แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านในดอน ”

บ้านในดอนหมู่ที่ 5 ต.ฉลองอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นางกรรณิการ์ อินทรสุวรรณ

ชื่อโครงการ ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านในดอน

ที่อยู่ บ้านในดอนหมู่ที่ 5 ต.ฉลองอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-01469 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0962

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านในดอน จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านในดอนหมู่ที่ 5 ต.ฉลองอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านในดอน



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านในดอน " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านในดอนหมู่ที่ 5 ต.ฉลองอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 57-01469 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 133,340.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 53 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในคุ้มบ้านได้เรียนรู้การทำเกษตรปลอดสารเคมีบนพื้นฐานบ้านเศรษฐกิจพอเพียง
  2. เกิดการรวมกลุ่มพัฒนาผลผลิตมีกลไกการตลาดและเกิดรายได้ของครอบครัว
  3. เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศน์โครงการ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00-17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รู้จักพี่เลี้ยง สจรส. ทบทวนโครงการ
    การทำแผนกิจกรรมที่ชัดเจนและกำหนดวันที่ที่แน่นอน
    อบรมการส่งข้อมูลในระบบติดตามประเมินผลทางระบบและรายงานผ่านทาง เว็ปไซด์ ทาง สจรส. มอ. ได้ชี้แจงรายละเอียดของงบสนับสนุนโครงการ รายละเอียดต่าง ๆ ที่ทางโครงการจะต้องทำในกรณีที่ได้รับงบสนับสนุนไปแล้ว และข้อมูลต่าง ๆ ที่ทางโครงการจะต้องรับรู้ และปฏิบัติตาม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางโครงการได้กำหนดวันที่ในการทำกิจกรรมที่ชัดเจนลงในปฏิทินในระบบ เพื่อเป็นแนวทางในการทำงาน และการทำรายงานผลกิจกรรมทางเว็บไซด์

     

    2 2

    2. ทำป้ายรณรงค์ของ สสส.

    วันที่ 19 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายปลอดบุหรี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ว่าจ้างจัดทำป้ายปลอดบุหรี่ มาติดที่พื้นที่ส่วนกลางของหมู่บ้าน ในบริเวณที่ทำกิจกรรม

     

    5 5

    3. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 20 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมมือและปรึกษาหารือกันในการคัดสรรกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามมติของที่ประชุมเห็นควรว่าเราควรจะทำกิจกรรมของโครงการกันอย่างจริงจังและการสรรหาคนในแต่ละคุ้มบ้านก็ควรจะเลือกคนที่จะทำกันจริงๆเพื่อที่จะได้ทำโครงการต่อเนื่องในครั้งต่อไปได้

     

    18 18

    4. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเกี่ยวกับรายละเอียดและขั้นตอนกิจกรรมโครงการ และมีข้อเสนอแนะว่าการทำกิจกรรมแต่ละครั้งควรจะทำกันที่ศาลาประชุมหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่ประชุมบอกว่าหากว่ากิจกรรมไหนที่มีวิทยากรเราก็ควรเอาวิทยากรในหมู่บ้านมาให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย และเมื่อกิจกรรมดำเนินการเสร็จแล้วก็สามารถที่จะให้กลุ่มเป้าหมายผลิตเพื่อที่จะนำมาใช้เองและวางจำหน่ายตามท้องตลาดได้

     

    18 18

    5. ประชุมชาวบ้าน เพื่อชี้แจงและประชาสัมพันธ์ รายละเอียดของโครงการ

    วันที่ 26 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงโครงการให้แกนนำและชาวบ้านได้ทราบเกี่ยวกับรายละเอียดเรื่องดังต่อไปนี้ - สถานะทางการเงิน - กิจกรรมที่กลุ่มเป้าหมายทำร่วมกันในโครงการ - แผนการทำโครงการ - แจ้งหน้าที่รับผิดชอบของแกนนำแต่ละคนที่จะต้องทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลังจากมีการประชุมชี้แจงโครงการเกิดขึ้นแล้วปรากฎว่ามีชาวบ้านสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมากซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่วางไว้ และมีข้อซักถามเรื่อง วัตถุประสงค์ แผนการทำโครงการและผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร  มีคนสนใจแจ้งความจำนงว่าจะเข้าร่วมโครงการและชักชวนคนอื่นให้มาเข้าร่วมกิจกรรมให้มากที่สุด

     

    200 200

    6. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุุมแกนนำโครงการทั้ง 7 คุ้ม เพื่อเตรียมการจัดกิจกรรม ร่วมคิดกันเรื่องการเลี้ยงปลาดุก การทำสบู่สมุนไพร น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาล้างจาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำ 7 คุ้ม คือ คุ้มที่ 1 คุ้มนาพร้าว มีนายประดิษฐ์ เป็นหัวหน้าคุ้ม ไม่ว่างให้นายไพฑูรย์มาแทน คุ้มที่ 2 นางสุดาภรณื คุ้มที่ 3 นายสมจิตร คุ้มที่ 4 นายขันติชัย คุ้มที่ 5 นายสุจิตรา คุ้มที่ 6 นายณรงค์ คุ้มที่ 7 นายสุรสิทธิ์ ได้เสนอแนะการทำกิจกรรม

    1. ที่ประชุมเสนอกันว่าแพ็คกิ้งและที่บรรจุผลิตภัณฑ์เช่นสบู่เราควรหาบล็อคที่สวยงามลูกค้าเห็นก็สะดุดตาและสนใจในผลิตภัณฑ์ และเมื่อขายได้ก็จะทำให้คนในชุมชนมีรายได้เสริม
    2. ให้แต่ละคุ้มรับผิดชอบเรื่องปล้องปลาดุก ช่วยสนับสนุนจากเจ้าของบ้าน มีให้แต่พันธุ์ปลา ช่วยกันเลี้ยง แล้วมาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อนำความรู้ไปทำต่อเนื่อง

     

    18 18

    7. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้รายงานให้ที่ประชุมทราบว่าเงินสนับสนุนจาก สสส.งวดแรกเข้ามาแล้ว  54,000 บาทและกิจกรรมของโครงการเราล่าช้าไปสองกิจกรรมควรเร่งทำกิจกรรมและได้เสนอว่าในการทำกิจกรรมโครงการเราได้ขาดอุกรณ์และเครื่องมือในการทำกิจกรรม ทางโครงการจะให้เลขาทำหนังสือไปขอจากกลุ่มแปรรูปสมุนไพรบ้านในดอน เช่น หม้อ กะละมัง ไม้พาย เตาแก๊ส และได้มอบหมายให้ตัวแทนไปประสานงานและเตรียมของที่จะทำกิจกรรมต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางแกนนำได้ลงความเห็นกันว่าเราควรจะทำให้เป็นแบบอย่างแก่หมู่บ้าน และ ตำบลอื่นในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

     

    18 18

    8. สรุปเอกสารรายงานเป็นรายครั้งที่ทำกิจกรรม

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปเอกสารรายงานป็นรายครั้งที่ทำกิจกรรม ประกอบด้วยรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม คือผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3คน ได้แก่
    นางกรรณิการ์  อินทรสุวรรณ นางสุดาพร  ชูรัตน์ นายฉัตรสุวรรณ  ชูรัตน์ พร้อมทั้งบันทึกกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมร่วมกับ ตัวแทน สจรส. มอ. และคณะพี่ลี้ยงโครงการ เพื่อทำรายงานปิดงวดที่ 1 ที่ศูนย์ สช. 11 สรุปว่าได้ทำกิจกรรมประชุมประจำเดือน และชี้แจงโครงการ นัดแนะทำปุ๋ยหมัก ติดต่อประสานงานทำต่อเนื่อง

     

    3 3

    9. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 ตุลาคม 2557 เวลา 13.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงรายละเอียดและรายงานผลเกี่ยวกับงบงวดแรก และวางแผนต่อเรื่องการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมัก กำหนดวัน เวลา และมอบหมายหน้าที่ทำงานต่อเนื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เตรียมอุปกรณืทำปุ๋ยหมัก ได้แก่ ใยมะพร้าว มูลสัตว์ พด. เพื่อทำปุ๋ยหมักในเดือนหน้า ให้นายประดิษฐ์เป็นผู้ประมาณการวัสดุให้เพียงพอ ให้ครัวเรือนใช้ปุ๋ยหมัก ในแต่ละคุ้ม ใช้ปลุกผัก ให้นางสุจิตรา ติดต่อหาใยมะพร้าว ที่โรงงาน มูลสัตว์ให้นายสมจิตร ประสานงาน ประมาณราคา ส่วนเรื่อง พด. ต้องทำหนังสือไปขอที่หมอดิน ให้นายไพบูลย์ เป็นหมอดินทำหนังสือไปขอจากเกษตร นัดแนะกันอีกครั้งในเดือนต่อไป

     

    18 18

    10. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำโครงการ เพื่อการวางวางแผนการทำงานในการทำกิจกรรมทำแปลงผักสวนครัว ทำสบู่่สมุนไพร น้ำยาเอนกประสงค์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วางแผนและแลกเปลี่ยนความคิดเหช็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ในที่ประชุมได้ปรึกษาหารือชกันว่าเราควรจะทำแลงผักสวนครัวทั้ง 53 หลังซึ่งมี 7 คุ้ม มีคุ้มนาคลองควาย คุ้มตลาดศุกร์ คุ้มในใส คุ้มนาพร้าว คุ้มน้ำขาว คุ้มพังมัด คุ้มฉลองรัฐ และนายฉัตรสุวรรณ ได้เสนอให้คุ้มตลาดศุกร์ซึ่งให้บ้านนางสุดาพรเป็นบ้านที่ทำแปลงผักสวนครัวเป็นแปลงสาธิตให้ผู้เข้าร่วมโครงการแลเพื่อที่จะนำไปทำที่บ่้านของตนเอง ที่ประชุมเห็นด้วย ส่วนเรื่องการทำสบู่่สมุนไพรฝห้นางจินตนาซึ่งเป็นปราชย์ที่อยู่ในหมู่บ้านเป็นวิทยากรและไปติดต่อราคาวัสดุอุปกรณ์ในการทำสบู่สมุนไพรและน้ำยาเอนกประสงค์ที่ร้านค้าและธกส. ส่วนวิทยากรในการทำน้ำยาเอนกประ สงค์ได้ให้นางสุดาพรปราชย์ในหมู่บ้านมาเป็นวิทยากร

     

    18 18

    11. ทำแปลงผักสวนครัว

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแปลงผักสวนครัวได้กำหนดให้ชาวบ้านแต่ละคุ้มบ้าน ทั้้ง7คุ้มไปทำแปลงผักสวนครัวที่บ้านของตัวเองทั้ง 53 คน โดยจะมีกรรมการของโครงการเป็นผู้ตืิดตามและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนรู้จักทำแปลงผักสวนครัวกันเอง และทางโครงการได้เลือกคุ้มบ้านตลาดศุกร์ ซึ่งเป็นบ้านของนางสุดาพรเป็นบ้านสาธิตการทำแปลงผักสวนครัวหลังแรกและทางด้านนางสุดาพรได้เลี้ยงน้ำให้กับผู้้ที่เข้าร่วมแลการทำแปลงผัก และคนที่ิยูข้างบ้านก็ได้เข้ามาแลด้วยและสนใจแล้วเขาก็บอกว่าเขาก็จะทำสักร่องกันไว้ปลูกผักบุ้ง ผักกาดขาวไว้กินเอง เนื่ิงจากราคายางตกต่ำไม่ะอกับรายจ่ายเลย

     

    53 53

    12. อบรมเชิงปฎิบัติการ การทำน้ำยาเอนกประสงค์

    วันที่ 13 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 -16. 00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีวิทยากรในหมู่บ้านมาให้ความรู้ในการทำน้ำยาเอนกประสงค์พร้อมปฏิบัติ โดยการนำส่วนผสมมาใส่กะละมังแล้ว คนไปในทิศทางเดียวกันหลังจากนั้นเติมน้ำล งไปทีละขันแล้วคนจนมันหนืด แล้วมาใส่ในภาชนะที่เตรียมไว้หลังจากนั้นใส่หัวน้ำหอมแล้วคนให้ เข้ากัน และนำมาบรรจุลงใส่ขวดที่เตรียมไว้ ััั

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางจินตนา เป็นวิทยากรซึ่งเป็นปราชย์ในหมู่บ้านได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำน้ำยาเอนกประสงค์พร้อมปฏิบัติให้คนในโครงการดูและลงมือทำกัน  และทางโครงการได้จัดวัสดุอุปกรณ์ในการทำน้ำยาเอนกประสงค์ให้กับคนในโครงการได้ลงมือร่วมกันทำ และในการทำกิจกรรมครั้งนี้ได้มี พัฒนากรอำเภอเข้ามาร่วมด้วย คือนางสารภี และคิดว่าจะจดเป็นสินค้า otop ของบ้านในดอน 

     

    53 53

    13. อบรมการทำสบู่สมุนไพร

    วันที่ 15 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 - 12. 00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการทำสบู่สมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางสุดาพรเป็นวิทยากรมาให้ความรู้และสอนวิธีการทำสบูซึ่งเป็นปราชย์ในหมู่่บ้าน พร้อมกับให้ผู้เข้าร่วมโครงการแบ่งกลุ่มเพื่อที่จะลงมือ กันทำ ขั้นตอนแรกก็นำเกล็ดสบู๋มากวนตั้งไฟให้ละลายจนเหลวและก็ใส่ขมิ้นชัน น้ำผึ้ง ลงไปคนให้เข้ากัน และก็ยกขึ้นจากไฟมา เตรียมพิมพ์ที่จะใส่สบู่ให้เป็นก้อนตามที่เราต้องการ และนำสบูมาเทลงในพิมพ์กว่าสบู่แข็ง และพร้อมที่จะนพไปใช้ได้  หลังจากที่สมาชิกทำกันเป็นแล้วก็บางคนก็เลยพูดกันง่ว่าทีนี้เราทำกันใช้เองโดยที่ไม่ต้องซื้อแล้ว ทำให้ประหยัดรายจ่าย และบางคนก็คิดการณ์ไกลว่าจะทำเป็นสินค้าโอท็อปและลงขายในทางเฟสบุ๊ค และในออนไลน์ต่างๆเพื่อที่จะทำให้มีรายได้เส ิมให้กับครอบครัว

     

    53 53

    14. ทำสบู่สมุนไพร

    วันที่ 17 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางสุดาพร  ชูรัตน์ วิทยากรได้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 53 คน ได้ลงมือปฎิบัติการทำสบู่สมุนไพรโดยมีวัสดุอุปกรณ์ คือ เกล็ดสบู่ น้ำผึ้ง ขมิ้นชัน มะขามเปียก หัวน้ำหอม พร้อมแม่พิมพ์ และภาชนะ
    ขั้นตอนแรก นำเกล็ดสบู่มาตั้งไฟแล้วกวนให้เหลว หลังจากนั้นนำน้ำผึ้ง ขมิ้นชันและน้ำมะขามเปียกมาใส่ลงพร้อมกันแล้วคนให้เข้ากัน หลังจากนั้ก็ปลงจากไฟแล้วจึงนำหัวน้ำหอมมาใส่ลงในสบู่เหลวแล้วคนให้เข้ากันจึงนำมาตักใส่ในแม่พิมพืทิ้งไว้สักพักจึงทำให้สบู่แข็งพร้อมที่จะนำมาใช้ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการทำสบู่สมุนไพรเป็นและสามารถที่จะทำไว้ใช้และสามารถนำไปจำหน่ายและสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวได้

     

    53 53

    15. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 ธันวาคม 2557 เวลา 13:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนกิจกรรมที่จะทำครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงรายละเอียดและสรุปกิจกรรมที่ทำครั้งที่แล้ว และได้มีการกำหนดให้ นายสมจิต เป็นผู้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำน้ำหมัก และที่ประชุมก็เห็นด้วยและให้นายบูรณ์เป็นวิทยากรในการทำน้ำหมัก

     

    18 18

    16. ทำน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 27 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นายบูรณ์ วิทยากรได้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการจัดเตรียมวัสดุพร้อมอุปกรณ์และได้กำหนดหน้าที่ให้แต่ละคน นำผลไม้และผักมาหั่นเป็นชิ้นและนำลงใส่ในถังและใส่น้ำลงไปหลังจากนั้นใส่กากน้ำตาลแล้วคนให้เข้ากันแล้วปิดฝาทิ้งไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำน้ำหมักใช้เองเพื่อลดรายจ่ายและหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี

     

    53 53

    17. อบรมเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์พร้อมปฎิบัติ

    วันที่ 29 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ การปลูกผักและเลี้ยงปลาแบบธรรมชาติ ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการให้ความรู้ว่าการปลูกผักมีหลายวิธี เช่นการปลูกผักในยางรถยนต์ โดยการนำยางรถยนต์มาปลิ้นนอกออกในและใช้มีดที่คมมากรีดเป็นกลีบดอกบัวและหลังจากนั้นก็นำดินมาใส่แล้วเอาเมล็ดผักลงไปปลูก ส่วนเรื่องการเลี้ยงปลาก็ควรเลี้ยงในน้ำที่ไม่มีกลด เพื่อไม่ให้ปลาตาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนปลูกผักไว้กินเองและเลี้ยงปลา โดยลดรายจ่ายและสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวได้

     

    53 53

    18. ทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในแปลงผัก

    วันที่ 30 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้เข้าร่วมโครงการ 53 คน ร่วมกันทำกิจกรรม ปุ๋ยหมัก มีวิทยากรนายจิต นำวัสดุและส่วนผสมลงมาผสมกันแล้วหลังจากนั้นนำน้ำผสมน้ำหมักและกากน้ำตาลรดให้ทั่ว แล้วตรวจสอบความชื้นของปุ๋ยโดยกำไว้ในมือ เมื่อปล่อยมือออกจะจับเป็นก้อนหลอมๆ พอแตะก้อนแล้วแตกเป็นใช้ได้ แล้วเกลี่ยกองปุ๋ยให้เสมอกันให้สูงจากพื้นไม่เกิน 30 ซ.ม.คลุมด้วยกระสอบป่านให้มิดชิด แล้วหลังจากนั้นทิ้งไว้ 3 วันแล้วจึงมาเปิดกระสอบป่านออกแล้วค่อยมาคลุกอีกครั้งหนึ่งแล้วจึงจะนำมาใช้ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการทำปุ๋ยหมักเป็นและลดการใช้สารเคมี อีกทั้งสามารถลดต้นทุนการซื้อปุ๋ย และสามารถสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัว และสามารถแก้ปัญหาผู้ป่วยเรื้องรังได้อีกด้วย

     

    53 53

    19. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 มกราคม 2558 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำโครงการ เพื่อการวางแผนการทำงาน และการวิเคราะห์ สรุปผลของกิจกรรมที่ผ่านมา และผู้รับผิดชอบโครวการได้คุยเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรมที่จะทำในครั้งต่อไป คือ การอบรมเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีครัวเรือน อบรมและเลี้ยงปลาดุก 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้เกี่ยวกับรายละเอียดที่ได้รับการอบรม

     

    18 18

    20. อบรมเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 22 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ,มีวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการทำบัญชีครัวเรือน คือ การลงรายรับรายจ่าย ประจำวันและแบ่งแยกเป็นประเภท ส่วนการบันทึกรายรับคือ จดบันทึกรายการเป็นตัวเงินที่ได้รับเข้ามาทั้งหมด เช่นเงินที่ได้จากการขายสินค้า เงินที่ได้จากการทำงาน เงินเดือน ฯลฯ  ส่วนรายจ่ายบันทึกรายการเป็นตัวเงินที่ได้จ่าย เช่น ค่าอาหารการกิน  ค่าการเดินทาง ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเบ็ดเตล็ด และค่าอื่นๆ และหลังจากนั้นก็นำมาบวกลบกันก็จะออกมาว่ารายได้กับรายจ่ายสมดุลกันหรือไม่ และให้ทำกันทุกวันและนำมาเปรียบเทียบกันทุก 3 เดือน เพื่อหาคุ้มบ้านที่ประหยัดดีเด่นโดยมีคณะกรรมการตรวจสอบและตัดสินในคุ้มบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ช่วยให้ผู้เข้าร่วมโครงการบันทึกความทรงจำที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และรู้ถึงฐานะการเงินในครอบครัว และฝึกนิสัยการทำงานอย่างเป็นระบบและวางแผนงานอย่างเป็นระเบียบ และฝึกให้มีความรับผิดชอบมากขึ้นแถมยังช่วยให้รู้จักประหยัดค่าใช้จ่ายกับสิ่งที่ไม่จำเป็นและกำหนดเป้าหมายทางการเงินที่ชัดเจน

     

    53 53

    21. ถอดบทเรียนโครงการ

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยง สจรส. ได้ให้ผู้รับผิดชอบโครงการได้วิเคราะห์เกี่ยวกับกิจกรรมที่ผ่านมาว่าประสบความสำเร็จและผลที่เกิดหลังจากทำกิจกรรมแล้วกิจกรรมไหนเป็นเรื่องเด่นของโครงการและให้ยกมาเพื่อที่จะไปออกสื่อในรายการของ สสส. และคนอื่นสามารถนำไปปฎิบัติตาม และทางโครงการนำไปต่อยอดครั้งต่อไปได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทราบถึงความสำเร็จของโครงการและสามารถที่จะเป็นแบบอย่างให้กับคนอื่นได้

     

    2 2

    22. อบรมและปฎิบัติการ การเลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้เข้าร่วมโครงการได้เข้าร่วมกิจกรรม โดยได้มีการเลี้ยงแบบ คุ้มละ 1 บ่อ เพื่อช่วยกันดูแลกันระหว่างคุ้มบ้านทั้ง 7 คุ้ม โดยวิธีจัดซื้อพันธุ์ปลาดุก พร้อมอาหาร และก็แนะนำอธิบายเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการเลี้ยงปลาดุกไว้กินและจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัว และสามรถยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

     

    53 53

    23. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13.00 = 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำโครงการ เพื่อการวางแผนการทำงาน และการวิเคราะห์ สรุปผลของกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนงานรับผิดชอบของแต่ละคนที่จะทำในกิจกรรมครั้งหน้า โดยนานสมจิตได้เสนอและแนะนำให้จัดตั้งกองทุนการตลาดในชุมชน กำลังอยู่ในระหว่างการพิจารณา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนมีตลาดรับ ซื้อ ผัก  และทำให้คนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และคาดว่าจะเกิดกองทุนที่รับซื้อผักปลอดสารพิษ เพื่อช่วยให้คนในชุมชนมีรายได้เสริม

     

    18 18

    24. ประชุมแกนนำ ประจำเดือน

    วันที่ 20 มีนาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำโครงการ เพื่อการวางแผนการทำงาน และการวิเคราะห์ สรุปผลของกิจกรรมที่ผ่านมา และสรุปเนื้อหาของกิจกรรมของโครงการพร้อมกับผลที่ได้รับว่าได้ผลดีอย่างไร ในการสรุปครั้งนี้ก็มติของแกนนำมาสรุปได้ว่าได้ผลดีเพราะกิจกรรมที่เราทำกันนั้นล้วนแต่เป็นแบบเศรษฐกิพอเพียง และสามารถช่วยชาวบ้านได้มากและยืนด้วยลำแข้งเองได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้วิถีแบบพอเพียง สามารถช่วยให้ครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทำให้ลดปัญหายาเสพติด และการแตกแยกของครอบครัว สมารถลดปัญหาสารเคมีได้ด้วยทำให้จำนวนผู้ป่วยเรื้อรังลดลง

     

    18 18

    25. ประชุมแกนนำเพื่อสรุปผลการจัดทำโครงการ

    วันที่ 25 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบได้กล่าวเปิดประชุมและจัดทำเอกสารเพื่อรอเผยแพร่และผลจากการทำกิจกรรมในโครงการนั้นทำให้คนเปลี่ยนพฤติกรรมหลายด้านไม่ว่าจะเป็นการกินหรือการใช้ก็ดีขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น โดยการกินก็ลลหันมากินผักปลอดสารพิษ ทำให้มีการลดผู้ป่วยเรื้อรัง เช่นความดัน เบาหวานเพราะได้มีการตวจคัดกรองจาก อสม ในหมูบ้านได้มีการเจาะเลือดและคีดกรองผู้้ป่วยเรื้อรัง สามเดือน ต่อ หนึ่งครั้ง

     

    53 53

    26. จัดเวทีชุมชน เพื่อสรุปผลของโครงการทั้งปี

    วันที่ 15 เมษายน 2558 เวลา 13:00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการพร้อมกับแกนนำของโครงการได้ชี้แจงรายละเอียดและสรุปผลโครงการและกิจกรรมที่ทำมาว่าได้ผลมากและกิจกรรมที่ทำในโครงการเป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นที่ยอมรับและผู้เข้าร่วมประชุมสนใจที่จะนำไปใช้ในครอบครัวด้วย ทำให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจเกี่ยวกับ รายละเอียดขั้นตอนและงบประมาณในการทำกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

     

    200 200

    27. ประชุมแกนนำประจำเดือน

    วันที่ 20 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุผลกิจกรรมที่ดำเนินการมาระยะเวลา1ปี ได้ผลสำเร็จดี โดยคนใ้ช้ชีวิตแบบวิถีเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและได้ข้อสรุปที่ได้จากการทำกิจ กรรมของโครงการในแต่ละครั้งของโครงการ ว่าผู้เข้าร่วมโครงการตอนนี้ได้พึ่งพาตนเองได้แ ล้ว ชโดยมีผักไว้กินเองและเหลือจากกิน ก็สามารถที่จะนำไปขายสร้างรายได้เ สริมให้กับครอบครัว และโครงการก็มีการตอบรับที่ดีโดยคนในหมชูบ้านก็ปลูกผักไว้กินเองด้วน

     

    18 18

    28. ทำเอกสารสรุปผลปิดโครงการ

    วันที่ 30 เมษายน 2558 เวลา 13. 00 -16. 00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สุปและจัดทำเอกสารปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จะมีการสานต่อของกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง และผู้เข้าร่วมโครงการมีอาชีพเสริม

     

    18 18

    29. ล้างอัดรูป เพื่อทำรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 30 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อัดล้างรูป จัดทำเอกสารเพื่อเข้าเล่มส่ง สสส. 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำเอกสารพร้อมที่จะส่ง สสส.  พร้อมกับล้าง อัด รูป

     

    2 2

    30. นำเอกสารมาให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงตรวจสอบเอกสาร และรายงานที่แกนนำบันทึกลงระบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการบันทึกข้อมูลผิดพลาด และรายงานทางการเงินที่ต้องแก้ไขให้ถูกต้องตรงกับที่เกิดขึ้นจริง

     

    2 2

    31. ทำรายงานปิดงวด และสรุปผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงตรวจสอบเอกสาร แกนนำ ได้อธิบายรายละเอียดของกิจกรรมหลัก ๆ ที่จะเสริมสร้างศักยภาพของพื้นที่ในการสานต่อโครงการต่อไป และผลสัมฤทธิ์ของโครงการแต่ละด้านเพื่อวิเคราาะห์และสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งปีที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบรายงาน และหลักฐานทางการเงิน มีความถูกต้อง และสามารถสรุปผลการดำเนินกิจกรรมแต่ละด้านได้เป็นอย่างดี

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนในคุ้มบ้านได้เรียนรู้การทำเกษตรปลอดสารเคมีบนพื้นฐานบ้านเศรษฐกิจพอเพียง
    ตัวชี้วัด : 1. มีคุ้มบ้านเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 7 คุ้ม 2. มีการเรียนรู้การทำเศรษฐกิจพอเพียงตามคุ้มบ้านทุกเดือน

    มีคุ้มบ้านเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 7 คุ้ม มีการเรียนรู้การทำเกษตรพอเพียงตามคุ้มบ้านทั้ง 7 คุ้มทุกเดือน

    2 เกิดการรวมกลุ่มพัฒนาผลผลิตมีกลไกการตลาดและเกิดรายได้ของครอบครัว
    ตัวชี้วัด : 1. มีการจัดทำบัญชีครัวเรือนในกลุ่มของคุ้มบ้าน 44 บ้าน 2. เกิดกลไกการจัดการตลาด มีตลาดจำหน่ายผลิตผลจากครัวเรือน อย่างน้อย 10 แห่ง (ตลาดนัด และร้านค้า ในตำบล)

    มีการจัดทำบัญชีครัวเรือนในกลุ่มของคุ้มบ้านทั้งหมด 44 บ้าน และได้เกิดกลไกการจัดการตลาด มีตลาดจำหน่ายผลผลิต เช่นตลาดนัด และร้านค้าในตำบลพร้อมกับตลาดเปิดท้าย จำนวน 10 แห่ง

    3 เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1.จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส.มอ. หรือ สสส. 2. จัดทำรายงานปิดงวดของโครงการ 3. ร่วมตรวจสอบอกสารหลักฐานการงินและการทำกิจกรรม ร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ 4. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ ประจำปี

    ทางโครงการได้เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.มอ และ สสส.จำนวน 4ครั้ง  และได้ร่วมกันตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงินและการทำกิจกรรม ร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ และจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ ประจำปีอย่างเสร็จสมบูรณ์

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในคุ้มบ้านได้เรียนรู้การทำเกษตรปลอดสารเคมีบนพื้นฐานบ้านเศรษฐกิจพอเพียง (2) เกิดการรวมกลุ่มพัฒนาผลผลิตมีกลไกการตลาดและเกิดรายได้ของครอบครัว (3) เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านในดอน

    รหัสโครงการ 57-01469 รหัสสัญญา 57-00-0962 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    มีการทำน้ำหมักในรูปแบบใหม่ จากปัจจุบันที่ใช้ผักและผลไม้ที่เน่าเสีย หรือเหลือบริโภค มาเป็ฯการใช้กุ้ง หอย ปู ปลา ที่เน่าเสียจากตลาด หรือจากการออกเรือ มาเป็ฯวัตถุดิบ และมีการพัฒนารูปแบบการเพาะปลูกในรูปปแบบออร์แกนนิค เพื่อเพิ่มคุณค่าและเพิ่มมูลค่าให้กับพืชผลเกษตรมากขึ้น รวมทั้งการปลูกในกระสอบปุ๋ย และการปลูกในกระถาง เพื่อควบคุมวัชพืช และให้พืชได้รับอาหารที่เพียงพอ

    มีการทำน้ำหมัก ในรูปแบบใหม่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ครัวเรือน และกำลังเป็นที่นิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

    อาจจะมีการต่อยอดในการสร้างโรงเรือนเพื่อการปลูกพืชออร์แกนนิค เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรให้มากขึ้นและแพร่หลาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    ได้เกิดกลุ่มน้ำหมักที่เกิดจากการพัฒนา จากน้ำหมักจากพืชผักและผลไม้มาเป็นการใช้ เศษอาหารทะเลที่เหลือจากการขาย หรือจากการคัดทิ้งของเรือหาปลา

    มีการจัดกลุ่ม ทำน้ำหมักจากเศษกุ้ง หอย ปู ปลา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดโครงสร้างใหม่ ทางการพัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์ โดยการปลูกพืชออร์แกนนิค ในกระถาง ในกระสอบ เพื่อการควบคุมวัชพืช

    เกิดกลุ่มเกษตรอินทรย์แบบใหม่ขึ้นอย่างน้อย 2 กลุ่ม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เกิดกลุ่มเล็ก ๆ ขึ้น คือบ้านนางกรรณิการ์  อินทรสุวรรณ เพื่อการเพาะปลูกพืชในกระถาง และในกระสอบ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ชาวบ้านได้มีการตระหนักเรื่องสุขภาพมากขึ้น โดยการหันมาบริโภคผักปลอดสารพิษ และการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการตนเองและครัวเรือน

    สุขภาพ กายและใจของคนในชุมชนดีขึ้น

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    ได้มีการตระหนักเรื่องเภทภัยของบุหรี่มากขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรม และเห็นแผ่นป้าย ละ ลด เลิกบุหรี่ของ สสส.

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ชาวบ้านเริ่มหันมาใส่ใจในสุขภาพของตนเองมากขึ้น จากการเข้าร่วมกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ และการเพาะปลูกพืชผัก โดยไม่ใช้สารเคมี

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    มีการเปลี่ยนพฤติกรรมของครัวเรือน หลังจากการร่วมกิจกรรม โดยเฉพาะบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรม ทำบัญ๙ีครัวเรือน และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ

    คนที่เข้าร่วมทำบัญ๙ีครัวเรือนมีรายได้สุทธิเพิ่มมากขึ้นจากการจำกัดค่าใช้จ่ายที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ เช่น พ่อบ้านที่ดื่มสุรา และลูก ๆ ที่กินแต่อาหารถุงตามร้านสะดวกซื้อต่าง ๆ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ในสมาชิกที่เข้ากลุ่ม มีการลดการใช้สารเคมีที่ใช้ในการเพาะปลูกพืชลดลงกว่าเมื่อก่อน เนื่องจากเห็นประโยชน์ของการบริโภคพืชปลอดสารพิษ จากการที่ตัวเองเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่ม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    เกิดกลุ่มใหม่ ๆขึ้น เช่นกลุ่มเพาะปลูกพืชในกระถาง ในกระสอบ และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้เกิดขึ้นในการทำการเกษตรรูปแบบใหม่ ๆ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีกติกาชุมชนในเรื่องการจัดตั้งกองทุนชุมชนที่เกิดจากผลผลิต จากการทำเกษตรปลอดสารเคมี ที่นำผลผลิตไปขายยังตลาดและเกิดกำไร

     

    มีชาวบ้านหันมาสนใจที่จะเข้ามามีส่วนร่วมลงทุนในกองทุนนี้มากขึ้น แต่กลุ่มยังไม่พร้อมกับการรองรับขนาดที่ใหญ่ขึ้น โดยไม่มีพื้นฐานของการจัดการที่ดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีเครือข่ายระหว่างชุมชน ของคนที่เห็นข้อดีของกิจกรรม และมีการประสานงานระหว่างคนเก่าและคนใหม่ ในการนำความรู้มาพัฒนา ต่อยอดของการเพาะปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ชาวบ้านและคนในชุมชน เริ่มรู้จักการวางแผน การคิด การวิเคราะห์ ในเรื่องการทำงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น จากการเข้าร่วมกิจกรรม และการเข้าร่วมประชุมประจำเดือน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    เกิดการใช้ปราชญ์ชุมชนให้เกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าของคนเหล้านั้นให้เกิดขึ้น และรู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่าต่อคนรุ่นหลังมากขึ้น

    ลูก ๆ หลาน ๆ ได้เริ่มรู้สึกถึงการให้ความสำคัญต่อบุคคลเหล่านี้ และมีการไปมาหาสู่ เพื่อขอข้อมูลต่าง ๆ มากขึ้น สร้างความสัมพันธืที่ดีระหว่างรุ่นต่อรุ่นมากขึ้น

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้อย่างง่าย ๆ ขึ้นในชุมชน เพื่อเป็ฯแหล่งในการศึกษาหาความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ของเด็ก ๆ หรือของผู้ที่สนใจในการต่อยอดความรู้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    การร่วมกันทำกิจกรรม เป็นการสร้างกลุ่ม และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นระหว่างคนที่เข้าร่มกิจกรรมด้วยกันเป็นอย่างดี ทุกคนมีความสุขและเกิดความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านในดอน จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 57-01469

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกรรณิการ์ อินทรสุวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด