directions_run

ความมั่นคงทางอาหาร หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งพัฒนา (ต่อยอดโครงการ 3 ออมฯ)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ความมั่นคงทางอาหาร หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งพัฒนา (ต่อยอดโครงการ 3 ออมฯ)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01456
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 พฤษภาคม 2557 - 20 มิถุนายน 2558
งบประมาณ 183,390.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวจันทนา อานัน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ อนัญญา แสะหลี นางกัลยาทรรศน์ ติ้งหวัง
พื้นที่ดำเนินการ 213 หมู่ที่ 13 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.8895191691784,99.814134095769place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 พ.ค. 2557 15 ต.ค. 2557 20 พ.ค. 2557 10 พ.ย. 2557 73,390.00
2 16 ต.ค. 2557 15 พ.ค. 2558 11 พ.ย. 2557 10 ก.ค. 2558 91,700.00
3 16 พ.ค. 2558 20 มิ.ย. 2558 18,300.00
รวมงบประมาณ 183,390.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มศักยภาพกลไกกลุ่มคนรักสุขภาพ ด้วยขบวนการสภาชุมชนบ้านทุ่งพัฒนา

เชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มคนรักสุขภาพ มีศักยภาพเพิ่มขึ้นในการดำเนินงานในระดับหมู่บ้าน

เชิงคุณภาพ

  1. ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน
  2. เกิดการประชุมอย่างต่อเนื่อง
  3. เกิดฐานข้อมูลในเรื่องของแหล่งอาหารที่นำไปสู่ความมั่นคงทางอาหารของกลุ่มคนรักสุขภาพ
2 เพื่อการพึ่งพาตนเองของคนในชุมชนทางด้านอาหาร

เชิงปริมาณ

  1. มีศูนย์เรียนรู้แหล่งเพาะพันธุ์พืช 2 ระดับ ทั้งในระดับครัวเรือน 60 ครัวเรือนและในระดับชุมชน 1 ศูนย์ และมีธนาคารเมล็ดพันธุ์ 1 แห่ง
  2. มีเยาวชน ชั้น ป.5 และ ป.6 จำนวน 20 คน เข้าร่วมปลูกผักในโรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์

เชิงคุณภาพ

  1. ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
  2. ทำให้ชุมชนได้เรียนรู้เรื่องของพืชพันธุ์
3 เพื่อให้คนในชุมชนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

เชิงปริมาณ

  1. เกิดสภาซูรอฮ์ของหมู่ที่ 13

เชิงคุณภาพ

  1. เป็นการรวมตัวของคนในชุมชนที่มาร่วมกันจัดทำกิจกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน
  2. กลุ่มคนรักสุขภาพมีความตระหนักและเกิดความหวงแหนชุมชน
4 เพื่อบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.