ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง)

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 57-01497
สัญญาเลขที่ 57-00-0943

ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาอาชีพบ้านหินเภาพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อเนื่อง)
รหัสโครงการ 57-01497 สัญญาเลขที่ 57-00-0943
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสมใจ ด้วงพิบูลย์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 -
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 28 มิถุนายน 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 29 ตุลาคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นาง จุฑารัตน์ โสเสมอ 1894/1 หมู่ที่ 17 ตรอก/ซอย - ถนน - ตำบล/แขวง รับร่อ อำเภอ/เขต ท่าแซะ จังหวัด ชุมพร 087 2810484
2 นาย บุญสม ประเสริฐ 1967/1 หมู่ที่ 17 ตรอก/ซอย - ถนน - ตำบล/แขวง รับร่อ อำเภอ/เขต ท่าแซะ จังหวัด ชุมพร 080-6977405
3 นาย กมล แซ่เฮง 2007 หมู่ที่ 17 ตรอก/ซอย - ถนน - ตำบล/แขวง รับร่อ อำเภอ/เขต ท่าแซะ จังหวัด ชุมพร -
4 นาย วินัย มาทอง 1907 หมู่ที่ 17 ตรอก/ซอย - ถนน - ตำบล/แขวง รับร่อ อำเภอ/เขต ท่าแซะ จังหวัด ชุมพร 089- 932-6523
5 นาง สมเสียน แสงสุด 2027/1 หมู่ที่ 17 ตรอก/ซอย - ถนน - ตำบล/แขวง รับร่อ อำเภอ/เขต ท่าแซะ จังหวัดชุมพร -
6 นาง สุทิศา พรมชัยศรี 823 หมู่ที่ 17 ตรอก/ซอย - ถนน - ตำบล/แขวง รับร่อ อำเภอ/เขต ท่าแซะ จังหวัด ชุมพร 082-2787882

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีเพราะใช้ปุ๋ยที่ผลิตเอง มีผลผลิตเพิ่มขึ้น สร้างแกนนำเพิ่มเพื่อเผยแพร่สู่กลุ่มอื่น

1.1 เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการกลุ่ม

1.2 เกิดสภาแกนนำอาชีพบ้านหินเภา

1.3 ประชาชนสามารถลดภาระหนี้สินได้ 50%

2.

เพื่อบริหารติดตามผลการดำเนินงาน

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. หรือ สจรส.

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : เข้าร่วมประชุมกับสสส.i

10,000.00 2 ผลผลิต

ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานเข้าร่วมประชุมชี้แจงความเข้าใจและวิธีการจัดทำรายงาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีความเข้าใจในการบันทึกกิจกรรมโครงการมากขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

สมาชิกที่เสนอโครงการผ่านเข้าร่วมอบรมหลายจังหวัด

10,000.00 5,140.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจในการบันทึกโครงการมากขึ้นเนื่องจากในปีนี้มีการจัดทำหนังสือขั้นตอนการเข้าทำงานในการนำเสนอโครงการที่ถูกต้องมากขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงาน

0.00 1,500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการจัดรายงานตามผลของกิจกรรมและตรวจสอบรายงานการเงินและบัญชี พร้อมทั้งคืนเงินเปิดบัญชี 

ผู้รับผิดชอบโครงการนางจุฑารัตน์  โสเสมอและนายสุนทร  ทิพภัคดี

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมงานได้เล่าเรื่องที่มาจากชุมชนเป็นชุมชนแบบหลากหลายวัฒนธรรมที่อยู่ร่วมกันแต่สามารถพัฒนาชุมชนได้โดยการมีทีมนำชุมชนที่เข้มแข็ง มีการประชุมหมู่บ้านทุกเดือนมีผู้ใหญ่บ้านเป็นคนจังหวัดสงขลา ผู้ช่วยผู้ใหญ่จากจังหวัดศรีสะเกษ  อบต.จังหวัดนครศรีธรรมราช และนายกอบต.เป็นคนชุมพร เป็นต้น มีพื้นที่สาธารณะที่ทุกคนมีส่วนร่วมกันพัฒนาและหวงแหน มีนำ้ตกทรายอ่อนที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่งดงาม มีวัดและสำนักสงฆ์เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจคน 2 แห่ง เป็นต้น ประกอบกับประชาชนรวมตัวกันได้เมื่อมีกิจกรรมต่างๆ เป็นอย่างดี มีการคิดค้นนำพืชผักในชุมชนแปรรูป เช่น หญ้าหวานทำเป็นชาชง  ใบกระท่อมมาเลย์ลดความดัน/เบาหวาน เป็นต้น

ประชาชน แกนนำ และผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 0.00 100 90 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าร่วมกิจกรรมการทำผลิตภัณฑ์ใช้ในครัวเรือนเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้วยการทำสบู่ที่มีส่วนผสมจากมะพร้าวสกัดเย็น  นำ้ยาล้างจาน และยาสระผม เสร็จแล้วมีการแจกจ่ายให้กับสมาชิกกลุ่ม และเหลือเก็บไว้จำหน่ายในชุมชน และผลจากการประชุมทีมผู้รับผิดชอบโครงการและแกนนำชุมชน สรุปได้ว่าชุมชนต้องกำหนดกติกาในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมโโยเฉพาะการหารายได้เสริม รวมทั้งมีการบริหารจัดการเงินทุนที่มีอยู่เดิมจากการรวมค่าบริหารจัดการกลุ่มและจะหารเพิ่มเติมจากการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนต่อไป และมีการประสานการตลาดกับพัฒนาการอำเภอท่าแซะที่จะนำผลผลิตไปจำหน่ายเป็นสินค้าOTOP

พี่เลี้ยงโครงการฯ  ผู้รับผิดชอบโครงการ  รวมจำนวนทั้งหมด 3 คน

500.00 500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงให้คำแนะนำถึงการสรุปกิจกรรม การต่อยอดโครงการครั้งต่อไป  และการวางแผนการดำเนินงาน  การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละกลุ่มรับผิดชอบ การกำหนดการส่งกิจกรรม และการสรุปกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : จัดประชุมชี้แจงโครงการในเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านi

0.00 250 ผลผลิต

มีการประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการสสส.ปีสองต่อเนื่อง มีผู้นำเข้าร่วมประชุมทั้งนายกอบต.ประธานสภาผู้ใหญ่บ้านและทีมงาน มีการเสนอให้ใช้พื้นที่สาธารณะในการเพาะปลูกพืชผักและสมุนไพร พร้อมทั้งรับสมัครสมาชิกกลุ่มเพิ่มเติมและแต่งตั้งแกนนำกลุ่ม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนมีความเข้าใจและสมัครเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อนำไปสู่การเสริมรายได้และลดรายจ่ายของครอบครัว

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

แกนนำชุมชน ประชาชน และทีมผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 0.00 250 65 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีสมาชิกสมัครเข้าร่วมโครงการ 50 คนและเปิดรับสมัครต่อโดยประกาศเสียงตามสายของหมู่บ้านต่อไป
  2. มีการคัดเลือกแกนนำ 15คน

ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงาน นายกอบต. ประธานสภาตำบล ผู้ใหญ่บ้าน อสม. กลุ่มแม่บ้านและประชาชนในชุมชน

0.00 0.00 150 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนผุ้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจถึงกิจกรรมโครงการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากเดิมที่มีกลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงปลาและมะพร้าวสะกัดเย็น มีการขยายเครือข่ายสู่ชุมชนอื่น ๆ และเตรียมการสำหรับการจัดทำกลุ่มอาชีพอื่นเสริมในพื้นที่ด้วยการปลูกพืชผักเพื่อการบริโภคและส่งขาย โดยการร่วมทุนจากการสมัครสมาชิกและการร่วมจ่ายกรณีต้องการพืชพันธ์ุที่มากกว่าที่กำหนด มีการจัดทำแผนการตลาดเพื่อรองรับผลผลิตและการบริหารจัดการ

กิจกรรมหลัก : จัดประชุมวางแผนแนวทางปฏิบัติในกลุ่มหินเภา สร้างระเบียบ และกำหนดกลุ่มi

21,700.00 150 ผลผลิต

มีการจัดทำแผนการดำเนินงานโดยเริ่มจากรับสมัครสมาชิกกลุ่มเพิ่มจากปีก่อน มีวางแผนทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง จัดกลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ กลุ่มทำปุ๋ย กลุ่มแปรรูปผลผลิตจากมะพร้าวและการปลูกผักปลอดสารสร้างรายได้


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนเห็นความสำคัญของการเสริมรายได้และมีอาหารปลอดภัยของครอบครัวและชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • คณะกรรมการหมู่บ้านและผู้รับผิดชอบโครงการ 30 คน
  • สมาชิกเครือข่ายกลุ่มองค์กรในชุมชน

รวมทั้งหมด150 คน

21,700.00 21,700.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุมทั้ง 150คน ร่วมเป็นสมาชิกหมดทุกคน ซึ่งเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มไก่ไข่ กลุ่มทำปุ๋ย และกลุ่มแปรรูปผลผลิตจากมะพร้าวและการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้มีสมาชิกกลุ่มละ 50 คน

กิจกรรมหลัก : อบรมให้ความรู้สมาชิกใหม่จาก 3กลุ่มพื้นที่i

60,050.00 150 ผลผลิต

มีการอบรมสมาชิกกลุ่มในเรื่องการทำปุ๋ยหมัก/นำหมักจากพืชที่เรามีอยู่ในบ้านใข้ในครัวเรือนและวิธีการปลูกกล้วยหอมทองเป็นอาขีพสร้างรายได้แบบปลอดสารเพื่อส่งประเทศญี่ปุ่นโดยวิทยากรจากสหกรณ์นิคมท่าแซะมาให้ความรู้และการบริหารจัดการตลาด


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สมาชิกกลุ่มมีความรู้และเข้าใจมากขึ้นเตรียมพร้อมที่จะนำสินค้าคุณภาพส่งออก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

แกนนำสมาชิก

25,500.00 25,500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ได้ครบถ้วน มีรายการดังนี้ 1)มะละกอฮอแลนด์  1000บาท 2)หน่อกล้วย  7500 บาท 3)ค่าน้ำมัน    2000 บาท 4)ถังหมัก      7500 บาท 5)กากน้ำตาล  1500 บาท 6)พันธ์พริก      1000 บาท 7)พืชสมุนไพร  4000 บาท และทีมงานได้ประสานปราชญ์ชาวบ้านเพื่อจัดเตรียมต้นกล้าไว้สำหรับสมาชิกในวันประชุมจริง

สมาชิกจากพื้นที่ต่างๆส่งตัวแทนมาจากกลุ่มที่เป็นพ่อแม่และใช้วิธีไปกระจายข่าวต่อๆๆ จำนวนที่เข้าร่วม 130 คน

13,700.00 13,700.00 150 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีวิทยากร2ท่านมาให้ความรู้เรื่อง 1.การทำปุ๋ยหมักใช้เอง 2.การทำนำหมักจากพืชที่เรามีอยู่ในบ้านใข้ในบ้านเราเอง 3.การเตรียมตัววางแผการดูแลการปลูกกล้วยหอมทองเป็นอาขีพสร้างรายได้แบบปลอดสารส่งประเทศญี่ปุ่นโดยวิทยากรจากสหกรณ์นิคมท่าแซะมาให้ความรู้และแนวทาง

สมาชิกจากกลุ่มคลองพละ  กลุ่มคลองน้ำแดง และกลุ่มโป่งเงาะ

13,000.00 13,000.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกมีความเข้าใจในการปลูกพืชผักให้ปลอดสารพิษ และใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยหมักที่ทำกันเองในท้องถิ่น การแปรรูปมะละกอและกล้วยหอมทอง รวมทั้งการประสานการตลาดกับวิทยาลัยเกษตรตะโกในการตลาดสิ่งแปรรูป สมาชิกมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้ไปใช้และจะทำให้ตนเองมีรายได้ไร่ละ 3ล้านจากการปลูกมะละกอ (วิทยากรบอก) เพื่อได้ปลดหนี้ครัวเรือนของตนเองได้ พร้อมทั้งได้รับต้นมะละกอไปคนละ 150 ต้น

กลุ่มใหม่จากกลุ่มคลองพละ กลุ่มคลองน้ำแดง กลุ่มโป่งเงาะ จำนวน 150 คน

15,650.00 15,650.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกได้นำความรู้และผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปใช้ในครัวเรือน และจัดจำหน่ายเพื่อสร้างได้ต่อไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

บ้านหินเภา

มีการรณรงค์ลด-ละ-เลิกการใช้สารเคมีในการเกษตรและหันมาใช้เกษตรอินทรีย์แทน โดยมีเกษตรกรต้นแบบในพื้นที่

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

มีการปรับเปลี่ยนเวลากิจกรรมการดำเนินการ

เนื่องจากพื้นที่และอาชีพของคนในชุมชนมีระยะเวลาจำกัด(ระยะเวลาของพืชเกษตรในท้องถิ่นเช่นลองกอง/ทุเรียนต้องดำเนินการใระยะเวลาที่กำหนดถ้าไม่ทำจะเกิดการเน่าเสียได้)จึงต้องปรับเปลี่ยนเวลา

แนะนำให้มีการเปลี่ยนแปลงได้โดยการติดต่อทางโทรศัทพ์เนื่องจากพื้นที่ห่างไกลและการคมนาคมไม่สะดวก

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

ทีมงานมีความตั้งใจสูงมีแนวคิดว่าเมื่อโครงการดำเนินการไปสักระยะหนึ่งจะทำนวตกรรมให้เกิดขึ้น

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ทีมงานมีความพร้อมในการดำเนินการสูงแต่ติดขัดด้วยการประกอบอาชีพปกติทำให้กิจกรรมล่าช้าบ้าง แต่จะดำเนินการเพิ่มขึ้นในระยะที่สองของโครงการต่อไป

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong