แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ บ้านป่าไหม้ร่วมใจนำป่าสาคูสร้างสุข ”

ชุมชน (วัด, หมู่บ้าน)

หัวหน้าโครงการ
นางศิวพร สุภาผล

ชื่อโครงการ บ้านป่าไหม้ร่วมใจนำป่าสาคูสร้างสุข

ที่อยู่ ชุมชน (วัด, หมู่บ้าน) จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-01464 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0857

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"บ้านป่าไหม้ร่วมใจนำป่าสาคูสร้างสุข จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชน (วัด, หมู่บ้าน)

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านป่าไหม้ร่วมใจนำป่าสาคูสร้างสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านป่าไหม้ร่วมใจนำป่าสาคูสร้างสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชน (วัด, หมู่บ้าน) รหัสโครงการ 57-01464 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 184,280.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 20 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้ในชุมชนในเรื่องการใช้ประโยชน์จากป่าสาคู
  2. เพื่อนำทุนในชุมชนคือป่าสาคูสร้างอาชีพเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ส่งเสริมสุขภาพของครอบครัวและชุมชน
  3. เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศน์

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้แนวทางการดำเนินงานโครงการ การทำบัญชี การลงเว็บไซด์happynetwork.org การลงบัญชีเงินสดประจำวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการในการจัดทำกิจกรรม การรรายงาน การเก็บข้อมูล การเก็บเอกสาร และกระบวนการทำกิจกรรมให้สามารถประสบความสำเร็จได้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการตามที่ได้วางเอาไว้

     

    2 2

    2. จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อชี้แจงการดำเนินงาน

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มอบหมายภารกิจตามความถนัดและสมัครใจ
    • กำหนดแกนนำ ประชุมชึ้เเจงโครงการหากลุ่มเป้าหมายในเวทีประชาคมหมู่บ้าน
    • รับสมัครผู้สูงอายุเลิกเหล้า-เลิกบุหรี เพื่อเรียนรู้ไปพร้อมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความสนใจจากกลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างดีและพร้อมที่จะดำเนินกิจกรรมไปด้วยกัน
    ได้รับความรู้จากวิทยากรและแลกเปลี่ยนความคิดและแนวทางต่างๆ

     

    100 100

    3. ประชุมทีมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มอบหมายภารกิจตามความถนัดและสมัครใจ กำหนดแกนนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการในการจัดทำกิจกรรม การรรายงาน การเก็บข้อมูล การเก็บเอกสาร และกระบวนการทำกิจกรรมให้สามารถประสบความสำเร็จได้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการตามที่ได้วางเอาไว้

     

    20 20

    4. อาสาสมัครเยาวชนลงพื้นที่สำรวจข้อมูลครัวเรือน

    วันที่ 9 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจข้อมูลครัวเรือน ด้านรายรับ - รายจ่าย หนี้สิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เข้าใจเกี่ยวกับระบบบัญชีครัวเรือน

     

    10 30

    5. จัดประชุมและรับอาสมัครในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมกลุ่มเรียนรู้

    วันที่ 23 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์และการบอกต่อและชักชวนกัน ซึ่งกลุ่มต่างๆ ที่รวมตัวกันตามบริบทของบ้านเรือนความถนัดของตนเอง เพื่อเป็นจุดเรียนรู้ประโยชน์ของป่าสาคูแก่ผู้สนใจ ร่วมลงแขกปรับพื้นที่ของสมาชิกของแต่ละกลุ่มโดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันวันละ 1 กลุ่ม กลุ่มละ 10 วัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ป่าสาคูไม่สูญพันธ์ และครในกลุ่มมีความรัก ความสมัคคีกัน

     

    100 100

    6. เขียนโครงการนำเสนอไปยังเทศบาลตำบลท่างิ้วและสถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช

    วันที่ 13 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เขียนโครงการเสนอไปยังเทศบาลตำบลท่างิ้วและสถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อได้เรียนรู้ประโยชน์ของด้วงสาคูและได้มีความรู้

     

    40 40

    7. จัดเตรียมจัดหาจัดซื้อ อุปกรณ์การเพาะด้วงจัดสถานที่และจัดหาอุปกรณ์ในการเพาะด้วงสาคู

    วันที่ 21 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทุกคนมาเรียนรู้มีวิทยากรในพื้นที่ เป็นผู้ถ่ายทอดและลงมือปฎิบัติกันจนเสร็จใช้เวลา 2 วัน จากนั้นแกนนำไปขยายผลตามกลุ่มบ้านเองเป็นการปฎบัติไปพร้อมกัน ช่วยกันแลกเปลี่ยนและฝึกการเป็นวิทยากรเพื่อไปสอนในกลุ่มบ้านตนเองได้ แกนนำติดตามสนับสนุนให้กำลังใจช่วยชี้เเนะตัวแทนกลุ่มหมู่บ้านทำการเพาะด้วงได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนมาเรียนรู้มีวิทยากรในพื้นที่ เป็นผู้ถ่ายทอดและลงมือปฎิบัติกันจนเสร็จใช้เวลา 2 วัน จากนั้นแกนนำไปขยายผลตามกลุ่มบ้านเองเป็นการปฎบัติไปพร้อมกัน ช่วยกันแลกเปลี่ยนและฝึกการเป็นวิทยากรเพื่อไปสอนในกลุ่มบ้านตนเองได้ แกนนำติดตามสนับสนุนให้กำลังใจช่วยชี้เเนะตัวแทนกลุ่มหมู่บ้านทำการเพาะด้วงได้ด้  ผู้มาร่วมมีความรู้เกี่ยวกับการเพาะด้วงสาคู และมั่นใจว่าสามารถนำไปทำที่บ้านได้

     

    40 40

    8. จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน

    วันที่ 28 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ร่วมปฎิบัตินำสาคูกาละมังละ ½ ตีบและอาหารสุกร กาละมังละ ½ กิโลกรัม มาผสมรวมกันแล้วใส่น้ำผสมให้เข้ากัน ให้สาคูกับอาหารให้เปียกพอประมาณทิ้งไว้ประมาน 1 ชม. เพื่อให้สาคูกับอาหารสุกรเข้ากันพอดี แล้วนำพ่อพันธ์หวังกับแม่พันธ์หวังมาใส่ในกาละมัง กาละมังละ 10 ตัว ตัวผู้ 5 ตัว ตัวเมีย 5 ตัว แล้วปิดฝาทิ้งไว้ แล้วนำของหนักๆ มาตั้งทับไว้บนกาละมัง เพื่อไม่ให้พ่อพันธ์แม่พันธ์หวัง บินออกมาข้างนอกกาละมังได้ ทิ้งไว้ประมาน 17 วัน แล้วมาเปิดฝากะละมังใหม่อีกครั้งเพื่อเพิ่มสาคูและอาหารร่วมปฎิบัตินำน้ำ,สาคู และอาหารสุกรมาผสมกันทิ้งไว้ 1ชั่วโมง แล้วนำไปเพิ่มกาละมังละ ½ กก. แล้วรอประมาณ 20 วัน แล้วเอาออกสู่ตลาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมกันปฎิบัตินำสาคูอาหารสุกร (ใหญ่) กาละมัง ฝาปิด น้ำ ได้มาเรียนรู้ในการปฎิบัติและการผสม สาคู+อาหาร ตามสัดส่วน ของแต่ละอย่างที่มีไว้ ได้เข้าใจในการเพาะด้วงสาคู

     

    40 40

    9. เวทีเรียนรู้ จ.นครศรีธรรมราช เพื่อสรุปผลงาน งวดที่ 1

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มาประชุม  สรุปเอกสาร ทั้งหมด ของงวดที่ 1
    เพื่อทำการปิดงวด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดทำรายงานงวด 1 ส่งให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ
    • แก้ไข เอกสารให้ถูกต้อง ครบถ้วน
    • บันทึกกิจกรรม ครบถ้วน
    • ได้ร่วมเรียนรู้ เข้าใจ และ ทำรายงานได้ถูกต้อง

     

    3 2

    10. ติดตามความก้าวหน้าโครงการครั้งที่ 1

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามโครงการ ความก้าวหน้า ความสำเร็จ และอุปสรรค ปัญหา การใช้จ่ายงบประมาณ ของโครงการป่้านป่าไหม้ ราวมกับโครงการอื่นๆทั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยอ.กำไล สมรักษ์ และทีมพี่เลี้ยงจ.นครศรีธรรมราช ร่วมกันพัฒนา แลกเปลี่ยนและอภิปรายผลการดำเนินโครงการในงวดที่ 1 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
    ตรวจเอกสารรายงานของโครงการ และนำเสนอผลการตรวจพร้อมช่วยแก้ปัญหาและให้คำแนะนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากผลการดำเนินโครงการในงวดที่ 1 พบว่าโครงการบ้านป้าไหม้ สามารถดำเนินกิจกรรมไปได้ตามแผนงานและกิจกรรมที่กำหนด ยกเว้นด้านการศึกาาดูงานเรื่องการจัดการป่าสาคู ยังหาสถานที่ศึกาาดูงานไม่ได้ และได้ติดต่อไป ที่. ตรัง พบว่า เลิกกิจการไปแล้ว ส่วนกิจกรรมการฝึกปฎิบัติการเพาะด้วง สามารถดำเนินการให้ผู้ที่เข้าร่วมกลุ่มมีทักษา ความรู้และเข้าใจ สามารถนำไปเพาะด้วงสาคู้ได้ จำนวน อย่างน้อย 70 %  100 คน ส่วนที่เป็นจุดเด่นโครงการ คือ โครงการนี้ได้การหนุนเสริมจากภาคีต่างๆมากมาย อาทั เทศบาลเมืองตำบลปากพุน พม. พัฒนาชุมชน โดยมีการประสานงานทำข่าวออกรายการโทรทัศน์ถึง 2 ช่องคือ  ช้อง 11 รายการคำรณ หว่างหวังศรี และ ช่อง 3 ซึ่งเ้ป็นการประชาสัมพันธ์กระบวนการทำงานของชุมชน และการร่วมกันสร้างผลิตภัณฑ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

     

    3 2

    11. จัดประชุมกลุ่มต่างๆที่ใช้ประโยชน์จากป่าสาคู

    วันที่ 19 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมกลถ่มต่างๆ ที่ใช้ประโยชน์จากป่าสาคูชาวบ้านป่าไหม้ และผู้ร่วมโครงการ 80 คน  ร่วมกับเครือข่ายสภาผู้นำภาคีเครือข่ายจาก อบต.ปากพูน 20 คน เพื่อประเมินผล รายได้-รายจ่ายในครัวเรือน เปรียบเทียบข้อมูลก่อนและหลังการทำอาชีพของคนทุกกลุ่ม เพื่อเผยเเพร่ในชุมชน สร้างจิตสำนึกการประกอบอาชีพที่ดีกว่าการเล่นการพนันและสร้างเเนวร่วม จัดตั้งกองทุนออม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในชุมชนมีกลุ่มสตรี กลุ่มอ.ส.ม กลุ่มธนาคารหมู่บ้าน กลุ่มสัจจะ กลุ่มผู้สูงอายุวันละบาท กลุ่มเพาะด้วงสาคู ซึ่งกลุ่มเหล่านี้ ทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายร่วมกันในชุมชน ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในการทำงานในรูปแบบของกลุ่ม และให้คนในชุมชนได้เห็นประโยชน์จากป่าสาคูซึ่งสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์หลากหลาย ทำให้หนี้สินหมด ปัญหาการว่างงานหมดไป
    ที่สำคัญคือเกิดข้อตกลงการใช้ป่าสาคู และการอนุัรักษ์ป่าสาคูเพื่อเป็นทุนแก่ชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจของครัวเรือนที่สนใจการเพาะด้วงโดยใช้สาคู และเกิดข้อตกลงกลุ่มเพาะด้วงในการจัดกิจกรรมปฏิบัติการเพาะด้วงร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 5 ข้อ ได้แก่
    1. ให้กลุ่มเข้าร่วมโครงการ 10 กลุ่ม จำนวน สมาชิก 30 คน มาร่วมกิจกรรมทุกครั้ง 2. นำผลการปฏิบัติคราวที่แล้วมาเล่าสู่กันฟัง 3. นำสิ่งที่เพื่อนแนะนำมาปฏิบัติกรณีที่กลุ่มตัวเองมีปัญหาเพื่อพัฒนากลุ่ม 4.กลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งจะได้รับวัสดุในการเพาะด้วงเท่าที่โครงการอนุมัติ 5.เมื่อจบโครงการหัวหน้ากลุ่มรายงานผลสำเร็จ ผลผลิต และบทเรียนจากการเพาะด้วง

     

    100 100

    12. จัดการเรียนรู้ร่วมกัน ร่วมปฏิบัติหลังจากเพาะด้วงได้ 40 วัน

    วันที่ 25 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการเรียนรู้ร่วมกัน แกนนำในชุมชนร่วมด้วยสมาชิกในกลุ่มสมาชิกกลุ่ม 100 คน วิทยากร 1 คน มาให้ความรู้ เกี่ยวกับการเพาะด้วงสาคูโดยร่วมปฏิบัติหลังจากการเพาะด้วงได้ 40 วัน แล้วก็ให้สมาชิกเข้าร่วมโครงการมาเรียนรู้การส่งออกสู่ตลาดและปฏิบัติการเพาะพ่อพันธ์ุ เเม่พันธ์ุ จากการคัดเลือกตัวด้วงที่สมบูรณ์มาใส่ในกาละมังเอากากมะพร้าวมาฉีกเป็น 2 ท่อน แล้วใส่ในกาละมังนำสาคูบดมาผสมอาหาร ( สุกร ) คนด้วยน้ำให้เข้ากันแล้วเอาตัวด้วงใส่กาละมัง กาละมังละ 210 ตัว แล้วปิดฝาเก็บไว้ 30 วัน  แล้วเอาฝาออกมาเป็นพ่อพันธ์ุ เเม่พันธ์ุหวัง แล้วนำมาเพาะด้วงสาคูต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ใช้การเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการเพาะด้วงสาคู เพื่อนำไปเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ช่วยเเก้ปัญหาหนี้สินจากกาีว่างงาน โครงการจะส่งผลให้คนในชุมชนได้รวมกลุ่มกันคิด รวมกลุ่มกันทำ รวมกลุ่มกันแก้ปัญหา รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันเเละกัน ของสมาชิกในกลุ่มโดยไม่ต้องทิ้งครอบครัวออกไปทำงานข้างนอก และในครอบครัวไม่มีหนี้สินทำให้สมาขิกในครอบครัวมีความสุข

     

    100 100

    13. จัดการเรียนรู้ร่วมกันในประเด็นการตั้งกลุ่มกองทุน

    วันที่ 26 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการเรียนรู้ร่วมกันในประเด็นการตั้งกลุ่มกองทุน ให้วิทยากรจากกลุ่มของตำบลมาบรรยายวิธีการพัฒนากองทุนและชี้เเจงเพื่อให้มีทุนเข้าร่วมโครงการออมเงินเเละสามารถกู้ยืมเงินในกองทุนในการเพาะด้วงของตนเองได้ เเต่มีกฎกติกาอยู่ว่า ทุน 100 บาทต้องออมทุกๆ เดือนอย่าสม่ำเสมอ ถ้าขอกู้เงินในกองทุนต้องมีเงินออมไม่ต่ำกว่า  6 เดือนถึงจะกู้ยืมเงินในกองทุนได้ การกู้ต้องมีคนค้ำประกัน 2 คน ไม่ว่าคนกู้หรือคนค้ำต้องเป็นสมาชิกในกลุ่มเพาะด้วงสาคูเท่านั้น เเละต้องจ่ายดอกเบี้ยร้อยละ 1 บาทต่อเดือน ต้องจ่ายทั้งต้นเเละดอก ทุเดือนจนครบ ทุกๆสิ้นปีจะมีเงินปันผลให้กับสมาชิกทุคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้กองทุนมีความยั่งยืนและทำให้คนในชุมชนมีเงินออม ลดปัญหาหนี้สินได้ ทำให้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการมีความอยู่ดีมีสุขกันทุกคน

     

    100 100

    14. จัดศึกษาดูงานโดยตัวแทนกลุ่ม

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จากการได้ไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับป่าสาคูเพื่อนำความรู้ได้มาให้เกิดศูนย์เรียนรู้ในชุมชนในเรื่องการใช้ประโยชน์จากป่าสาคู

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป่าสาคูสร้างอาชีพ เพื่มรายได้ ลดรายจ่าย ส่งเสริมสุขภาพของครอบครัวและชุมชน

     

    14 14

    15. นำผลผลิตที่ได้จากการเพาะด้วงมาแปรรูปเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำผลผลิตที่ได้จากการเพาะด้วงสาคูนำมาขายทำให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น ลดรายจ่าย นำมาทำเป็นอาหารในครัวเรือนด้วย ด้วงสาคูยังเป็นประโยชน์ต่อร่างกายมีโปรตีนสูงตอนนี้สมาชิกในกลุ่มทุกกลุ่มมีรายได้เพิ่ม ลดรายจ่ายลงได้พอสมควรทำให้ครอบครัวมีชีวิตการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สมาชิกทุกคนมีความสุขกันมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนมีอาชีพเสริม ทำให้การเป็นอยู่ดีขึ้นมีด้วงสาคูไว้เป็นอาหารและแปรรูปไว้ขายได้และทำให้คนรู้จักหันมาากินด้วงกันมากขึ้นอีกด้วย

     

    100 100

    16. จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุปผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ทำการจัดเวทีเสวนาเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปผลการดำเนินโครงการใช้ประโยชน์จากป่าสาคูต่อการจัดการเศรษฐกิจวิธีการเพาะด้วงสาคูเเละอื่นๆ ได้พุดคุยกันถึงเรื่องปัญหาหรืออุปสรรคในกรเพาะด้วงสาคู เเละได้หารือเพื่อช่วยกันหาทางแก้ในการลดต้นทุนการผลิตให้ต่ำลง เเละศึกษาวิธีเลี้ยงด้วงสาตูให้ได้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ ให้ได้ด้วงสาคูตัวสมบูรณ์เป็นที่ต้องการของตลาดเเละผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดระเบียบคนในชุมชนมีความสามัคคีกันลดการว่างงานในชุมชนให้เกิดรายได้ลดหนี้สิน 

     

    100 100

    17. ประชุมกลุ่ม ช่วยกันรวบรวมชุดความรู้ป่าสาคูฟื้นวิกฤติเศรษฐกิจชุมชน

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้รวมกลุ่มกันแก้ปัณหารับฟังความคิดเห็นซึ่งกันเเละกันของสมาชิกในกลุ่ม เพื่อที่จะนำมาปรับปรุงเเก้ไขให้เข้ากับปัณหาเศรษฐกิจของชุมชน ซึ่งทำให้สมาชิกในครัวเรือนมีเเนวทางในการแก้ปัณหาปรับเปลี่ยนการดำรงชีวิต ให้เข้ากับสภาพเเวดล้อมที่เป็นอยู่ตอนนี้ เพื่อที่จะสมารถดำรงอยู่ได้แบบพร้อมหน้าพร้อมตากับครอบครัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนในชุมชนรวมกลุ่มกันจัดตั้งกลุ่มเพาะด้วงจากสาคู ซึ่งจะทำให้คนในชุมชนสามารถเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายลดปัญหาการว่างงานลดปัญหาหนี้สินและทำให้คนในชุมชนเกิดความสามัคคีในชชุมชนและได้เรียนรู้ร่วมกัน มชนจะใช้กลวิธีการรวมกลุ่มสร้างอาชีพเสริทาายได้ มาขับเคลื่อนร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่โดยเน้นกระบวนการจัดทำแผนชุมชนเปรียบเทียบ รายรับกับราจ่ายครัวเรือนก่อนและหลังทำโครงการ การประยุกต์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

     

    20 20

    18. เวทีถอดบทเรียนและสรุปชุดความรู้เรื่องด้วงสาคู นวัตกรรมด้วงสาคูและกองทุนด้วงสาคู

    วันที่ 6 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เชิยสมาชิกในกลุ่มเพาะด้วงเเละชาวบ้านบางส่วนมาฟังการถอดบทเรียนของกลุ่มเพาะด้วง ซึ่งได้พูดกันในเรื่องป่าสาคู ผลประโยชน์ของป่าสาคู การประยุกต์ การเเลกเปลี่ยนความรู้กัน การที่เราจะนำผลผลิตที่ได้ไปใช้ประโชยน์ในเรื่องอะไรได้บ้าง และเมื่อก่อนชาวบ้านได้นำสาคูไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น การทำแป้งจากเนื้อสาคูมาทำขนม การนำมันสดๆของด้วงสาคูมาทาที่ผมของเด็กทารกจะทำใหเผมงอกขึ้นมาแและทำให้ผมดกอีกด้วย และประโยชน์ของต้นสาคูยังสามารถนำมาบดละเอียดเพื่อที่จะนำมาเลี้ยงด้วงสาคูได้อีกด้วย เเละส่วนใบของต้นสาคูยังเอามาทำขนมจากได้ เละทางของต้ยสาคูนำมาปิดกระบอกข้าวเหนี้ยวได้ เป็นต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กเเละเยาวชนได้เข้ามาเรียนรู้เเละรู้จักวิธีใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ได้ช่วยเหลือครอบครัวทำให้ครอบครัวมีความอบอุ่น เยาวชนช่วยพ่อเเม่ เพาะด้วงสาคูในวันหยุดเรียนเเละหารายได้เข้าสู่ครอบครัว เเละได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนการเพาะด้วงสาคูเริ่มต้นสมาชิกในกลุ่ม 20 คนก่อน รายได้มาจากการขายด้วงสาคูในเเต่ละเดือนให้สมาชิกในกลุ่มมาฝากที่ศุนย์เรียนรู้กสรเพาะด้วงที่บ้านประธานกลุ่มทุกเดือน ทุนละ 100 บาท

     

    100 100

    19. กรรมการโครงการมีการร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประชุมติดตาวางแผน

    วันที่ 13 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในชุมชนมีแกนนำกลุ่มต่างๆ เเละกลุ่มอาชีพเพาะด้วงสาคูซึ่งกลุ่มเหล่านี้ทำงานร่วมกันเป้นเครือข่ายร่วมกันในชุมชนบ้านป่าไหม้จากสภาพหมู่บ้านป่าไหม้ ซึ่งเป็นพื้นที่ราบและพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนาโดยเฉพาะเป็นวัตถุดิบเช่นต้นสาคูขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเอื้อต่อการจัดทำโครงการเพาะด้วงสาคูจากต้นสาคูเเละในกลุ่ม ผู้เลี้ยงด้วงสาคูยังสามารถนำมาเป็นเเหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษา ก.ศ.น. เเละเป็นแหล่งเรียนรู้กับหน่วยงานต่างๆได้ ซึ่งในการประชุมเเต่ละเดือนประชาสัมพันธ์กับชาวบ้านที่มาประชุมให้อนุรักษ์ต้นสาคูเอาไว้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อชุมชนเเละกลุ่มเพาะด้วงสาคู

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนมารวมกลุ่มกันจัดตั้งกลุ่มเพาะด้วงสาคูจากต้นสาคูซึ่งทำให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ลดรายจ่าย ลดปัญหาการว่างงาน ลดปัญหาหนี้สินและทำให้เกิดความสมัคคีกันในชุมชนเเละได้เรียนรู้ร่วมกันทั้งชุมชน ชุมชนจะใช้กลวิธีการรวมกลุ่มอาชีพเสริมรายได้มาขับเคลื่อนร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่โดยเน้นกระบวนการจัดทำแผนชุมชนเปรียบเทียบรายรับ รายจ่ายของครัวเรือนก่อนเเละหลังทำโคลงการ

     

    10 10

    20. พี่เลี้ยงติดตามโครงการในพื้นที่

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้ที่สนใจเข้าร่วมประชุมประจำเดือน  ตัวแทนสมาชิกเทศบาล และตัวแทนหน่วยงานราชการ ประกอบด้วย พัฒนาชุมชน และตัวแทนจากบริษัท นิวทัศ จำกัด โดยมีพี่เลี้ยงโครงการ อ.สุธรรม แก้วประดิษฐ์ เป็นผู้จัดกิจกรรมประเมิน คุณค่าโครงการและ ปัญหา อุปสรรคในการทำโครงการ สิ่งที่เป็นบทเรียน ความรู้ และ วิธีการทำงานใหม่ ของพื้นที่ โดยมีพัฒนาการจากอำเภอปากพูนมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และชื่นชมการดำเนินโครงการของบ้านป่าไหม้ ลแะเป้นพื้นที่หนึ่งที่มีหน่วยงานต่างๆมาศึกษาดูงานการสร้างอาชีพจากด้วงสาคูโดยกลุ่มชาวบ้านเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กรรมการชุดขับเคลื่อนโครงการร่วมกันประชุมนำเสนอแลกเปลี่ยนประเด็นการพัฒนาต่อเนื่องของโครงการด้วงสาคู โดดยเน้นแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยชุดกรรมการนำเสนอแลกเปลี่ยนทุนในชุมชนป่าไหม้ และกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้เกิดวสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ เพิ่มรายได้ และการหาตลาด โดยเน้นรูปแบบตลาดเชิงสังคม ร่วมกับหน่วยงานต่างๆสื่อมวลชนช่วยกันพัมนาและช่วยเหลือกัน โดยได้ข้อสรุปเรื่องตลาดด้วงสาคู กลุ่มพัฒนาด้วงสาคู การอนุรักษ์ป่าสาคู และ การทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้แบบยั่งยืน โดยนำรูปแบบกลุ่มอาชีพอื่นในชุมชมาผนวกด้วยกัน

     

    20 20

    21. รับการติดตามตรวจสอบเอกสารเเละปิดโครงการจาก สสส.

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 - 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มาสรุปงวดโครงการครั้งที่2  มาพูดคุยเเลกเปลี่ยนความรู้กันในการทำโครงการ มานำเสนอสิ่งที่ได้จากการทำโครงการมาพูดปะพูดคุยกันกับกลุ่มต่างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงโครงการได้ตรวจสอบระบบการเงินค่าใช้จ่ายของโครงการ เเละตวรจสมุดบัญชีธนาคารซึ่งได้เป็นไปถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของโครงการเเละตัวแทนของผู้รับผิดชอบโครงการได้นำเสนอของภาพรวมในมิติของหัวข้อดังนี้ 1.ได้เกิดนวัตกรรมใหม่ในการเพาะด้วงสาคู 2.จุดเด่นจของโครงการ 3.ได้เกิดแกนนำใหม่ 4.สภาพเเวดล้อม 5.ด้านสุขภาพ 6.มีการเอื้อเฝื้อเผื่อเเผ่ให้กับชุมชนใกล้เคียง

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้ในชุมชนในเรื่องการใช้ประโยชน์จากป่าสาคู
    ตัวชี้วัด : 1.เด็กและเยาวชนได้เข้ามาเรียนรุ้และรู้จักวิธีใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้ช่วยเหลือครอบครัว ทำให้ครอบครัวมีความอบอุ่น เยาวชนช่วยพ่อแม่เพาะด้วงสาคูในวันหยุดเรียน และหารายได้เข้าสู่ครอบครัวได้

    เด็กๆในชุมชน จำนวน 20 รายได้ร่วมเรียนรู้กับครอบครัว โดยเรียนรู้การเพาะด้วงสาคูจากศูนย์เรียนรู้นางรัชฎาภรณ์ จันทร์ศร ซึ่งเป็นสมาชิกในกลุ่มเพาะด้วงสาคูของหมู่บ้านเเละผู้ช่วยนายยุทธนา จงจิตร เเละกลุ่มเยาวชนในหมู่บ้านซึ่งเป็นนักเรียนได้เข้ามาช่วยในด้านประชาสัมพันะ์ในการอนุรักษ์ป่าสาคูเเละมีผู้พิการมาเข้าร่วมเพื่อนำไปประกอบอาชีพ เกิดการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และลดเด้กติดเกมส์ และปัญหาการเล่นการพนันของกลุ่มแม่บ้าน

    2 เพื่อนำทุนในชุมชนคือป่าสาคูสร้างอาชีพเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ส่งเสริมสุขภาพของครอบครัวและชุมชน
    ตัวชี้วัด : ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการประกอบอาชีพเพาะด้วงสาคู ชาวบ้านสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติจริงได้

    ชุมชนเกิดกลุ่มเพาะด้วงสาคูขึ้น 10 กลุ่ม มีสมาชิกกลุ่มละ 3-5 คน ทำให้สมาชิกในกลุ่มมีรายได้เสริมในครอบครัว เพิ่มรายได้เดือนละ 3000 บาท-5000 บาท ต่อเดือนเเละทำให้สมาชิกในครอบครัวได้อยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตา นอกจากนั้นลดรายจ่ายจากการนำผลผลผลิตมาทำเป็นเมนูอาหารต่างๆ
    ผลจากการฝึกทำบัญชีครัวเรือนของทั้ง 10 กลุ่ม สามารถนำไปลดรายจ่ายฟุ่มเฟือยเช่น ค่าหวย ค่าเกมส์ ค่าโทรศัพท์ ได้

    3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรมม สสส. หรือ สจรส.

    ได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาและติดตาม จาก สสส ทุกครั้ง จำนวน 4 ครั้ง ซึ่งนับว่าผู้รับผิดชอบโครงการมีความพร้อมในการทำโครงการกับ สสส.

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้ในชุมชนในเรื่องการใช้ประโยชน์จากป่าสาคู (2) เพื่อนำทุนในชุมชนคือป่าสาคูสร้างอาชีพเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ส่งเสริมสุขภาพของครอบครัวและชุมชน (3) เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ บ้านป่าไหม้ร่วมใจนำป่าสาคูสร้างสุข

    รหัสโครงการ 57-01464 รหัสสัญญา 57-00-0857 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ชุดความรู้การเพาะด้วงจากสาคู โดยการปฎิบัติการเพาะด้วงโดยการจัดหาสาคูแล้วเตรียมอุปกรณ์มาไว้ เช่น อาหารสุกร (หมูใหญ่) , กาละมังพร้อมฝาปิด , น้ำ , พ่อพันธ์หวัง, แม่พันธ์หวัง และ ส่วนผสมการเพาะด้วง ได้แก่- สาคู- อาหารสุกร - น้ำ- พ่อพันธ์หวัง , แม่พันธ์หวัง  ปฎิบัตินำสาคูกาละมังละ ½ ตีบและอาหารสุกร กาละมังละ ½ กิโลกรัม มาผสมรวมกันแล้วใส่น้ำผสมให้เข้ากัน ให้สาคูกับอาหารให้เปียกพอประมาณทิ้งไว้ประมาน 1 ชม. เพื่อให้สาคูกับอาหารสุกรเข้ากันพอดี แล้วนำพ่อพันธ์หวังกับแม่พันธ์หวังมาใส่ในกาละมัง กาละมังละ 10 ตัว ตัวผู้ 5 ตัว ตัวเมีย 5 ตัว แล้วปิดฝาทิ้งไว้ แล้วนำของหนักๆ มาตั้งทับไว้บนกาละมัง เพื่อไม่ให้พ่อพันธ์แม่พันธ์หวัง บินออกมาข้างนอกกาละมังได้ ทิ้งไว้ประมาน 17 วัน แล้วมาเปิดฝากะละมังใหม่อีกครั้งเพื่อเพิ่มสาคูและอาหารร่วมปฎิบัตินำน้ำ,สาคู และอาหารสุกรมาผสมกันทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง แล้วนำไปเพิ่มกาละมังละ ½ กก. แล้วรอประมาณ 20 วัน แล้วเอาออกสู่ตลาด หลังจากการเพาะด้วงได้ 40 วัน แล้วก็ให้สมาชิกเข้าร่วมโครงการมาเรียนรู้การส่งออกสู่ตลาดและปฏิบัติการเพาะพ่อพันธ์ุ เเม่พันธ์ุ จากการคัดเลือกตัวด้วงที่สมบูรณ์มาใส่ในกาละมังเอากากมะพร้าวมาฉีกเป็น 2 ท่อน แล้วใส่ในกาละมังนำสาคูบดมาผสมอาหาร ( สุกร ) คนด้วยน้ำให้เข้ากันแล้วเอาตัวด้วงใส่กาละมัง กาละมังละ 210 ตัว แล้วปิดฝาเก็บไว้ 30 วัน  แล้วเอาฝาออกมาเป็นพ่อพันธ์ุ เเม่พันธ์ุหวัง แล้วนำมาเพาะด้วงสาคูต่อไป

    ชุดความรู้ของโครงการ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และบันทึกข้อมูลแต่ละครั้ง

    การพัฒนาสูตรการเพาะด้วงเพื่อลดต้นทุน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    การเกิดผลลผิตด้วงสาคูในชุมชน และเมนูอาหารจากด้วงสาคู ได้เกิดนวัตกรรมใหม่ในต้นสาคู  เมือกจากต้นสาคูสามารถใช้แทนกาวปิดกระดาษได้  ส่วนแป้งจากต้นสาคูเอามาทำเป็นขนมพื้นบ้านได้ เช่นขนมกวน เป็นต้น ส่วนเศษของต้นสาคูหลังจากเพาะด้วงแล้วนำไปทำปุ๋ยชีวภาพ ซึ่งพบว่า ต้นไม้เจริญงอกงามดีมาก  ส่วนของการเลี้ยงตัวด้วงนั้นปกติจะใช้อาหารหมู่ใหญ่เป็นส่วนผสมในการเลี้ยงด้วงสาคูแต่จากการทดลอง ลองเปลี่ยนจากการเลี้ยงด้วยอาหารหมู่ใหญ่มาใช้อาหารลูกหมูเล็กเลี้ยงแทนผลปรากฎว่าด้วง อ้วนพี กว่าเยาะและใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงน้อยกว่า    ส่วนสิ่งที่คิดว่าเป็นจุดเด่นของโครงการนั้นได้มีสื่อมวลชนมาทำสารคดีเช่นจากสื่อทีวีชุมชนใน จ.นครศรีธรรมราช และจากจากสื่อวิทยุทางคลื่น FM ซึ่งหัวหน้าจากพัฒนาชุมชนเป็นคนดำเนิน

    บันทึกการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วงสาคูและเมนูด้วง

    การพัฒนาด้านเมนูลดโรคจากธรรมชาติ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การจัดการวิสาหกิจชุมชนโดยเริ่มจากกลุ่มอาชีพ

    ทะเบียนสมาชิกกลุ่มอาชีพเพาะด้วงสาคู

    วิธีการเพาะด้วงตามแนววิถีบริบทของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เกิดศูนย์เรียนรู้การเพาะด้วงสาคู

    ที่ทำการศูนย์เรียนรู้ ชุดความรู้ในศูนย์ เอกสารเผยแพร่

    ศูนย์เรียนรู้วิสาหกิจชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการเน้นการบริโภคจากอาหารในชุมชน ลดรายจ่าย และสร้างรายได้แก่ครอบครัว

    ชุดความรู้เมนูด้วง

    อาหารเพิ่มพลังงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการปรับวิถีชีวิต โดยเน้นภูมิปัญยาด้านการทำอาหารพื้นบ้าน และการใช้วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่พัฒนาสร้างอาชีพ

    บันทึกกิจกรรม

    ศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญา โฮมสเตย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการช่วยกันจัดการป่าสาคูในพื้นที่ ให้นำมาใช้ประโยชน์ ลดการเกิดการขยายพันธ์รวดเร็ว

    การจัดการป่าสาคูสู่ทุนชุมชน

    ป่าสาคูสร้างสุข

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    เกิดกลุ่มอาชีพในชุมชนที่ชุมชนพัฒนามาเอง ทำให้เกิดความยั่งยืนครอบครัวที่เข้ากลุ่ม เกิดรายได้เพิ่มขึ้น

    กลุ่มเพาะด้วงสาคูบ้่นป่าไหม้ บันทึกบัญชีครัวเรือน

    วิสาหกิจชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ข้อตกลงเรื่องการอนุรักษ์ป่าสาคูและประโยชน์จากป่าสาคู ข้อตกลงกลุ่มอาชีพเพาะด้วง

    รายงานการประชุมกลุ่มเรื่องประโยชน์จากป่าสาคูและการอนุรักษ์ป่าสาคูบ้านป่าไหม้

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ชุมชนมีผู้รับผิดชอบที่มีความสามารถใและเชี่ยวชาญในการเพาะด้วงสาคูและสามารถเชื่อมโยงภาระกิจกลุ่มการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ การทำอาชีพเพาะด้วง จากชุมชนสู่ชุมชนอื่นและหน่วยงานใกล้เคียงช่วยสนับสนุน ในด้าน วิทยากร สถานที่ งบประมาณบางส่วน

    รายงานการบันทึกกิจกรรมโครงการ

    ศูนย์เรียนรู้การเพาะด้วงสาคู

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    การร่วมกันของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรที่สามารถเปลี่ยนมาเป็นทุน คือป่าสาคู ด้วงสาคู

    บันทึกชุดความรู้การเพาะด้วงจากสาคู

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ชุมชนสามารถเรียนรู้วิธีการทำงานจากกลุ่มเล็กๆสู่ผู้สนใจในระดับตำบลและอำเภอ มีการเรียนรู้ผ่านสื่อมวลชนที่สนใจมาร่วมทำรายการ และชุมชนสามารถจัดกิจกรรมเองได้ต่อเนื่องโดยมีผู้สนับสนุนหลายฝ่ายจากพัฒนากรชุมชน และ บ.นิวทัศน์

    บันทึกการรายงานกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

    บันทึกชุดความรู้การเพาะด้วง

    ขยายองค์ความรู้สู้วิสาหกิจชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ผู้รับผิดชอบโครงการมีความภาคภูมิใจและมีคุณค่าในตน ที่สามารถจัดการงบประมาณนำสู่ชุมชน และสามารถดำเนินกิจกรรมโดยได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายต่อเนื่อง

    บันทึกการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วันถอดบทเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    สมาชิกกลุ่มเพาะด้วงได้ประโยชน์จากงบประมาณสสส.แต่ก็ผลักดันให้ชุมชน มีเศรษฐกิจดีขึ้น มีการเรียนรู้และขยายผลแก่ผู้สนใจต่อเนื่อง และตั้งศูนย์เรียนรู้เพื่อการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ่นสุด

    การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    บ้านป่าไหม้ร่วมใจนำป่าสาคูสร้างสุข จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 57-01464

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศิวพร สุภาผล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด