แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ สร้างสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่ สานสามัคคี หมู่ 2 ”

บ้านนาเปรีย หมู่ที่ 2 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวรพงศ์ มานะกล้า

ชื่อโครงการ สร้างสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่ สานสามัคคี หมู่ 2

ที่อยู่ บ้านนาเปรีย หมู่ที่ 2 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 57-01450 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1455

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2557 ถึง 15 กันยายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่ สานสามัคคี หมู่ 2 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านนาเปรีย หมู่ที่ 2 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่ สานสามัคคี หมู่ 2



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่ สานสามัคคี หมู่ 2 " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านนาเปรีย หมู่ที่ 2 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 57-01450 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2557 - 15 กันยายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 168,350.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกลไกให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจจากทุกภาคส่วน
  2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี ลดภาวะโรคอ้วน
  3. เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สสส. แนะนำเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยง แนะนำลงโปรแกรมรายละเอียดโครงการ

    วันที่ 15 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการทำความเข้าใจเนื้อหาและวิธีการคีย์ข้อมูลลงโปรแกรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้คีย์ข้อมูล รายละเอียด แผนภาพ ปฏิทินโครงการ เสร็จเรียบร้อย

     

    2 1

    2. ประชุมคณะกรรมการ และพี่เลี้ยงลงพื้นทีติดตามโครงการ

    วันที่ 15 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงติดตามการดำเนินโครงการ พร้อมนัดหมายการลงติดตามครั้งต่อไปว่า บ้านนาเปรีย  วันที่ 13 กันยายน 2557 บ้านวังตง    วันที่ 14  กันยายน 2557 บ้านท่าข้ามควาย วันที่ 9  กันยายน 2557 บ้านทุ่งใหญ่ วันที่ 28  กันยายน 2557 บ้านวังเจริญราษฎร์ วันที่ 27  กันยายน 2557 2.ได้สอนกระบวนการการรายงานกิจกรรมลงเว็บไซด์ ฅนใต้สร้าสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.แต่ละชุมชนได้รายงานการดำเนินกิจกรรมและปัญหาให้พี่เลี้ยงทราบ
    2.พี่เลี้ยงได้นัดหมายการลงพื้นที่กับชุมชนแต่ละชุมชน
    3.ชุมชนแต่ละชุมชนทราบว่าจะต้องรายงานทางเว็บไซด์ให้ใส่รายละเอียดให้เข้าใจและทราบผลสรุปของกิจกรรมให้ได้มากที่สุด

     

    6 6

    3. เปิดโครงการทำความเข้าเใจเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรม พร้อมสรรหาตัวแทนเพื่อจัดตั้งสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย จำนวน 25 คน

    วันที่ 11 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เปิดโครงารทำความเข้าใจเี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรม พร้อมสรรหาตัวแทนเพื่อจัดตั้งสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย จำนวน 30 คน เรื่อง เปิดโครงการเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรม พร้อมสรรหาตัวแทนเพื่อจัดตั้งสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย จำนวน 30 คน นายวรพงค์  มานะกล้า ประธานผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดประชุมช่วงเช้า  เวลา 10.00 น. โดยได้กล่าวทักทายและขอบคุณคณะผู้ที่เข้าร่วมประชุม  ซึ่งตั้งเป้าหมายไว้จำนวน 100 คน -  ได้กล่าวชี้แจงที่มาของโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ(ส.ส.ส.)ว่าได้อนุมัติเงินทุนสนับสนุนโครงการสร้างสุขภาวะชุมชนน่าอยู่สานสามัคคี หมู่ที่ 2 จำนวนเงิน 168,350 บาท โดยมีวัตถุประสงค์สนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนในหมู่บ้าน ตามแนวทาง(ส.ส.ส.) ซึ่งได้ตกลงเงื่อนไขกันทั้ง 2 ฝ่าย  ซึ่งในข้อตกลงทั้งสองฝ่ายนั้นให้เริ่มดำเนินโครงการตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2558 แต่ด้วยความล่าช้าของเงินในโครงการ ซึ่งเข้ามาในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2557  จึงทำให้เปิดตัวโครงการล่าช้าไปกว่ากำหนด  ซึ่งเงินโครงการทั้งหมดนี้ได้แบ่งเป็น 2 งวด  ซึ่งงวดแรกทาง(ส.ส.ส.)ได้ส่งมาให้จำนวน 68,000 บาท ซึ่งมีผู้ร่วมเปิดบัญชี 3 ท่าน คือ 1. นายวรพงค์  มานะกล้า
    2. นายสอาด  เอียดรามา 3. นางสุกัลยา  สอเหลบ และถ้าจะเบิกบานจากธนาคารต้องใช้ 2 ใน 3 จึงจะเบิกเงินได้ - นายวรพงค์  มานะกล้า ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวถึงผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการซึ่งประกอบไปด้วย 1. ผู้ใหญ่บ้าน คือ นายลือชัย  จิโส๊ะ ซึ่งเป็นประธานชุมชนในหมู่บ้าน 2. สมาชิก อบต.  คือนายวรพงค์  มานะกล้า 3. นางสุกัลยา  สอเหลบ ข้าราชการ 4. นายสนธยา  ใจสมุทร  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
    5. นายสอาด  เอียดรามา ผู้นำศาสนา 6.นายบริภัณฑ์  ใจสมุทร ครูภูมิปัญญา 7. นางสาวพรพิสุทธิ์  ใจสมุทร ตัวแทนข้าราชการ - นายวรพงค์  มานะกล้า ได้กล่าวถึงเหตุผลที่ต้องทำโครงการ สร้างสุขภาวะชุมชนน่าอยู่สานสามัคคี หมู่ที่ 2 ขึ้นมาเพราะเล็งเห็นถึงความขัดแย้งในชุมชน  อยากให้ชาวบ้านหันมาร่วมมือกันโดยตรงให้โครงการนี้เป็นตัวเชื่อมชุมชนในหมู่บ้าน  เพื่อที่จะให้ชาวบ้านเป็นกลุ่มก้อนเดียวกันไม่แบ่งแยก - นางสุกัลยา  สอเหลบ พูดถึงเรื่อง ภาวะโลกอ้วนของคนในหมู่บ้านว่าปัจจุบันว่าปัจจุบันมีเยอะมาก  ซึ่งมีตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงวัยที่มีภาวะโรคอ้วน  ซึ่งจะต้องแก้ปัญหานี้ให้ได้  โดยให้ชาวบ้านได้เข้ามาร่วมโครงการนี้เพื่อจะได้ผอมลงบ้าน โดยการเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่างเช่น กินอาหารที่มีไขมันน้อยลง  กินผักให้เยอะๆ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ - นางสุกัลยา  สอเหลบ ได้นำเสนอการเลือกตั้งคณะทำงานของโครงการจำนวน 30 คน โดยมีคณะผู้นำในหมู่บ้านเป็นตัวแทนหลักโดยเริ่มจากคณะผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นายลือชัย  จิโส๊ะ ผู้ใหญ่บ้าน 2. นายวรพงค์  มานะกล้า สมาชิก อบต.
    3. นางสุกัลยา  สอเหลบ ข้าราชการ 4. นายสนธยา  ใจสมุทร  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 5. นายสอาด  เอียดรามา ผู้นำศาสนา 6. นางสาวพรพิสุทธิ์  ใจสมุทร ตัวแทนข้าราชการ 7. นายบริภัณฑ์  ใจสมุทร ครูภูมิปัญญา 8. นายสติ  ละเขียด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 9. นายสุรศักดิ์  โสธามาตร ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 10.นางนวลปรางค์ ใจสมุทร  หัวหน้า อสม. 11.นายฉลาด  โมรายันต์ ปราชญ์ชาวบ้าน 12.นางอารินยา  มุสิกพงค์ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลชุมชน 13.นางสุนีย์  ทองยิ้ม ผู้รับผิดชอบกองทุนหมู่บ้าน 14.นางนัยนา  มานะกล้า ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 15.นางละม้าย  มานะกล้า 16.นางสภิญยา  มานะกล้า 17.นางบุหงา  ปรังเจ๊ะ 18.นางชนา  เอียดรามา 19.นางคอดียะ  หลังเถาะ 20.นางล่าโสม ดาวู้ด 21.นายกระบวน  พวงประยงค์ 22.นางไพจิตร  ใจสมุทร 23.นางผจงจิตร  หวันสมัน 24.นายประสิทธิ์  มากทอง 25.นายสมศักดิ์  โสลิกี 26.นางละไม  เวชสิทธิ์ 27.นางเกษรา ปิริยะ
    28.นางชนิดา  อินทร์ไสว 29.นางนารีนาถ  ระเหมาะ 30.นางละไม ขุนแสง นายวรพงค์  มานะกล้า ขอบคุณคณะผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการทั้ง 30 ท่าน โดยจะมีการประชุมร่วมกันเดือนละครั้งอย่างน้อย นายวรพงค์  มานะกล้า ได้ถามแสดงความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุม นายลือชัย  จิโส๊ะ ผู้ใหญ่บ้านกล่าวสนับสนุนโครงการว่าเป็นสิ่งที่ดี ควรได้รับการสนับสนุนจากชุมชนในหมู่บ้าน โดยขอให้คณะทำงานทุกคนจงร่วมมือร่วมใจกันผลักดัน โครงการให้ลุล่วงไปด้วยดี  เพื่อความสามัคคีในหมู่บ้านและเพื่อประชาชนได้ลดภาวะโรคอ้วนได้บ้าง นางนวลปรางค์ ใจสมุทร กล่าวให้การตอบรับและพร้อมสนับสนุนโครงการอย่างเต็มที่ นายวรพงค์  มานะกล้า ได้กล่าวถึงโครงการอื่นๆที่ดีมากกว่าโครงการข้างต้น เช่น โครงการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ เพื่อรณรงค์ให้ชาวบ้านปลูกผักปลอดสารพิษกินเองในหมู่บ้าน โครงการละศีลอดร่วมกันในเดือนรอมฎอน เพื่อความสามัคคีอันดีในหมู่บ้านสืบไป และได้กล่าวขอบคุณ ทุกท่านที่มาร่วมประชุมเปิดโครงการ และปิดประชุม เวลา 15.00  น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ชี้แจงรายละเอียดโครงการให้ชาวบ้านรับทราบ พร้อมทั้งชาวบ้านคัดเลือกคณะกรรมการสภา จำนวน 30 คน ดังนี้ 1. นายลือชัย  จิโส๊ะ ผู้ใหญ่บ้าน 2. นายวรพงค์  มานะกล้า สมาชิก อบต.
    3. นางสุกัลยา  สอเหลบ ข้าราชการ 4. นายสนธยา  ใจสมุทร  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 5. นายสอาด  เอียดรามา ผู้นำศาสนา 6. นางสาวพรพิสุทธิ์  ใจสมุทร ตัวแทนข้าราชการ 7. นายบริภัณฑ์  ใจสมุทร ครูภูมิปัญญา 8. นายสติ  ละเขียด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 9. นายสุรศักดิ์  โสธามาตร ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 10.นางนวลปรางค์ ใจสมุทร  หัวหน้า อสม. 11.นายฉลาด  โมรายันต์ ปราชญ์ชาวบ้าน 12.นางอารินยา  มุสิกพงค์ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลชุมชน 13.นางสุนีย์  ทองยิ้ม ผู้รับผิดชอบกองทุนหมู่บ้าน 14.นางนัยนา  มานะกล้า ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 15.นางละม้าย  มานะกล้า 16.นางสภิญยา  มานะกล้า 17.นางบุหงา  ปรังเจ๊ะ 18.นางชนา  เอียดรามา 19.นางคอดียะ  หลังเถาะ 20.นางล่าโสม ดาวู้ด 21.นายกระบวน  พวงประยงค์ 22.นางไพจิตร  ใจสมุทร 23.นางผจงจิตร  หวันสมัน 24.นายประสิทธิ์  มากทอง 25.นายสมศักดิ์  โสลิกี 26.นางละไม  เวชสิทธิ์ 27.นางเกษรา ปิริยะ
    28.นางชนิดา  อินทร์ไสว 29.นางนารีนาถ  ระเหมาะ 30.นางละไม ขุนแสง

     

    100 105

    4. ทำป้ายเขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 18 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ ติดบริเวณที่จัดกิจกรรม และบริเวณต่างๆหรือสถานที่สำคัญในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป้ายเขตปลอดบุหรี่ จะติดบริเวณที่จัดกิจกรรม และบริเวณต่างๆหรือสถานที่สำคัญในชุมชน

     

    2 2

    5. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 1

    วันที่ 20 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรียที่งานมีประสิทธิภาพ - ครั้งที่ 1 นายวรพงค์  มานะกล้า ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวเปิดประชุมชี้แจงที่มีการประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนทุกเดือนๆละ 1 ครั้ง  เป้าหมายเพื่อให้คณะทำงานรวมจำนวน 30 คน เพื่อที่จะช่วยขับเคลื่อนชุมชนในหมู่บ้านที่มีปัญหาสภาวะโรคอ้วนได้มาร่วมกิจกรรมในการประชุมเพื่อช่วยขับเคลื่อนให้หาคนเข้ามาร่วมประชุมเพื่อลดปัญหาภาวะโรคอ้วนอย่างน้อย ท่านละ 3 คนที่มีปัญหาโรคอ้วน รวมทั้งตัวเองเป็น 4 คน ถ้า 30 คน - ลำดับแรกของการเลือกตั้งกรรมการให้เอาชุมชนที่ร่วมเสนอในโครงการเป็นตัวแทนไว้ก่อนจำนวน 7 คน และเพิ่มเติมอีก 23 คน

     

    30 30

    6. พี่เลี้ยงลงติดตามโครงการ

    วันที่ 21 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นายสุทธิชาติ เมืองปาน พี่เลี้ยงโครงการได้ประชุมชี้แจงการคีย์ข้อมูลที่ถูกต้อง และดูงบการเงินให้กับพื้นที่แต่ละพื้นที่ พร้อมทั้งติดตามความคืบหน้าการดำเนินโครงการ ตรวจสอบความถูกต้องในการเก็บเอกสารการเงิน ตรวจสอบ  แก้ไขการเขียนรายงานโครงการให้สมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยง สสส.  นายสุทธิชาติ  เมืองปาน  ตรวจสอบการรายงานบนเว็บไซต์  ดูเอกสารทางการเงิน  ตรวจสอบปฏิทินการดำเนินงาน พูดคุยแผนงานตามปฎิทินการดำเนินงานในงวดที่ 2

     

    2 2

    7. สำรวจพฤติกรรมของคนในชุมชนเรื่อง การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย กิจกรรมในชีวิตประจำวัน ความรู้ความเข้าใจเรื่องภาวะอ้วน โดยกลุ่มเยาวชนร่วมกับ รพ.สต . ,อสม. ในหมู่บ้าน จำนวน 30 คน

    วันที่ 13 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจพฤติกรรมของคนในชุมชนเรื่อง การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย กิจกรรมในชีวิตประจำวัน ความรู้ความเข้าใจเรื่องภาวะอ้วน โดยกลุ่มเยาวชนร่วมกับ รพ.สต . ,อสม. ในหมู่บ้าน จำนวน 30 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -คนในชุมชนเข้าใจและตระหนักถึงภาวะโรคอ้วน นายวรพงค์  มานะกล้า เปิดการประชุม เวลา 10.00 น. โดยมีคณะเข้าร่วมประชุมครบองค์ประชุม ซึ่งต้องการประชากรเข้าร่วม 30 คน

    • นายวรพงค์  มานะกล้า เข้าประเด็นการประชุมโดยวิเคราะห์ปัญหาโรคอ้วนในปัจจุบันว่าต้องแก้ปัญหาโรคอ้วนในชุมชน โดยความร่วมมือของชุมชนในหมู่บ้านว่าต้องร่วมกันแก้ปัญหาให้ครบวงจร  โดยชิ้นแรกเรื่อง อาหารการกินต้องตระหนักตลอดว่า ควรจะงดหลีกเลี่ยงอาหารจำพวกที่มีไขมันสูง  อาหารจำพวกเนื้ออาหารที่ย่อยยากโดยเน้นให้ชุมชนในหมู่บ้านหันมากินผัก กินปลาให้มากขึ้น และหันมาเน้นในเรื่องการออกกำลังกายให้มากยิ่งขึ้น

    • นางนวลปรางค์ ใจสมุทร  หัวหน้า อสม. ได้นำเสนอกิจกรรมการออกกำลังกาย โดยร่วมกับกลุ่มแม่บ้าน เยาวชน และทุกท่านในหมู่บ้านที่ยากออกกำลังกายให้มาทำกิจกรรมร่วมกันทุกเย็นของทุกวัน  โดยได้รับความเห็นชอบของคนในชุมชนว่าจะร่วมกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่องเพื่อลดปัญหาโรคอ้วนลงไปได้บ้าง

    • สำรวจพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายของชุมชน ทราบว่าชุมชนในหมู่บ้านบางส่วนเริ่มลดพฤติกรรมการกินแบบเก่าที่ทำให้เกิดภาวะอ้วนโดยเน้นอาหารเพื่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น และบางท่านก็ได้หันมาเริ่มออกกำลังกายกันบ้างแล้ว

    • นายลือชัย  จิโส๊ะ ผู้ใหญ่บ้าน ได้เสนอความคิดเห็นโดยการให้กำลังใจกับประชาชนที่เข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับภาวะโรคอ้วน โดยให้สู้กับโรคอ้วนให้ได้ไม่ว่าจะอยากสักแค่ไหน

    • ข้อมูลจากการสำรวจ ได้แก่ พฤติกรรมการกิน การวัดรอบเอว น้ำหนักตัว และจะนำข้อมูลไปคืนในเวทีต่อไป

     

    30 36

    8. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือนเดือนที่ 2

    วันที่ 23 มกราคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ปรับแผนกิจกรรมร่วมกัน กิจกรรมที่วางไว้ในปฏิทินโครงการว่ามีกิจกรรมอะไรช่วงไหน และแบ่งหน้าที่เตรียมงานตามแผนกิจกรรม

     

    30 30

    9. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 3

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป - ครั้งที่ 3 นายวรพงค์  มานะกล้า ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวเปิดประชุมชี้แจงที่มีการประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนทุกเดือนนี้ว่า เป้าหมายเพื่อให้คณะทำงานรวมจำนวน 30 คนได้เข้าใจตรงกันว่าในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 เราจะจัดกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักในประเด็นต่างๆ

     

    30 30

    10. จัดเวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักในประเด็น อันตรายจากโรคอ้วน

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09.00 น. เปิดประชุม เวลา 09.00 น.  โดยนายวรพงษ์  มานะกล้า เป็นประธาน ประธาน ชีแจงในที่ประชุมว่าวันนี้ เรามาทำความเข้าใจในประเด็น อันตรายจากโรคอ้วน พฤติกรรมของคนในชุมชนเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย  กิจกรรมในชีวิตประจำวัน ความรู้ความเข้าใจเรื่องภาวะอ้วน
    และมีนางหทัยกาญจน์ สันมาหมีน หัวหน้า รพ.สต.นาทอน เป็นวิทยากรในครั้งนี้และมาให้ความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วน

    โรคอ้วน คือ ภาวะที่ร่างกายมีการสะสมของไขมันมากกว่าปกติ การที่มีการสะสมของไขมันมากขึ้นนี้อาจเนื่องมาจากร่างกายได้รับพลังงานเกินกว่าที่ร่างกายต้องการจึงมีการสะสมพลังงานที่เหลือเอาไว้ในรูปของไขมันตามอวัยวะต่างๆ และนำมาซึ่งสาเหตุของโรคเรื้อรังต่างๆซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อ ชนิดของโรคอ้วน โรคอ้วนที่ผลร้ายต่อสุขภาพมีอยู่ 2 ประเภท คือ 1. อ้วนลงพุง เป็นลักษณะของคนอ้วนที่มีการสะสมของไขมันที่บริเวณช่องท้องและอวัยวะภายใน เช่น ตับ ไต ลำไส้ กระเพาะอาหารและอื่นๆ ไขมันที่อยู่ในอวัยวะภายในเหล่านี้ เป็นตัวการที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไขมันในเลือดสูง โดยรอบพุงที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 ซม. จะเพิ่มโอกาสเกิดโรคเบาหวาน 3-5 เท่า 2. อ้วนทั้งตัว  ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีไขมันทั้งร่างกายมากกว่าปกติโดยไขมันที่เพิ่มขึ้น มิได้จำกัดอยู่ที่ตำแหน่งใด       ตำแหน่งหนึ่งโดยเฉพาะ บางคนนอกจากเป็นโรคอ้วนทั้งตัวแล้วยังเป็นโรคอ้วนลงพุงร่วมด้วย จะมีโรค       แทรกซ้อนทุกอย่าง และโรคที่เกิดจากน้ำหนักตัวมาก ได้แก่ โรคไขข้อ ปวดข้อ ข้อเสื่อม ปวดหลัง ระบบ     หายใจทำงานติดขัด
    รู้ได้อย่างไร...ว่าเป็นโรคอ้วน
    โรคอ้วนทั้งตัวบอกได้จากการวัดปริมาณไขมันในร่างกายว่ามีมากน้อยเพียงใด ส่วนการวัดปริมาณไขมันในช่องท้องและไขมันใต้ผิวหนังบริเวณหน้าท้องจะชี้บอกว่าเป็นโรคอ้วนลงพุงหรือไม่ แต่การวัดปริมาณไขมันในร่างกายต้องใช้เครื่องมือพิเศษและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ในทางปฏิบัติจึงใช้ค่าดัชนีมวลกายเพื่อการวินิจฉัยโรคอ้วนทั้งตัว และวัดเส้นรอบเอวเพื่อการวินิจโรคอ้วนลงพุง

    ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index หรือ BMI) คือ ค่าความหนาของร่างกาย ใช้เป็นมาตรฐานในการประเมินภาวะอ้วนผอมในผู้ใหญ่ตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป ซึ่งคำณวนได้จาก การใช้น้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัมและหารด้วยส่วนสูงที่วัดเป็นเมตรยกกำลังสอง ซึ่งใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ดังสูตรต่อไปนี้
    ดัชนีมวลกาย (BMI)  = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม)     ส่วนสูง  (เมตร)2 เช่น น้ำหนักตัว 74 กิโลกรัม สูง 160 เซนติเมตร มีดัชนีมวลกายเท่าไหร่ ?
        ดัชนีมวลกาย (BMI)    = 74 กก. =    28.9  กก./ม.2 1.60 ม. x 1.60 ม.
    เส้นรอบเอวของคนอ้วนที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพไม่ดี ชาย  ตั้งแต่  90 เซนติเมตร ขึ้นไป หญิง  ตั้งแต่  80 เซนติเมตร ขึ้นไป

    ความอ้วนมีสาเหตุมาจาก ได้พลังงานจากอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย คือ การกินเข้าไปมากแต่ใช้น้อย อาหารที่ให้พลังงานคือ อาหารพวกแป้งและน้ำตาล เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ไขมัน กะทิ และเหล้าเบียร์ ฉะนั้น หากใครกินอาหารประเภทของหวาน ของมัน หรอดื่มเหล้าเบียร์มากก็อ้วนได้ทั้งนั้น อ้วนเพราะออกกำลังกายน้อยไป เช่นคนที่ใช้เวลานั่งโต๊ะทำงาน เป็นส่วนใหญ่ กรรมพันธุ์ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนอ้วน แต่พบได้น้อย คนอ้วนมักจะชอบโทษว่ากรรมพันธุ์เป็นสาเหตุที่ทำให้ตนอ้วน ซึ่งความจริงแล้วโรคอ้วนมักมาจากปัญหาของพฤติกรรมการชอบกินมากกว่า ความอ้วนเกิดจากโรคบางชนิด เช่น ความผิดปกติของฮอร์โมน ความผิดปกติของสมอง แต่ความอ้วนจากสาเหตุนี้พบน้อยมาก

    ปิดการประชุม เวลา 15.00 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชาวบ้านเข้าใจเรื่องภาวะโรคอ้วน  และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชนเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย  กิจกรรมในชีวิตประจำวัน
    • จากการสำรวจและเก็บข้อมูล จากประชาชน จำนวน 120 คน ปรากฎว่า มีประชาชนที่กำลังเสี่ยงกับภาวะโรคอ้วน หรือกำลังอ้วนถึง 57 คน  เท่ากับ 47.5 %  เพราะฉนั้นถึงเวลาแล้วที่ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการกิน เพราะเมื่อเป็นโรคอ้วนก้อจะมีผลตามมา

    • และ ได้รับความรู้จาก นางสาววนิดา  ยาพระจันทร์ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.นาทอน ให้ความรู้เรื่อง การแก้ปัญหาโรคอ้วน • ไม่ออกกำลังกาย: เด็ก ๆ ไม่ได้ออกไปวิ่งเล่นเหมือนเมื่อก่อน เพราะผู้ปกครองมักส่งลูกไปตามโรงเรียนเนอส์เซอรี่ หรือที่รับดูแลเด็ก แทนที่เด็กจะได้วิ่งเล่นอยู่ที่บ้าน • อาหารขยะ: ปัจจุบัน โลกของเราอุดมไปด้วยอาหารสำเร็จรูป และอาหารขยะ แม้แต่อาหารของเด็กก็มีสารเคมี ไขมัน น้ำตาล สารกันบูดเยอะจนเป็นอันตรายต่อร่างกาย ร่างกายของเราไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อย่อยสารเหล่านี้ เราจึงมักเก็บมันไว้ในรูปของไขมัน • กินเยอะเกินไป: พ่อแม่ไม่ควบคุมปริมาณอาหารที่ลูกกินให้พอดี จากสาเหตุปัญหาดังกล่าวได้สร้างความตระหนักและเข้าใจให้กับผู้เข้าร่วม ซึ่งข้อมูลจะนำไปปรับใช้ประโยชน์ต่อไป

     

    80 120

    11. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 4

    วันที่ 21 มีนาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนือง ครั้งที่ 4

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เตรียมงาน/กิจกรรม ในวันที่ 26 มีนาคม 2558 นายลือชัยจิโส๊ะกล่าวเปิดการประชุมประจำเดือน และนายวรพงค์มานะกล้าวกล่าวถึงการสรุปผลวิเคราะห์ผลปัญหาโรคอ้วนในชุมชนของเรา และได้เชิญ นางสาวหทัยกาญจน์ สันมาหมีน มาสรุปผลการสำรวจพฤติกรรมของคนในชุมชน เรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายกิจกรรมในชีวิตประจำวันว่าสถานะการณ์จะเป็นอย่างไร

     

    25 30

    12. สรุปผลการวิเคราะห์การสำรวจพฤติกรรมการรับปรปะทานอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ชีวิตประจำวันของคนในชุมชนนาเปรีย

    วันที่ 26 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปวิเคราะห์การสำรวจพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ชีวิตประจำวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กล่าวถึงการสรุปผลวิเคราะห์ผลปัญหาโรคอ้วนในชุมชนของเรา และได้เชิญ นางสาวหทัยกาญจน์สันมาหมีน มาสรุปผลการสำรวจพฤติกรรมของคนในชุมชน เรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายกิจกรรมในชีวิตประจำวันว่าสถานะการณ์จะเป็นอย่างไร
    • คนในชุมชนออกกำลังกายน้อย ทานเนื้อเยอะ ไม่ลดหวานมันเค็ม แนวทางแก้ไข ผู้นำและแกนนำควรหันมารณณงค์การกินผัก

     

    30 30

    13. ส่งเสริม / สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องความ กิจกรรมการออกกำลังกายตามความสนใจของชุมชน โดยใ้ห้กลุ่มแม่บ้าน เด็กและเยาวชนร่วมกันพัฒนาสถานที่ออกกำลังกายหลังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลนาทอนเพื่อใช้เป็นสถานทีออกกำลังกาย

    วันที่ 5 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องความเกี่ยวกับการออกกำลังกายตามความสนใจของชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางหทัยกาญจน์ สันมาหมีน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ รพสต.นาทอน มาให้ความรูัชาวบ้าน จำนวน 50 คน เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

     

    50 50

    14. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 5

    วันที่ 18 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

     

    25 30

    15. ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนปลูกผักไว้รับประทานเอง ได้แก่ ผักที่เป็น เครื่องปรุงในครัวเรือนอย่างน้อย5 ชนิด 2.2 กลุ่มแม่บ้าน เด็กและเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุรวมกลุ่มกันปลูกผักที่ใช้รับประทานในชีวิตประจำวันและปลอดสารพิษ เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ในชุมชนโดยการ มีกา

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เวลา 09.00 น. นายพจน์ สุขลิ่ม กำนันตำบลนาทอน กล่าวเปิดงาน/กิจกรรม
    • นายวรพงษ์ มานะกล้า แจ้งที่ประชุมทราบถึงวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม
    • ผู้ใหญ่บ้านนายลือชัย จิโส๊ะ อธิบายขั้นตอนการจัดกิจกรรม
    • นายกุดนัย ราเหม ได้มาให้แนวคิดเรื่องสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ร้อยละ 50 ของครัวเรือนหมู่ที่ 2 มีการปลูกผักไว้กินเอง อย่างน้อย 5 ชนิด เช่น ขมิ้นตะไคร้ มะนาว พริก ใบมะกูด เป็นต้น และมีกลุ่มแม่บ้านร่วมกันปลูกผักแปลงสาธิตจำนวน 10 แปลง -ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนปลูกผักไว้รับประทานเอง ได้แก่ ผักที่เป็น เครื่องปรุงในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด
    • กลุ่มแม่บ้าน เด็กและเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุรวมกลุ่มกันปลูกผักที่ใช้รับประทานในชีวิตประจำวันและปลอดสารพิษ เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ในชุมชนโดยการ มีการวางกติการ่วมกันในการดำเนินการ การใช้ประโยชน์จากแปลงผัก
    • ให้ใช้แปลงสวนยางออ่นในการทำแปลงผักรวม ร่วมกัน เป็นกลุ่ม กลุ่มละ ห้าครัวเรือน ใครสนใจ
    • มีความเช้ใจแนวคิดเรื่องสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ โดยให้เสริมเรื่องการคัดแยกขยะ

     

    120 120

    16. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 6

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

     

    25 30

    17. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือนเดือนที่ 7

    วันที่ 20 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

     

    25 30

    18. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 8

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

     

    25 30

    19. จัดกิจกรรมละศิลอดร่วมกันเพื่อสุขภาพ ณ มัสยิดเในช่วงเดือนรอมฎอนเป็นเวลา 30 วัน โดยให้รับประทานอาหารท่ีปราศจากไขมัน จำนวน 80 คน

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2558 เวลา 18:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมละศิลอดร่วมกันเพื่อสุขภาพ ณ มัสยิดในช่วงเดือนรอมฎอนเป็นเวลา 30 วัน โดยรับปประทานอาหารที่ปราศจากไขมัน จำนวน 100 คน ต่อ 1 คืน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนละศิลอดโดยการรับปประทานอาหารที่ปราศจากไขมันเป็นเวลา 1 เดือน

     

    80 100

    20. มีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแบบครบวงจรชุมชนนาเปรีย และจัดอบรมพร้อมสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ(ปุ๋ยหมักน้าและปุ๋ยหมักแห้งจากเศษซากพืช ปุ๋ยคอก และของเหลือใช้ในครัวเรือน ) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มปลูกผักไว้จำหน่ายในชุมชนท่ีมีอยู่แล้วและกลุ่มเป้าหมายใ

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม เวลา 09.00-16.30 น.มีนางสาวจุฑารัตน์  ทิพยฺขุนทด เจ้าพนักงานเกษตรอำเภอมาให้ความรู้และสาธิตการทำปุ๋ยหมักให้กับชาวบ้านได้รู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การทำปุ๋ยหมักในวันนี้ เพื่อให้ของเหลือใช้ในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์มากที่สุด การทำป๋ยหมักน้ำ มีส่วนผสมดังนี้
    1. ถังน้ำขนาดไหนก้อได้ ให้มีฝาปิด 2. เศษอาหารที่เหลือใช้ในครัวเรือน 3. กากน้ำตาล 4. สารเร่งซุปเปอร์ ผด.2 สำหรับผลิดปุ๋ยหมักน้ำ 5. ใส่กากน้ำตาลแล้วคนให้เข้ากัน การทำปุ๋ยหมักแห้ง  มีส่วนผสม 1. นำเศษซากพืชซากของเหลือใช้ ใบไม้ ใบหญ้า 2. มูลสัตว์ 3. ผด.1 4. กากน้ำตาล

     

    100 100

    21. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 9

    วันที่ 22 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำและปรับเปลี่ยนตาราปฏิทินโครงการให้ตรงกับกิจกรรมที่ทำอยู่ในชุมชน

     

    25 30

    22. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.1 จัดมหกรรมการกินและแลกเปลี่ยนผักสวนครัว โดยจะมีการจัดกิจกรรมแข่งขันการกินผัก ทำเมนูอาหารจากผัก เพื่อสร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน และให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ของผัก โดยจัดให้มีนิทรรศการซุ้มเรียนรู้ และวิ

    วันที่ 5 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดมหกรรมการกินและแลกเปลี่ยนผักสวนครัว โดยจะมีการจัดกิจกรรมแข่งขันการกินผัก ทำเมนูอาหารจากผัก เพื่อสร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน และให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ของผัก โดยจัดให้มีนิทรรศการซุ้มเรียนรู้ และวิทยากรอบรมให้ความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีชาวบ้านนำผักที่ปลูกเอง ทำเมนูอาหาร มาประกวดกัน และนำผักต่างๆมาจัดนิทรรศการ  พร้อมทั้งมีวิทยากรมาให้ความรู้ผักแต่ละชนิด

     

    100 100

    23. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 10

    วันที่ 19 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมเพื่อชีแจงงบดำเนินงานและกิจกรรมที่ทำในรอบที่ผ่านมา  และกิจกรรมที่จะทำต่อไป

     

    25 25

    24. กิจกรรม เชิดชูเกียรติ แก่บุคคลต้นแบบ/ครอบครัวต้นแบบ ที่เป็นแบบอย่างในการดูแลสุข

    วันที่ 11 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรม เชิดชูเกียรติ แก่บุคคลต้นแบบ/ครอบครัวต้นแบบ ที่เป็นแบบอย่างในการดูแลสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้บุคคลต้นแบบ/ครอบครัวต้นแบบ ที่เป็นแบบอย่างในการดูแลสุข

     

    120 120

    25. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 11

    วันที่ 17 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเพื่อรายงานผลการจัดโครงการของปีที่ผ่านมา....

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานผลการจัดกิจกรรม/โครงการของปีที่ผ่านมาว่าได้กิจกรรมอะไรบ้าน  และชุมชนได้อะไร

     

    25 25

    26. ประชุมสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนนาเปรีย เพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามความเคลื่อนไหวของชุมชนต่อเนืองทุกเดือน เดือนที่ 12

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ต้องการทราบความคิดเห็นคณะกรรมการ ว่าในปีหน้าจะของบโครงการนี้ต่อยอดหรือไม่  ผลสรุปจากที่ประชุมอยากให้มีโครงการนี้อีก

     

    30 25

    27. จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน

    วันที่ 23 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและชาวบ้านชุมชนนาเปรียจำนวน 100 คนมาประชุมพร้อมกัน และเชิญวิทยากรกระบวนการมาร่วมทำกิจกรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ว่าได้เรียนรู้อะไรบ้างกับโครงการนี้ และโครงการนี้มีประโยชน์อย่างไร ต้องปรับปรุงอะไรจะต่อยอดอย่างไร จะทำอย่างไรให้เกิดความยั่งยืน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้อะไรบ้างกับโครงการนี้  คำตอบที่ได้คือ โครงการนี้ทำให้คนนาเปรียคิดก่อนจะรับประทานอะไรเข้าไปสู่ร่างกาย จึงคิดว่าน่าจะทำให้ภาวะโรคอ้วนของคนนาเปรียลดลง โครงการนี้มีประโยชน์อย่างไร  ทำให้ชุมชนมีแหล่งปลูกผักปลอดสารพิษเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน  มีศูนย์เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก  ทั้งในระดับครัวเรือนและระดับชุมชน ทำให้คนนาเปรียมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีสุขภาวะ ทั้งกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ รวมทั้งทำให้คนในชุมชนมีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจ มีส่วนร่วมทำร่วมรับประโยชน์

     

    100 100

    28. คืนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 29 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินเปิดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินเปิดบัญชี

     

    2 2

    29. กิจกรรมจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ ส่ง สสส. และการล้าง อัด ขยายภาพ

    วันที่ 29 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเก็บเอกสาร  ลงเว็บไซด์  พริ้นรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดเก็บเอกสารทางการเงิน  ลงเว็บไซด์  พริ้นรายงาน

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกลไกให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจจากทุกภาคส่วน
    ตัวชี้วัด : 1. มีสภาขับเคลื่อนสุขภาวะชุมนาเปรีย 2. มีแผนชุมชน 3. นำแผนชมชนเข้าสู่แผนพัฒนาของ อบต.

    มีครบ 100 %

    2 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี ลดภาวะโรคอ้วน
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนอายุ 7 ปีขึ้นไปมีความรู้และความตระหนักเรื่องภาวะอ้วนร้อยละ 70 2. ประชาชนเกิดความตระหนัก เข้าร่วมกิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 25
    1. ประชาชนอายุ 7 ปี ขึ้นไปมีความรู้และความตระหนักเรื่องภาวะอ้วนร้อยละ 40
    2. ประชาชนเกิดความตระหนัก เข้าร่วมกิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 50
    3 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

    5 ครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกลไกให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจจากทุกภาคส่วน (2) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี ลดภาวะโรคอ้วน (3) เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ สร้างสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่ สานสามัคคี หมู่ 2

    รหัสโครงการ 57-01450 รหัสสัญญา 57-00-1455 ระยะเวลาโครงการ 15 สิงหาคม 2557 - 15 กันยายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ลดการกินอาหารที่มีไขมัน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    การกินผักปลูงเองในครัวเรือน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีข้อตกลงจะออกกำลังทุกช่วงเวลาเย็นแต่ละวัน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    มีพื้นที่เขตปลอดบุหรี่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การนำวัสดุเหลือใช้ที่เป็นอินทรีย์มาทำปุ๋ยหมัก เพื่อปลูกผักกินเองในครัวเรือน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    สร้างสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่ สานสามัคคี หมู่ 2 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 57-01450

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวรพงศ์ มานะกล้า )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด