แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ บ้านหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ ”

หมู่ที่ 6 บ้านหาดสูง ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายอัษฎาวุธ ศิริธร

ชื่อโครงการ บ้านหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ

ที่อยู่ หมู่ที่ 6 บ้านหาดสูง ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 57-01420 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1169

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2557 ถึง 31 กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ

"บ้านหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านหาดสูง ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 บ้านหาดสูง ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง รหัสโครงการ 57-01420 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2557 - 31 กรกฎาคม 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 172,780.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญเกิดความตระหนักในผลกระทบของโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน)
  2. เพื่อหนุนเสริมให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิต เบาหวาน) มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เพื่อการบริหารโครงการและการติดตามผลประเมิผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 15 มิถุนายน 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับฟังแนวทางการบริหารจัดการและบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้และสามารถบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์ได้

     

    2 2

    2. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา ครั้งที่ 2

    วันที่ 29 สิงหาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษาโครงการการหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ติดตามการทำงานโครงการฯ พร้อมทุังเสนอแนะปัญหาอุปสรรค

     

    15 15

    3. พื่อชี้แจงโครงการ -เพื่อจัดตั้งทีมแกนนำ โดยคัดเลือก จำนวน ๑๐ คน แกนนำที่ได้จะเป็นผู้ดำเนินการโครงการและเป็นแบบอย่างในการดำเนินงานด้วย

    วันที่ 9 กันยายน 2557 เวลา 13:00-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประชุมชี้แจงโครงการ ฯ - จัดตั้งทีมแกนนำ ดำเนินโครงการฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นการประชุมชี้แจ้งโครงการ  ให้กับประชาชนในพื้นที่รับทราบ  วัตถุประสงค์  และดำเนินการรับสมัครประชาชนเข้าร่วมโครงการฯ  พร้อมคัดเลือกทีมดำเนินงาน สิ่งที่เกิดขึ้นหลังดำเนินกิจกรรม - ประชาชน  คณะทำงานเข้าร่วมประชุมจำนวน 80 คน - ประชาชนสมัครเข้าร่วมโครงการ 60 คน - คัดเลือกคณะกรรมการดำเนินโครงการ 15 คน - ประชาชนทราบวัตถุประสงค์ของโครงการฯ

     

    80 80

    4. ตรวจสุขภาพ

    วันที่ 14 กันยายน 2557 เวลา 0ุ6:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ทำหนังสือนัดกลุ่มเป้าหมาย ตรวจสุขภาพ ให้งดอาหารหลังเที่ยงคืน 2. ตรวจสุขภาพ ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน  ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  รอบเอว 3. เลี้ยงอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4..ให้สุขศึกษาเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการฯ ตรวจสุขภาพ ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน  ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  รอบเอว กลุ่มเป้าหมาย

     

    60 60

    5. เวทีคืนข้อมูลให้ชุมชน

    วันที่ 15 กันยายน 2557 เวลา 08:30-12.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการวิเคราะห์ ข้อมูลสถานะสุขภาพ ก่อนร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทราบถึงสถานะสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ

     

    10 10

    6. คืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน

    วันที่ 16 กันยายน 2557 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำข้อมูลที่แปลผลแล้วคืนกลับสู่ชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนและกลุ่มเป้าหมายทราบสถานการณ์สุขภาพ

     

    50 60

    7. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 3

    วันที่ 19 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามการดำเนินงานของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการติดตามการดำเนินงานของโครงการพร้อมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

     

    15 15

    8. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 1

    วันที่ 22 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม ติดตามการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เดือนกย.57 ได้มีการดำเนินกิจกรรม 4 กิจกรรมคือ
    1.ประชุมชี้แจงโครงการ 2.ตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ 3.วิเคราะห์ข้อมูล 4.คืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน ปัญหาอุปสรรค  งบประมาณมาล่าช้า ปัญหาในการดำเนินงานไม่มี

     

    15 15

    9. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    วันที่ 7 ตุลาคม 2557 เวลา 08:30-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดอบรมให้ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  อาหาร การออกำลังกาย  อารมณ์และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ประเมินผลความรู้หลังการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น จากเดิมร้อยละ 67.54  เป็นร้อยละ 89.45

     

    60 60

    10. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 4

    วันที่ 17 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการติดตามการดำเนินงานโครงการพร้อมปัญหาและข้อเสนอแนะ

     

    15 15

    11. ทำสวนสมุนไพรและศูนย์เรียนรู้

    วันที่ 22 ตุลาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้สมุนไพรอาหารเป็นยาและพัฒนาสู่ศูนย์เรียนรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ 2.จัดทำศูนย์สมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดศูนย์เรียนรู้สมุนไพร 1 แห่ง เพื่อเป็นที่เรียนรู้ของประชาชนในชุมชน

     

    100 100

    12. ศึกษาดูงานต่างพื้นที่

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรมการที่จะไปศึกษาดูงาน 2.ติดต่อพื้นที่ดูงาน 3.เข้าไปศึกษาดูงาน 4.สรุปผลการศึกษาดูงาน 5.นำกิจกรรมทีดีมาปรับใช้ในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แลกเปลี่ยนรู้การจัดการโรคเรื้อรัง 

     

    12 12

    13. จัดทำป้ายรณรงค์ปลอดบุหรี่

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินจากจัดทำป้ายรณรงค์ปลอดบุหรี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รณรงค์การลด ละ เลิก การสูบบุหรี่

     

    5 5

    14. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาโครงการ ครั้งที่ 5

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามการดำนินงานโครงการพร้อเสนอแนะปัญหาอุปสรรค

     

    15 15

    15. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้เพื่อเตรียมข้อมูลคืนกลับให้ชุมชน

    วันที่ 1 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลข้อมูลสุขภาพของคนในชุมชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทราบสถานการณ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ในชุมชนพบผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน

     

    15 15

    16. หนุนเสริมติดตามการดำเนินงานของ สสส./สจรส

    วันที่ 1 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำงาน จาก สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามการทำโครงการ ได้รับคำแนะนำด้านการทำรายงานงวด 1 ที่ล่าช้า การตรวจใบสำคัญรับเงิน

     

    15 15

    17. ประชุมกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1

    วันที่ 6 ธันวาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต  ส่วนสูง  รอบเอว
    2. ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทำให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น

     

    60 60

    18. ประชุมกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 2

    วันที่ 6 มกราคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต  วัดส่วนสูง
    2. ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเสี่ยงมีความรู้  ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

     

    60 60

    19. ประชุมกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 3

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ตรวจสุขภาพให้กับกลุ่มเสี่ยง เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  วัดความดัฯโลหิตสูง 2.ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    60 60

    20. ประชุมกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 4

    วันที่ 5 มีนาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เช่น วัดความดันโลหิตสูง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง 2.ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวสุขภาพและได้รับความรู้ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น

     

    60 60

    21. ประชุมกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 5

    วันที่ 6 เมษายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพ เช่น  ความดันโลหิต  ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    60 60

    22. ลานสุขภาพ

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำลานนวดเท้า จักรยานคู่ใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนในชุมชนมีสถานที่ในการออกกำลังกาย และอุปกรณ์ในการออกกำลังกาย เช่น ลานนวดเท้า จักรยานคู่ใจ

     

    60 100

    23. ประชุมกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 6

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่มเสี่ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกทำให้สมาชิกมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้น

     

    60 60

    24. ส่งเสริมการปลูกผักในชุมชน

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษและจัดทำปุ๋ยหมัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน

     

    60 60

    25. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 6

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามการดำเนินโครงการ ปรับแผนงานให้สอดคล้องกับงบประมาณที่มาล้าช้า

     

    15 15

    26. ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากรมาเป็นแกนนำออกกำลังกาย แบบแอโรบิค,รำไม้พลอง
    -ออกกำลังกายในชุมชน สัปดาห์ละ 3 วัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น

     

    60 100

    27. รณรงค์การออกกำลังกายครั้งที่1

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2558 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมรณรงค์ เดิน วิ่ง ระยะทาง 3  กม.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สร้างกระแสให้ประชาชนมาออกกำลังกาย

     

    80 100

    28. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 7

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามการดำเนินโครงการที่ยังไม่ดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการติดตาม เร่งรัดการดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จเดือน กค.58

     

    15 15

    29. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 8

    วันที่ 6 มิถุนายน 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้สรุปผลการทำกิจกรรมที่ผ่านมา และวางแผนการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

     

    15 15

    30. รณรงค์ออกกำลังกาย ครั้งที่ 2

    วันที่ 14 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมรณรงค์ เดิน วิ่ง ปั่น ลดโรคฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนหันมาออกกำลังกายเพิ่มมาขึ้น จากเป้าหมายที่วางไว้ 80 คน เป็น 100 คน ตลอดเป็นการสร้างกระแสในการออกกำลังกาย

     

    60 100

    31. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 9

    วันที่ 21 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการดำเนินโครงการและเร่งการดำเนินโครงการให้ทันระยะเวลาที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการติดตามการดำเนินโครงการพร้อมเร่งรัดการดำเนินโครงการ

     

    15 15

    32. จัดมหกรรมสุขภาพ

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประกวดทำเมนูอาหารสุขภาพของกลุ่ม ๆ ละ ๑ อย่าง โดยทำเป็นซุ้มอาหาร

    • ประกวดการออกกำลังกายสาธิตของกลุ่ม
    • ประกวดบุคคลต้นแบบ
    • นำผักปลอดสารพิษของกลุ่มมาวางขาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนในชุมมีการแลกเปลี่ยนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  และมีการสาธิตการออกกำลังกาย  การทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

     

    100 100

    33. ตรวจสุขภาพครั้งที่ 2

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2558 เวลา 07:00-11.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดสมาชิกโครงการตรวจสุขภาพครั้งที่ 2 ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สถานะสุขภาพของสมาชิกดีขึ้น  ทั้งรอบเอว  ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน

     

    60 60

    34. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษา ครั้งที่ 10

    วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดประชุมติตามการทำดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามการดำเนินโครงการพร้อมเร่งรัดการดำเนินกิจกรรมและรายงานให้แล้วเสร็จ

     

    15 15

    35. สรุปถอดบทเรียน

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดสมาชิกกลุ่มเป้าหมายมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้นำกิจกรรมที่ประสพความสำเร็จ  และเป็นปัญหาอุปสรรคมาปรับใช้ในปีต่อๆไป

     

    80 80

    36. ประชุมคณะทำงานร่วมกับที่ปรึกษาเพื่อสรุปผลการทำงาน

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานเพื่อหาข้อสรุปแนวทางการขอรับการสนับสนุนจาก สสส ในเฟสที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้รับทราบ และสรุปผลการทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อนำข้อมูลไปสู่การเขียนรายงาน

     

    15 15

    37. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายรายงานและวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค

     

    15 15

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญเกิดความตระหนักในผลกระทบของโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน)
    ตัวชี้วัด : จำนวนคน และภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 เปอร์เซ็นต์ คือ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60 คน และประชาชนทั่วไป รวมแล้ว จำนวน 100 คน ซึ่งจำนวนผู้เข้าร่วมเท่ากับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ตามแผน

    2 เพื่อหนุนเสริมให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิต เบาหวาน) มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง(ความดันโลหิต เบาหวาน) มีการเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐

    ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเข้าร่วมกิจกรรมตรวจสุขภาพ และประชุมกลุ่มเสี่ยงเดือนละครั้ง จำนวน 6 ครั้ง แต่ละครั้งมีผู้ป่วยจำนวน 60 คน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์

    3 เพื่อการบริหารโครงการและการติดตามผลประเมิผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรม สสสและสจรส.

    ไม่ได้เข้าร่วมประชุมการทำรายงานกับ สจรส. แต่เข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อให้คำแนะนำการทำรายงาน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญเกิดความตระหนักในผลกระทบของโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน) (2) เพื่อหนุนเสริมให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิต เบาหวาน) มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อการบริหารโครงการและการติดตามผลประเมิผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ บ้านหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ

    รหัสโครงการ 57-01420 รหัสสัญญา 57-00-1169 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2557 - 31 กรกฎาคม 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การดำเนินโครงการทำให้เกิดการทำงานใหม่ในชุมชนซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างภาควิชาการคือมหาวิทยาลัยทักษิณ และ รพ.สต. กับภาคประชาชนในการสร้างพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพของคนในชุมชน โดยร่วมกันจัดตั้งและบริหารจัดการสวนสมุนไพรชุมชน ลานสุขภาพ และอื่นๆ ที่ส่งเสริมการออกกำลังกายและดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

    ภาพกิจกรรมความร่วมมือในการจัดกิจกรรมระหว่างนักวิชาการและประชาชนในพื้นที่

    จะต้องมีการขยายผลการใช้ประโยชน์จากพื้นที่สาธารณะสวนสมุนไพร โดยอาจพัฒนาสูตรยาสมุนไพรที่เหมาะสมกับโรคที่พบมากในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มเฝ้าระวังตนเอง ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงเรื่องความดัน เบาวาน และกลุ่มโรค NcD ในชุมชน จำนวน 100 คน มารวมกลุ่มกันทำกิจกรรมต่าง ๆและช่วยกันดูแล ตักเตือน ให้กำลังใจในการดูแลสุขภาพของสมาชิกในกลุ่ม

    กิจกรรมการตรวจโรคและกิจกรรมการเฝ้าระวังโรคต่าง ๆ ของกลุ่ม

    จะต้องเชื่อมโยงการทำงานของกลุ่มไปยังกลุ่มเยาวชนและกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อนำเอาประสบการณืของสมาชิกในกลุ่มไปถ่ายทอดให้เยาสชนและผู้สูงอายุให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพตนเองก่อนเป็นโรคเรื้อรัง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล ต้องแต่การควบคุมอาหารการกิน การออกกำลังกาย การปรับสภาพแวดล้อมในบ้านให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อให้สุขภาพของกลุ่มเสี่ยงดีขึ้น

    กิจกรรมการประกวดครัวเรือนต้นแบบดูแลสุขภาพ

    จะต้องมีการขยายผล โดยอาจใช้การประกวดครัวเรือนต้นแบบเป็นฐาน มีการยกย่องชื่มชม และเผยแพร่ในวงกว้างเพื่อให้ชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมให้มากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิค และการออกกำลังตามวัยให้กับคนในชุมชน ซึ่งมีการเต้นกันทุกเย็น มีสมาชิกเพิ่มขึ้นจากไมม่กี่สิบคน เป็นเกือบ 100 คนในปัจจุบัน

    กิจกรรมการออกกำลังกายของคนในชุมชน

    ควรพัฒนารูปแบบการออกกำลังกายให้สนุน น่าสนใจ และสอดคล้องกับวิถีชีวิต เช่นการออกกำลังกายโดยการพรวนดินแปลงสมุนไพรเป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการสร้างแปลงสมุนไพรชุมชน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งรวมคนในชุมชน ใช้องค์ความรู้ด้านสมุนไพรซึ่งได้รับการส่งเสริมจากภาควิชาแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ มาปรับใช้เป็นสูตรยาชุมชน

    แปลงสุมนไพรชุมชน

    จะต้องขยายผลจากแปลงสุมนไพรไปสู่สวนสุมนไพรในครัวเรือนเพื่อให้ทุกครัวเรือนได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพดดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านยาสมุนไพร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    เกิดพื้นที่สาธารณะใน 2 ส่วนคือ ส่วนแรกคือแปลงสมุนไพรชุมชนที่เป็นแหล่งเรียนรู้และดูแลตนเองโดยใช้พืชสมุนไร และสาวนที่ 2 คือลานสุขภาพ ซึ่งเป็นที่รวมของคนในชุมชนที่ใช้ในการออกกำลังกาย การพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจากพื้นที่สาธารณะทั้ง 2 จุดในชุมชนทำให้คนในชุมชนมีสุขภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด

    ภาพกิจกรรมในแปลงสมุนไพรและลานสุขภาพชุมชน

    ควรมีการใช้พื้นที่สาธารณะให้เกิดประโยชน์มาขึ้น เช่น อาจจัดเวทีพูดคัย เสวนาในปัญหาต่าง ๆของชุมชนที่นอกเหนือจากปัญหาสุขภาพ เพื่อให้ชุมชนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแก้ปัญหาต่าง ๆของชุมชนร่วมกันโดยใช้พื้นที่สาธารระที่เอื้อต่อสุขภาพเป็นแหล่งรวมคน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดกติการของกลุ่ม้ฝ้าระวังตนเองด้านสุขภาพ ที่จะปฎิบัติตนให้สุขภาพดีขึ้น เช่นไม่กินหวาม มัน เค็ม และมีกติกาของชุมชนในการดูแลแปลงสมุนไพรชุมชน เช่นทุกสิ้นเดือนจะต้องมีการปลูกสมุนไพรเพิ่มอย่างน้อยคนละ 1 ต้น เป็นต้น

    กติกากลุ่มเฝ้าระวังตนเอง และข้อตกลงชุมชนในการดูแลสวนสมุนไพร

    จะต้องพัฒนาให้เกิดเวทีสาธารณะเพื่อสร้างกติกาในการดูแลพื้นที่สาธารณะในวงกว้างมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการเชื่อมโยงการทำงานในชุมชนโดยใช้ รพ.สต. เป็นฐานสร้างกลุ่มผู้เฝ้าระวังตนเองเป็น และเชื่อมโยงการทำงานกับหน่วยงานภายนอกคือ มหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาเขตพัทลุง เพื่อสร้างกิจกรรมต่าง ๆในพื้นที่

    กิจกรรมความร่วมมือระหว่างคนในชุมชนและองค์กรต่าง ๆ

    ควรมีการเชื่อมโยงการทำงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นฐานในการสนับสนุนงบประมาณการจัดกิจกรรมของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    บ้านหาดสูงน่าอยู่มุ่งสู่สุขภาวะ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 57-01420

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอัษฎาวุธ ศิริธร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด