที่บ้าน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีการแนะนำในการนำสมุนไพรมาใช้ในการดุแลสุขภาพ ได้แก่ อาการปวดเมื่อย หรือการดื่มชาสมุนไพร

    ลูกประคบ และชาสมุนไพร

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ส่งเสริมให้นำสมุนไพร ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการดูแลสุขภาพเมื่อยาม ปวดเมื่อย หรือดื่มน้ำสมุนไพรล้างพิษ หรือปรับสมุดลร่างกาย

    ลูกประคบ สมุนไพรใบเตย คุ่มือสมุนไพร

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการส่งเสริมการปลูกสมุนไพร เพื่อลดการใช้เคมีในครัวเรือน  และนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพ การปลูกสมุนไพรเป็นการอนุรักษ์ดินและเพิ่มความชุ่มชื้น

    สวนสมุนไพรในครัวเรือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีการนำเยาวชนมาเรียนรู้ และจัดกลุ่มให้มีการเรียนการสอน พร้อมทั้งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

    บันทึกการเข้าร่วมประชุม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการผลิตลูกประคบ จำหน่ายให้กับกลุ่มสมุนไพร และมีการปลูกสมุนไพรเพื่อส่งจำหน่าย เช่น ไพล ทำให้ครัวเรือนมีรายได้เสริม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ลูกประคบ แทนการกินยา เมื่อมีอาการปวดเมื่อยตามข้อ ตามกล้ามเนื้อ

    ลูกประคบ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    กลุ่มสมุนไพร มีการกำหนดกติกา ต้องสมัครเป็นสมาชิกและเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม จึงจะได้มีโอกาสเรียนรู้การทำลูกประคบหรือสมุนไพร

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการนำวิทยากรและภาคีภายนอกมาสอนความรุ้เกี่ยวกับการผลิตแปรรูปสมุนไพร และส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน และมีการจำหน่ายสมุนไพรในเทศกาลต่างๆ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    1.ชุมชนร่วมมือกัน จัดจำหน่ายและจัดนิทรรศการแสดงผลงานของโครงการในเทศกาลสักการะพ่อท่านคล้าย 2.ทีมงานรู้สึกภูมิใจที่ได้เสียสละ และพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    1.ชุมชนให้ความเชื่อถือ ช่วยเหลือกัน ให้ความเคารพซึ่งกันและกัน

    2.ชุมชนเกิดความรัก ความสามัคคี มองเห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    หมอชาวบ้านสืบสานภูมิปัญญาสมุนไพรพื้นบ้าน จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 56-01209

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางดัชนีย์ มัชฌิมวงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด