directions_run

ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง) ”

บ้านหินเภาพัฒนา หมู่ที่ 17 ต.รับร่อ อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร 86190

หัวหน้าโครงการ
นางจุฑารัตน์ โสเสมอ 087-281-0484

ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง)

ที่อยู่ บ้านหินเภาพัฒนา หมู่ที่ 17 ต.รับร่อ อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร 86190 จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 57-01497 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0943

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง) จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านหินเภาพัฒนา หมู่ที่ 17 ต.รับร่อ อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร 86190

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านหินเภาพัฒนา หมู่ที่ 17 ต.รับร่อ อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร 86190 รหัสโครงการ 57-01497 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 162,450.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีเพราะใช้ปุ๋ยที่ผลิตเอง มีผลผลิตเพิ่มขึ้น สร้างแกนนำเพิ่มเพื่อเผยแพร่สู่กลุ่มอื่น
  2. เพื่อบริหารติดตามผลการดำเนินงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ เรื่องการเก็บข้อมูลทางบัญชี และทำความเข้าใจเรื่องการทำรายงานและการเงินพร้อมทั้งเรียนรู้การทำปฏิทินการทำงานในโครงการ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00-17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แนะนำรายละเอียดการดำเนินโครงการในเรื่องรายละเอียดต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจในการบันทึกโครงการมากขึ้นเนื่องจากในปีนี้มีการจัดทำหนังสือขั้นตอนการเข้าทำงานในการนำเสนอโครงการที่ถูกต้องมากขึ้น

     

    2 2

    2. จัดประชุมชี้แจงโครงการในเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน

    วันที่ 28 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการในเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านโดยมีนายกอบต.รับร่อและทีมบริหารเข้าร่วมประชุม ให้ข้อคิดเห็นและยินดีที่ประชาชนสามารถจัดทำโครงการได้ และผู้ใหญ่หมู่ที่17 ได้อนุญาตให้ใช้พื้นที่สาธารณะในการปลูกพืชผักตามกิจกรรมโครงการ พี่เลี้ยงชี้แจงรายละเอียดโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานอธิบายรายละเอียดของกิจกรรมและเปิดรับสมัครสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีสมาชิกสมัครเข้าร่วมโครงการ 50 คนและเปิดรับสมัครต่อโดยประกาศเสียงตามสายของหมู่บ้านต่อไป
    2. มีการคัดเลือกแกนนำ 15คน

     

    250 65

    3. จัดประชุมวางแผนแนวทางปฏิบัติในกลุ่มหินเภา สร้างระเบียบ และกำหนดกลุ่ม

    วันที่ 26 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. รับสมัครสมาขิกเพิ่ม ประกาศเยงตามสายในหมู่บ้าน
    2. คัดเลือกแกนนำ 15 คนเพื่อจะได้กระจายงาน
    3. สร้างวินัยการออมทุกเดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมทั้ง 150คน ร่วมเป็นสมาชิกหมดทุกคน ซึ่งเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มไก่ไข่ กลุ่มทำปุ๋ย และกลุ่มแปรรูปผลผลิตจากมะพร้าวและการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้มีสมาชิกกลุ่มละ 50 คน

     

    150 150

    4. จัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ในการทำปุ๋ย

    วันที่ 1 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเตรียมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ที่จะใช้ในการอบรมในวันที่ 1พ.ย. 57 โดยการนำเมล็ดมะละกอฮอแลนด์และพริกไปเพาะในหลุมเพาะพันธุ์ต้นกล้าเพื่อแจกสมาชิกในวันอรมให้ความรู้ พร้อมทั้งการเตรียมปุ๋ยหมักไว้แจกสมาชิกผู้ปลูกผักปลอดสารพิษและอีกส่วนหนึ่งนำเป็นชุดสาธิตให้กับสมาชิกในการปลูกพืชผักต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ได้ครบถ้วน มีรายการดังนี้ 1)มะละกอฮอแลนด์  1000บาท 2)หน่อกล้วย  7500 บาท 3)ค่าน้ำมัน    2000 บาท 4)ถังหมัก      7500 บาท 5)กากน้ำตาล  1500 บาท 6)พันธ์พริก      1000 บาท 7)พืชสมุนไพร  4000 บาท และทีมงานได้ประสานปราชญ์ชาวบ้านเพื่อจัดเตรียมต้นกล้าไว้สำหรับสมาชิกในวันประชุมจริง

     

    3 3

    5. อบรมให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ไข่และขยายพันธ์และการทำปุ๋ยและน้ำหมักแก่สมาชิกใหม่

    วันที่ 16 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีวิทยากรให้ความรูเรื่อง 1.การทำปุ๋ยใช้เองในครัวเรือน 2.แนวทางการสร้างอาชีพจากการปลูกกล้วยหอมทองและการบำรุงรักษาการตลาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีวิทยากร2ท่านมาให้ความรู้เรื่อง 1.การทำปุ๋ยหมักใช้เอง 2.การทำนำหมักจากพืชที่เรามีอยู่ในบ้านใข้ในบ้านเราเอง 3.การเตรียมตัววางแผการดูแลการปลูกกล้วยหอมทองเป็นอาขีพสร้างรายได้แบบปลอดสารส่งประเทศญี่ปุ่นโดยวิทยากรจากสหกรณ์นิคมท่าแซะมาให้ความรู้และแนวทาง

     

    150 130

    6. ส่งรายงานสจรส.

    วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบรายงานกิจกรรม รายงานการเงินและบัญชี 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการจัดรายงานตามผลของกิจกรรมและตรวจสอบรายงานการเงินและบัญชี พร้อมทั้งคืนเงินเปิดบัญชี 

     

    3 3

    7. อบรมให้ความรู้เรื่อง- การปลูกพืชผักที่สร้างรายได้ เช่นมะละกอ พริก กล้วยหอมทอง เสริมในแปลงพืชเศรษฐกิจ

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมสมาชิกในเรื่องประโยชน์ของมะละกอที่ใช้ในการรับประทานทั้งที่สด การทำอาหาร การแปรรูปต่าง ๆเช่นการทำซอสพริก  แยม และการนำไปขายทั้งตลาดพื้นที่และการส่งไปขายกับประเทศมาเลเซียด้วยการเข้ากลุ่มกับผู้ค้าในจังหวัดนครศรีธรรมราช  นอกจากนี้วิทยากรได้สอนวิธีการปลูกต้นมะละกอที่ถูกต้อง การใช้ปุ๋ยชีวภาพ และการสังเกตุต้นที่ปลูกว่าเป็นตัวเมีย(ดอกจะตรง ได้ลูกไว้กินหรือขายภายในท้องถิ่น)และดอกกระเทย(มีดอกทะแยงมีลูกหลายลูกต่อช่อขายส่งได้ราคาดี) พร้อมทั้งแจกพันธุ์ต้นมะละกอและต้นพริกที่เพาะพันธุ์ไว้แล้ว ตลอดจนสาธิตวิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์จากมูลสัตว์ แกลบและขุยมะพร้าว และทำปุ๋ยหมักชีวภาพ พร้อมทั้งสาธิตวิธีการทำซ๊อสพริกจากมะละกอสุกและพริกใหญ่สีแดง และการทำกล้วยหอมทองฉาบ ปรุงรสต่าง ๆ ตามการตลาดเช่นเนยหวาน รสปาปรีก่า รสปลาร้า เป็นต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกมีความเข้าใจในการปลูกพืชผักให้ปลอดสารพิษ และใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยหมักที่ทำกันเองในท้องถิ่น การแปรรูปมะละกอและกล้วยหอมทอง รวมทั้งการประสานการตลาดกับวิทยาลัยเกษตรตะโกในการตลาดสิ่งแปรรูป สมาชิกมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้ไปใช้และจะทำให้ตนเองมีรายได้ไร่ละ 3ล้านจากการปลูกมะละกอ (วิทยากรบอก) เพื่อได้ปลดหนี้ครัวเรือนของตนเองได้ พร้อมทั้งได้รับต้นมะละกอไปคนละ 150 ต้น

     

    150 150

    8. ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามผลการแจกพันธุ์ต้นมะละกอ และต้นกล้วยหอมทองแก่สมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกกลุ่มได้รับต้นอ่อนมะละกอฮอร์แลนด์คนละ100 ต้น และกล้วยหอมทอง50ต้น นำไปปลูกในพื้นที่ของตนเอง และมีการฟื้นฟูแปลงพิชผักสมุนไพร ผักสวนครัวและผลไม้ของครอบครัวตนเอง มีทีมงานรับผิดชอบติดตามความก้าวหน้าต่อไป

     

    15 17

    9. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มและคณะทำงาน

    วันที่ 9 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมคณะกรรมการกลุ่มร่วมกับแกนนำชุมชน ในการจัดกิจกรรมพัฒนาพื้นที่สาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการปลูกต้นมะละกอและกล้วยหอมทองในแปลงพื้นที่ของวัดบริเวณเชิงเขา ทุกคนร่วมกันพัฒนาวัดมีการถางป่าและตัดหญ้า เก็บขยะ และเตรียมพื้นที่สำหรับการจัดพิธีวันพ่อแห่งชาติในวันที่ 5 ธันวาคม 

     

    15 50

    10. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มและคณะทำงาน

    วันที่ 9 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามผลการดำเนินการในการปลูกพืชสมุนไพร กล้วยหอมทองและมะละกอ พร้อมทั้งติดตามการดูแลแปลงพืชและใส่ปุ๋ยหมักในสวน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการมอบหมายให้คณะกรรมการติดตามผลจำนวน 3 คนที่เป็นปราชญ์ชาวบ้าน ประกอบด้วยลุงฉิ่ง ป้าบล และน้องเล็กทำหน้าที่ให้คำแนะนำ อำนวยความสะดวก สนับสนุนสมาชิกกลุ่มและจัดทำพื้นที่ของตนเองให้เป็นต้นแบบในการปลูกพืชปลอดสารพิษและเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสานภูมิปัญญาไทย

     

    15 15

    11. ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการเพื่อจัดทำร่างกติกากลุ่ม และเตรียมมอบหมายงานในการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิกกลุ่มและประชาชนทั่วไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดทำร่างกติกากลุ่มด้วยการกำหนดว่าสมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีการออมกับชุมชนทุกเดือน ๆ 100 บาทในกองทุนที่มีอยู่อย่างสมำ่เสมอ (ดูตามสมุดเงินฝาก) ร่วมกิจกรรมทุกครั้งที่ดำเนินการและสามารถส่งตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมได้ การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้และพืชสมุนไพรอย่างน้อยห้าชนิดต่อครัวเรือน และมีการใช้เกษตรอินทรีย์ ตลอดจนบุคคลในครัวเรือนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลด-ละ-เลิกบุหรีได้

     

    15 30

    12. เข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนกับทีมสสส.

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียน โดยการเล่าเรื่องของชุมชนและการพัฒนาชุมชนต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมงานได้เล่าเรื่องที่มาจากชุมชนเป็นชุมชนแบบหลากหลายวัฒนธรรมที่อยู่ร่วมกันแต่สามารถพัฒนาชุมชนได้โดยการมีทีมนำชุมชนที่เข้มแข็ง มีการประชุมหมู่บ้านทุกเดือนมีผู้ใหญ่บ้านเป็นคนจังหวัดสงขลา ผู้ช่วยผู้ใหญ่จากจังหวัดศรีสะเกษ  อบต.จังหวัดนครศรีธรรมราช และนายกอบต.เป็นคนชุมพร เป็นต้น มีพื้นที่สาธารณะที่ทุกคนมีส่วนร่วมกันพัฒนาและหวงแหน มีนำ้ตกทรายอ่อนที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่งดงาม มีวัดและสำนักสงฆ์เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจคน 2 แห่ง เป็นต้น ประกอบกับประชาชนรวมตัวกันได้เมื่อมีกิจกรรมต่างๆ เป็นอย่างดี มีการคิดค้นนำพืชผักในชุมชนแปรรูป เช่น หญ้าหวานทำเป็นชาชง  ใบกระท่อมมาเลย์ลดความดัน/เบาหวาน เป็นต้น

     

    2 2

    13. อบรมให้ความรู้เรื่องการแปรรูปมะพร้าวสกัดเย็นโดยการทำสบู่ ครีมถนอมผิว น้ำยาล้างจาน ใช้ในครัวเรือน และจัดจำหน่ายสร้างรายได้ต่อไป

    วันที่ 7 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้เรื่องการแปรรูปมะพร้าวสกัดเย็นโดยการทำสบู่ ครีมถนอมผิว น้ำยาล้างจาน ใช้ในครัวเรือนและจัดจำหน่าย สร้างรายได้ต่อไป สาธิตวิธีการแปรรูปมะพร้าวสกัดเย็นโดยการทำสบู่ ครีมถนอมผิว น้ำยาล้างจาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกได้นำความรู้และผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปใช้ในครัวเรือน และจัดจำหน่ายเพื่อสร้างได้ต่อไป

     

    150 150

    14. จัดประชุมคณะกรรมการกลุ่มที่จัดตั้งไว้เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

    วันที่ 9 มีนาคม 2558 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแผนการปฏิบัติงาน การจัดเตรียมสถานที่ การกำหนดกิจกรรมย่อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกกลุ่มมีการจัดกิจกรรมในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทั้ง 3 กลุ่มในการทำกิจกรรมตั้งแต่การเลี้ยงไก่ไข่พร้อมทั้งการขยายพันธ์ุให้ได้จำนวนเพิ่มมากขึ้นให้เพียงพอกับการบริโภคในครัวเรือนลดการซื้อจากภายนอก  การทำปุ๋ยหมักจากพืชผักที่ถูกคัดเกรด มูลสัตว์และขยะครัวเรือน แล้วนำไปใช้กับแปลงผักและพืชสวน การเตรียมความพร้อมในการทำนำ้ยาอเนกประสงค์ใช้เองเพื่อลดต้นทุนครัวเรือน พร้อมทั้งหาแนวทางการลงแรงกันเมื่อทำงานและสวนเพื่อลดต้นทุน การเก็บออมแต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ เป็นต้น โดยประสานการประชาสัมพันธ์ทุกวันที่มีการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน

     

    15 35

    15. พบพี่เลี้ยงเพื่อสรุปกิจกรรม และปรึกษา

    วันที่ 1 เมษายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการปรึกษาหารือ ถึงผลสรุปกิจกรรมที่ผ่านมา และปัญหา อุปสรรค ที่เกิดขึ้นในช่วงของการทำกิจกรรมนั้น ๆ และปรึกษาหารือถึงวิธีการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น และ สรุปผลงานที่ผ่านมาให้พี่เลี้ยงรับทราบ และขอคำแนะนำเพิ่มเติม เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง หรือยังไม่สมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงให้คำแนะนำถึงการสรุปกิจกรรม การต่อยอดโครงการครั้งต่อไป  และการวางแผนการดำเนินงาน  การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละกลุ่มรับผิดชอบ การกำหนดการส่งกิจกรรม และการสรุปกิจกรรม

     

    3 3

    16. ประชุมการวางแผนการสรุปกิจกรรม การดำเนินงานที่ผ่านมา

    วันที่ 9 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานได้แจ้งให้สมาชิกทุกคนได้รับทราบถึงวัตถุประสงค์ และ เหตุผลในการจัดประชุมในวันนี้ว่า เนื่องจาก สสส. กำหนดให้ในวันที่ 30 เม.ย. 58 เป็นวันปิดสรุปโครงการ  และต้องนำส่งผลงานที่สมาชิกได้ร่วมกันจัดทำขึ้นมา และผลประโยชน์ต่าง ๆ ที่สมาชิกทุกคนได้รับจากการทำกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และสิ่งที่เราสามารถนำมาทำเป็นกิจกรรมต่อยอดได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับมอบหมายงานทุกกลุ่มนำผลการดำเนินงานมาสรุป นำผลการคัดเลือกผลงานของแต่ละกลุ่มรวบรวมเป็นรายงานเพื่อนำเสนอเป็นฉบับร่างให้คณะกรรมการโครงการทั้งหมดและผู้บริหารทราบเพื่อที่จะนำเข้าชี้แจงในวันที่ปิดโครงการประกอบด้วยกลุ่มพืชผักปลอดสารพิษ มะพร้าวสกัดเย็นที่ทำเป็นผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องเป็นสบู่ ยาสระผมและนำ้ยาล้างจาน และกลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ มีการนำผลิตภัณฑ์ออกจำหน่าย เป็นต้น

     

    15 30

    17. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิกกลุ่ม แกนนำชุมชนและประชาชนที่สนใจเข้าร่วมประชุมเพื่อนำเสนอผลงานดีๆ ของตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเองในชุมชน

    วันที่ 24 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิกกลุ่มแกนนำชุมชน และประชาชนที่เข้าร่วมประชุม นำเสนอผลงานดี ๆ ของตนเอง ในการดูแลสุขภาพด้วย 3 อ.และไม่2ส.ด้วยการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษกินเอง การทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพโดยหมอดินและปราชญ์ชาวบ้าน การออกกำลังกายด้วยการเดินและร่วมปั่นจักยานกับทีมชุมพร การเข้าวัดปฏิบัติธรรมและการลด-ละ-เลิก หวย(การพนัน) เหล้าและบุหรี่ มีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในชุมชน นำผลการทำบัญชีมาวิเคราะห์เปรียบเทียบก่อนและหลังการทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกมีความรู้ในการอยู่อย่างพอเพียงกินทุกอย่างที่ปลูก/ปลูกทุกอย่างที่กิน การประหยัด การออม การช่วยเหลือกันด้วยการลงแรงในการทำสวน และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่น และกลุ่มอื่นได้ แกนนำชุมชนทำครัวเรือนตนเองให้เป็นต้นแบบกับชุมชนได้ 12 ครัวเรือน

     

    300 300

    18. ประชุมสรุปบทเรียน และผลการดำเนินงานโครงการให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน

    วันที่ 25 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานกลุ่ม แจ้งผลการดำเนินงานที่ผ่านมา พร้อมทั้งจัดทำเอกสารเผยแพร่สู่ชุมชน สรุปผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาหมู่บ้าน โดยมีการออมเกิดขึ้นภายในหมู่บ้านหินเภาพัฒนา โดยมีการจัดตั้งกองทุนวันละบาทขึ้น เพื่อเป็นการออมให้เกิดขึ้นภายในหมู่บ้าน และประชาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น โดยการกำหนดให้สมาชิกสามารถกู้เงินจากกองทุนวันละบาทได้ 3 เดือน/ครั้ง โดยการหมุนเวียนกันไป ซึ่งกำหนดดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 บาท/เดือน  ในวงเงินไม่เกิน  2,000.00 บาท/ครั้ง  ซึ่งมีกำหนดระยะการชำระหนี้ภายใน 3 เดือน (มีการนำส่งพร้อมกันทั้งต้นและดอก) และหมุนเวียนกันไปเเรื่อย ๆ โดยกองทุนวันละบาทนี้จะเริ่มวันที่ 2 พ.ค. 58 เพื่อเป็นทุนการศึกษาเล่าเรียนให้กับบุตรหลานของสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกทุกคนรับทราบ และเห็นด้วยกับกิจกรรมกองทุนวันละบาท  ทำให้ประชาชนมีชีวิตที่ดีขึ้นมีเงินทุนพอหมุนเวียนได้ในชุมชนเพื่อเป็นทุนการศึกษาเล่าเรียนให้กับบุตรหลานของสมาชิก พร้อมทั้งสร้างนิสัยการออมให้กับคนในชุมชน ประชาชนร่วมกันเลือกตัวแทนจาก 3 กลุ่มบ้านเข้าร่วมสภาแกนนำอาชีพบ้านหินเภาที่มีนางจุฑารัตน์ โสเสมอเป็นประธาน  นางสุทิศา  พรมชัยศรีเป็นเหรัญญิก(เดิมมี 15 คน)และมีตัวแทนกลุ่ม3 กลุ่มบ้าน(กลุ่มคลองพละ/คลองนำ้แดง/โป่งเงาะ)กลุ่มละ 2 คนรวมทั้งหมด 21 คน ปฏิบัติตนตามที่ได้ดำเนินการไปแล้ว และอยากจะต่อยอดโครงการต่อไป

     

    300 250

    19. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการโครงการ สรุปผลการดำเนินงานโครงการทั้งหมด และแจ้งในที่ประชุมหมู่บ้านทราบเพื่อการดำเนินงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการมีการสรุปผลการดำเนินงานโครงการทั้งหมด ตั้งแต่ การจัดตั้งกลุ่มไก่ไข่ที่มีการขยายพันธ์ไก่ให้กับชุมชน ครอบครัวได้กินไข่มากขึ้น ไม่ต้องซื้อทำให้ลดค่าใช้จ่ายครัวเรือน  กลุ่มทำปุ๋ยมีการรวมกลุ่มซื้อส่วนผสมของการทำปุ๋ยได้ราคาถูกลงและนำกากอาหาร/ขี้หมู/ขี้ไก่มาเป็นส่วนผสมโดยไม่ต้องซื้อและมีการทำนำ้หมักชีวภาพใช้ในสวนผลไม้ของตนเอง มีการปลูกพืชผักสวนครัว/สมุนไพรที่ใช้ในครัวเรือน และพืชเศรษฐกิจ เช่นพริก มะละกอ /กล้วยหอมทองไว้ใช้เองและขายได้  พร้อมทั้งมีการประสานกลุ่มเครือข่ายเพื่อขายกล้วยหอมและมะละกอให้กับกลุ่มผู้รับซื้อแล้วเพื่อเตรียมส่งประเทศไต้หวันและจัดตั้งคณะทำงานผู้รับผิดชอบในกลุ่มเพื่อการส่งออก โดยมีนางจฑารัตน์  โสเสมอ  เป็นหัวหน้า นางสุทิศา พรมชัยศรี เป็นเหรัญญิกและนายสุนทร  ทิพภัคดี เป็นฝ่ายการตลาด และมีทีมงานอีก 4 คน

     

    15 25

    20. คณะทำงานจัดทำรายงานเสนอพี่เลี้ยง

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการและทีมงานในการสรุปผลการดำเนินการทั้งหมดเพื่อเสนอให้พี่เลี้ยงโครงการตรวจสอบและจัดทำรายงานฉบับสมบรูณ์เพื่อส่งสจรส.มอและสสส.ต่อไป ติดตามผลการปลูกมะละกอและกล้วยหอมในแปลงสาธิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานสรุปผลการดำเนินงานทั้งหมด ติดตามดูแปลงกล้วยและมะละกอ ถ่ายภาพกิจกรรม การจัดทำรายงานการเงินและบัญชี พร้อมทั้งการรายงานทางเว็บไซด์คนใต้สร้างสุข พร้อมทั้งมอบหมายให้ทีมงานตรวจสอบ นำเสนอพี่เลี้ยงโครงการตรวจสอบ เพื่อที่จัดทำรายงานเป็นฉบับสมบูรณ์ส่งสจรส.มอ.ต่อไป

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีเพราะใช้ปุ๋ยที่ผลิตเอง มีผลผลิตเพิ่มขึ้น สร้างแกนนำเพิ่มเพื่อเผยแพร่สู่กลุ่มอื่น
    ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการกลุ่ม 1.2 เกิดสภาแกนนำอาชีพบ้านหินเภา 1.3 ประชาชนสามารถลดภาระหนี้สินได้ 50%
    1. ชุมชนมีส่วนร่วมคัดเลือกคณะกรรมการโครงการ มอบหมายหน้าที่ วางแผนงาน มีการประชุมอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารจัดการกลุ่มและส่งเสริมการตลาด สมาชิกได้รับผลประโยชน์ร่วมกันที่สามารถนำเงินส่วนร้อยละ20ของกลุ่มใช้ในการศึกษาบุตรตามที่มีกติกากำหนด
    2. เกิดสภาแกนนำอาชีพบ้านหินเภา มีคณะกรรมการที่เป็นต้วแทนจากกลุ่มต่างๆรวมทั้งหมด 21 คน โดยมีการประชุมและจัดการกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
    3. ประชาชนสามารถลดภาระหนี้สินได้ ร้อยละ 40 และเป็นครัวเรือต้นแบบ จำนวน 12 ครัวเรือน
    2 เพื่อบริหารติดตามผลการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. หรือ สจรส.

    ทีมผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมปฐมนิเทศ ปรึกษาพี่เลี้ยงและเข้าร่วมถอดบทเรียนกับทีมงานสจรส.มอ.และสสส.รวมทั้งหมด 4ครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีเพราะใช้ปุ๋ยที่ผลิตเอง มีผลผลิตเพิ่มขึ้น สร้างแกนนำเพิ่มเพื่อเผยแพร่สู่กลุ่มอื่น (2) เพื่อบริหารติดตามผลการดำเนินงาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง)

    รหัสโครงการ 57-01497 รหัสสัญญา 57-00-0943 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    มีกลุ่มแกนนำที่รวมตัวกันบริหารจัดการภายในกลุ่มของตนเองในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงที่นำมาใช้ตั้งแต่การรวมกลุ่ม การวิเคราะห์ชุมชน สำรวจข้อมูลหนี้สินอย่างไม่เป็นทางการ หาอาชีพเสริม ปรับปรุงพืชสวนที่มีอยู่เดิมด้วยเกษตรอินทรีย์ เลี้ยงสัตว์เพื่อนำมูลสัตว์ไปผสมกับขยะครัวเรือนทำเป็นปุ๋ย ใส่ต้นไม้ของตนเองจนได้ผลผลิตดีขึ้นในปีที่สอง แกนนำกลุ่มประสานงานกับภายนอกจนเกิดการปลูกเพื่อส่งออก

    ภาพถ่ายและการสัมภาษณ์

    พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และเพ็คกี้งประสานผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อการส่งออก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กลุ่มสภาอาชีพ ที่มีการบริหารจัดการอย่างสมำ่เสมอ สมาชิกยังมีจำนวนไม่มาก

    รายงานการประชุม

    กลุ่มสามารถต่อยอดเป็นอย่างอื่นร่วมด้วยแต่ไม่ทิ้งกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีสวนผลไม้ของแกนนำเป็นชุมชนต้นแบบที่ดำเนินการเศรษฐกิจพอเพียง สามสวน

    ภาพถ่าย

    มีวัสดุอุปกรณ์ให้มากขึ้นเพื่อพัฒนาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคผักสวนครัวรั้วกินได้ และที่สำคัญทุกครัวเรือนใช้เกษตรอินกรีและปลอดสารพิษ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการนำสมุนไพร มาแปรรูปเพื่อใช้ในครัวเรือน เช่น เอาสมุนไพรทำเครื่องแกงพร้อมทั้งนำมาทำเป็นน้ำดื่ม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สมาชิกกลุ่มมีการประเมินผลการปฏิบัติของครอบครัวตนเองในเรื่องหนี้สิน ซึ่งจากการดำเนินงานมาพอประเมินได้ว่าสมาชิกของตนเองมีการลดสิ่งฟุ่มเฟือยลง ลดอบายมุข เป็นต้น

    รายงานของชุมชน

    สามารถปรับพฤติกรรมตนเองได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการจัดการสิ่งแวดล้อมชุนในเชุมชนด้วยการลดการใ้สารเคมี แและเพิ่มสารอินทรีย์และมีระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม

    ภาพถ่าย

    ต้องดำเนินการในภาพรวมทั้งประเทศในเรืองจัดการสิ่งแวดล้อม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีการใช้สถานที่ในวัดเป็นจุดศูนย์กลางของชุมชนที่ทำให้ทุกคนสามารถมารวมตัวกันเพื่อจัดกิจกรรมพัฒนา

    ภาพถ่ายและข้อมูลชุมชน

    จัดสถานที่ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ในวัดต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการแปรรูปกล้วยหอมเป็นมันฝร้่งทอดพร้อมทั้งปรุงรสให้สอดคล้องกับความต้องการของเยาวชน เช่น รสปาปรีก้า เนย เป็นต้น

    ภาพกิจกรรม

    พัฒนาเป็นกลุ่มแปรรูปกล้วยหอมไทย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีกติกาเงินกู้ยืมของสมาชิกสภาอาชีพสามารถได้รับเงินกู้เพื่อการศึกษาได้ครั้งละ๒,๐๐๐บาทให้ระยะเวลา ๓ เดือน ดอกเบี้ยร้อยละ ๓ คืนพร้อมกันทั้งต้นและดอกทุกวันที่ ๓ ของเดือน

    รายงานการประชุม

    เมื่อมีเงินมากพอจะเพิ่มเป็นสมาชิกทุกคนสามารถได้รับบริการได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มต่างๆในชุมชนโดยกลุ่มหินเภาเป็นแกนกลางในการเชื่อมกลุ่มโป่งเงาะ คลองน้ำแดง และคลองพละ และยังเป็นเครือข่ายของเกษตรอินทรีย์กลุ่มพันวาลและทรัพย์อนันต์ ในเขตอำเภอท่าแซะ

    ภาพกิจกรรมและข้อมูลรายงาน

    มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มนักวิชาการเกษตรเพื่อการส่งผลผลิตออกนอกพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานมีการนำความรู้ที่ได้จากการทำโครงการไปปรับใช้กับการจัดการปัญหาเรื่องอื่นๆ ได้

    รายงาน

    การเขียนโครงการเพื่อของงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น ๆ ต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการให้ปราชญ์ชาวบ้านมาสอนให้ชุมชนได้รับความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้

    รายงาน

    เติมเต็มในส่วนความรู้ของปราชญ์ชาวบ้านอย่างต่อเนื่อง สมำ่เสมอ เหมาะสมกับความสามารถเฉพาะตัว

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    กลุ่มสามารถติดต่อประสานงานกับพื้นที่อื่น ๆที่มีการดำเนินการด้านเกษตรอินทรีย์ และฝ่ายวิชาการในการเติมเต็มในส่วนที่ขาดหายไป

    รายงาน

    ชุมชนต้องมีการเรียนรู้อย่างไม่รู้จบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    กลุ่มมีความภาคภูมิใจที่มีกองทุนสสส.นำเงินมาให้โดยไม่คิดมูลค่า

    ภาพถ่าย

    หลายสิ่ง หลายอย่างบันทึกอยู่ในความทรงจำ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ชุมชนสามารถนำพืชผักสวนครัวรอบรั้วกินได้

    ภาพถ่าย

    ส่งเสริมให้มีการขยายกลุ่มไปยังกลุ่มอื่นๆ มากขึ้นเพื่อการออมและลดหนี้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการแบ่งปันสิ่งของและพืชผักที่แต่ละครัวเรือนมีให้กับเพื่อนบ้านและชุมชนอื่นๆ

    การบอกเล่าของชุมชน

    สามารถเป็นชุมชนต้นแบบที่อยู่ร่วมกันอย่างช่วยเหลือเกื้อกูลกันได้ดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง) จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 57-01497

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจุฑารัตน์ โสเสมอ 087-281-0484 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด