directions_run

ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง ”

หมู่ที่ 9 บ้านไสยง ต.สินปุน อ.เขาพนม จ.กระบี่

หัวหน้าโครงการ
นาย มน พลพิชัย

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง

ที่อยู่ หมู่ที่ 9 บ้านไสยง ต.สินปุน อ.เขาพนม จ.กระบี่ จังหวัด กระบี่

รหัสโครงการ 57-01510 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0934

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 9 บ้านไสยง ต.สินปุน อ.เขาพนม จ.กระบี่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 9 บ้านไสยง ต.สินปุน อ.เขาพนม จ.กระบี่ รหัสโครงการ 57-01510 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 211,850.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการเรียนรู้แก่เยาวชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
  2. 2.เพื่อให้เด็กเยาวชนมีรายได้จากการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรในชุมชน
  3. เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงานบริหารจัดการโครงการ

    วันที่ 10 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการชี้แจงการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน วางแผนการดำเนินงาน แบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ วางแผนการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีคณะกรรมการ บริหารโครงการ 1 ชุด ประกอบด้วย - ผู้นำชุมชน มีผู้ใหญ่บ้านเป็นประะานคณะกรรมการ - คณะกรรมการหมู่บ้าน - ครูประจำโรงเรียนสินปุนวิทยา และ อสม.ในหมู่บ้าน มีน้กการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลเขาพนม เป็นที่ปรึกษา
    • คณะกรรมการ มีมติการแบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงาน และการติดตามผลการดำเนินงานทุก 2 เดือน โดยมีนายมน พลพิชัย เป็นผู้รับผิดชอบในพื้นที่ และรายงานความก้าวหน้าโครงการ รวมทั้งติดต่อประสานงานกับพี่เลี้ยงโครงการ

     

    15 15

    2. เข้าร่วมปฐมนิเทศน์โครงการใหม่ ร่วมกับ สจรส.มอ.และพี่เลีย้งโครงการ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00-19.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมปฐมนิเทศน์โครงการใหม่ ร่วมกับ สจรส.มอ.และพี่เลีย้งโครงการ รับฟังการดำเนินงานโครงการ และข้อกติกาการดำเนินงาน การจัดทำรายงาน และรายงานการเงิน ต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับฟังแนวทางการดำเนินงานและการทำรายงานโครงการและรายงานการเงิน รู้จักคณะทำงานของสจรส.มอ. ได้ฝึกการลงรายงานหน้าเวป

     

    2 2

    3. สำรวจข้อมูลชุมชนเพื่อจ้ดทำข้อมูลครัวเรือนด้านต่างๆ

    วันที่ 2 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00-15.30.น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจข้อมูลชุมชนเพื่อจัดทำข้อมูลครัวเรือนด้านต่างๆ เช่น โรค ภูมิปัญญา สมุนไพร รายรับ-รายจ่าย หนี้สินครัวเรือน อาชีพ ยาเสพติด ว่างงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เยาวชนร่วมกันสำรวจข้อมูลชุมชนทุกครัวเรือนในด้าน - ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือน ประกอบด้วยสมาชิกกี่คน มีอาชีพ รายรับ/รายจ่ายจากแหล่งใดบ้าง รวมทั้งหน้ีสินที่เกิดขึ้น - การดูแลสุขภาพของคนในครัวเรือน
    - การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคในครัวเรือน
    - การปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือน - การทำบัญชีรายรับ - รายจ่ายของครัวเรือน
    ซึ่งจากการสำรวจข้อมูลด้วยตนเอง เยาวชนได้พบว่ามีรายจ่ายที่ไม่จำเป็นเกิดขึ้นในหมู่บ้าน เช่น การเล่นหวย, การดื่มสุรา /สูบบุหรี่ , การเล่นพนัน ,ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคเช่นค่าโทรศัพท์ ค่าอินเตอร์เนต เป็นต้น เกิดการพูดคุยกันในกลุ่มสำรวจถึงความสูญเปล่าของรายได้ในครัวเรือนที่พบ 2.นำข้อมูลที่ได้มาลงโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติ 3.สรุุปผลการวิเคราะห์เพื่อใช้ในเวทีคืนข้อมูลต่อไป

     

    50 47

    4. ติดตามการลงบันทึกรายงานกิจกรรม

    วันที่ 6 ตุลาคม 2557 เวลา 13.00-16.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้คำแนะนำในการบันทึกรายงานกิจกรรมหน้าเวปและการลงบันทึกรายการค่าใช้จ่าย ให้คำแนะนำการสรุปรายงานกิจกรรมในแต่ละครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจในการลงรายงานหน้าเวปและการจัดทำรายงานการเงิน

     

    2 2

    5. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 8 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อรณรงให้ประชาชนไม่ให้สูบบุหรี

     

    117 117

    6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการสำรวจชุมชน

    วันที่ 9 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00-15.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการเก็บข้อมูลบัญชีครัวเรือน และข้อมูลสมุนไพรแก่เยาวชนเพื่อเตรียมลงเก็บข้อมูลในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.แนะนำวัตถุประสงค์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่เยาวชน
    2.จัดแบ่งกลุ่มเยาวชน 3.ให้เยาวชนแนะนำตัวเอง และทีมพี่เลี้ยงในกลุ่ม 4.ให้้เยาวชนได้เล่าเรื่องการเก็บข้อมูลในชุมชน  แบ่งตามกลุ่มต่างๆดังนี้ -1  ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือน ประกอบด้วยสมาชิกกี่คน มีอาชีพ รายรับ/รายจ่ายจากแหล่งใดบ้าง รวมทั้งหน้ีสินที่เกิดขึ้น -2. การดูแลสุขภาพของคนในครัวเรือน
    -3. การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคในครัวเรือน
    - การปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือน -4 การทำบัญชีรายรับ - รายจ่ายของครัวเรือน
    3. ให้เยาวชนบอกเล่าความรู้สึกที่ได้ลงเก็บข้อมูลจริงในชุมชน พบว่ามีรายจ่ายที่ไม่จำเป็นเกิดขึ้นในหมู่บ้าน เช่น การเล่นพนัน - หวยใต้ดิน,หวยหุ้น , การดื่มสุรา /สูบบุหรี่ , ค่าโทรศัพท์ ค่าอินเตอร์เนต เป็นต้น เป็นความสูญเปล่าของรายได้ในครัวเรือน 4.สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อหาแนวทางดำเนินงานต่อไปร่วมกัน พบว่าเยาวชนต้องการให้เกิดกิจกรรมลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้ ในชุมชนตนเอง

     

    20 50

    7. เดินทางพบเจ้าหน้าที่สจรส.มอ.เพื่อตรวจสอบรายงาน

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เดินทางพบพี่เลี้ยง สจรส.มอ. แต่ไม่ได้พบทีมเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. เนื่องจากมีภาระกิจที่ จ.พัทลุง จึงได้พบ super พี่เลี้ยงของจังหวัดสตูลแทน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับความรู้จากพี่เลียง
    • ได้รับทราบข้อควรแก้ไขเพิ่มเติมในการดำเนินงานโครงการ

     

    2 2

    8. จัดเวทีนำเสนอ วิเคราะห์ จากการสำรวจถอดบทเรียน คืนข้อมูลสู่ชุมชนและจัดทำแผนชุมชนรวมกัน

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประธานในพิธีกล่าวเปิดโครงการ แนะนำที่ไปที่มาของโครงการให้ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบ และให้หน่วยงานที่เข้ารวมโครงการได้แนะนำตัว ชีแจงรายละเอียดโครงการ และคืนข้อมูลการสำรวจชุมชนตลอดจนร่วมกันหาแนวทางดำเนินงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชาชนได้รับรู้ถึงจุดยืนของโครงการว่าในการที่ให้นักเรียนนักศึกษา ไปสำรวจข้อมูลของแต่ละครัวเรื่อนนั้นจะนำมาสุปแล้วจะคืนให้กับชุมชนในวันที่ปิดโครงการอีกครั้ง เพื่อให้ประชาชนได้ทราบข้อมูลในหมู่ที่ 9 ตำบลสินปุนของเรามีรายได้เท่าไหรรายจ่ายและหนี้สินครับเพราะโครงการเป็นผลประโยชน์ต่อชุมชนของเรามากครับ

     

    80 80

    9. จัดประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00-15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ทบทวนผลการดำเนินงาน และพูดคุยสอบถามรายละเอียดการดำเนินงานที่่ล่าช้าของคณะทำงาน
    2. ทำการคัดเลือกคณะทำงานใหม่ โดยมีคณะทำงานเดิมอยู่ 5 คน และมอบหมายภาระกิจดำเนินงานต่อไป
    3. กำหนดแผนงานตามโครงการและกิจกรรมในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ กิจกรรมที่ยังคงค้างและล้าช้าอยู่ จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในช่วงเวลา 2 เดือนนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ทบทวนผลการดำเนินงาน และพูดคุยสอบถามรายละเอียดการดำเนินงานที่่ล่าช้าของคณะทำงานพบว่า

    • คณะทำงานที่ตั้งไว้ ส่วนใหญ่ไม่ได้ทำตามบทบาทที่กำหนด เนื่องจากมีภาระกิจงานประจำ
    • การดำเนินงานต้องสอดคล้องกับการจัดเวลาการเรียนของเยาวชนในโรงเรียนสินปุนคุณวิทย์ ทำให้กิจกรรมไม่สามารถดำเนินงานตามแผนที่กำหนดได้
    • ผู้ประสานงานในพื้นที่มีปัญหาด้านสุขภาพทำให้ไม่สามารถประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องได้ทันกำหนดเวลาดำเนินงาน

    2.ทำการคัดเลือกคณะทำงานใหม่ โดยมีคณะทำงานเดิมอยู่ 5 คน และมอบหมายภาระกิจดำเนินงานต่อไป 3.กำหนดแผนงานตามโครงการและกิจกรรมในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ กิจกรรมที่ยังคงค้างและล้าช้าอยู่ จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในช่วงเวลา 2 เดือนนี้ ได้มีการพูดคุยสรุปปัญหาที่ผ่านมาที่ทำให้งานล้าช้าเนื่องจาก

    • คณะกรรมการไม่พร้อม
    • คณะกรรมการที่มีหน้าที่รับผิดชอบที่ไม่พร้อมจะต้องปรับปรุงหรือเลือกใหม่เข้ามาดำเนินการโครงการเพื่อให้โครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามที่ได้เสนอขอไว้

    3.จัดตั้งคณะทำงานใหม่

    4.ได้รับการติดตามจากพี่เลี้ยงโครงการอย่างต่อเนื่องอันจะมีผลต่อการประเมินโครงการต่อไปด้วย

     

    15 14

    10. ประชุมคณะกรรมการ

    วันที่ 11 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คัดเลือกคณะทำงานเพือให้เหมาะสมกับหน้าที่
    • กำหนดกิจกรรมที่จะดำเนินงานในวอดต่อไป
    • สรุปกิจกรรมที่ทำมาแล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการ
    • ประชาชนได้รับรู้ข้อมูลของชุมชนจากการทำงานร่วมกัน
    • ส่วนที่ล่าช้าเนื่องจากคณะทำงานติดภาระกิจ (ปรับปรุงใหม่)

     

    15 15

    11. ปลูกผักพื้นบ้านและรวบรวมพันธ์พืชสมุนไพร

    วันที่ 28 มกราคม 2558 เวลา 09:00-15.30. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมให้ความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร และสมุนไพรที่มีคุณท่าทางเศรษฐกิจจากการอบรมมานั้นกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้กลับมาเพื่อจะทำการต่อยอดประยุกต์ใช้ในพื้นที่ในครอบครัวเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการนำเสนอของเยาวชนและในอบรมในครั้งนี้เป็นการสร้างจิตสำนึกให้กับกลุ่มเยาวชนและประชาชนที่ไม่เคยมีความรู้มาก่อนและไม่เคยได้รับฟังในการบรรยายเรื่องพืชสมุนไพรกับการสาธิตในการปลูกให้

     

    30 30

    12. ศึกษาดูงานเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ติดต่อประสานงานกับคุณมงคล พันธ์ศรีเลิศ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านเขากลมเพื่อนำคณะไปศึกษาดูงาน -ประสานกับครูโรงเรียนสินปุนคุณวิชย์ เขาพนม เพื่อคัดเลือกนักเรียนไปศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ -ติดต่อประสานงานกับรถเดินทาง และคณะทำงาน
    -นำเยาวชน คณะครู และคนในชุมชน ศึกษาดูงาน เรียนรู้ แลกเปลี่ยนการทำเศรษฐกิจพอเพียงที่ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านเขากลม อ.เมือง จ.กระบี่ -สรุปผลการเรียนรู้จากศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงบ้านเขากลม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชาชนได้เรียนรู้พื้นที่และประสบการณ์จริง
    • ได้รับฟังในการบรรยายในข้อมูลต่าง เช่น การใช้ชีวิตประจำวันอย่างเอเพียง การทำการเกษตรแบบแกล้งดิน
    • ได้รู้หลักเศรษฐิกพอเพียงในกลุ่มเยาวชนและประชาชนทั่วไป การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้

     

    50 50

    13. ให้ความรู้แก่เยาวชนในการทำการเกษตรผสมผสารตามหลักเศรษกิจพอเพียง

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00-๑๕.๓๐.น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จากการสาธิตให้ความรู้กับผู้นำ/ประชาชน/เยาวชน ในที่ประชุมได้เสนอต่อที่ประชุม จากกลุ่มเยาวชน ขอให้จัดทำศูนย์การเรียนรู้ให้กับโงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ เนื่องจากมีทรัพย์กรมนุษตและเป็นสถานที่ที่มีความพร้อม เพื่อเกิดขบวนการร่วมกัน ระหว่าง โรงเรียนกับชุมชน เพื่อเป็นแนวทางการต่อยอดกิจกรรม หรือ นวัฒตกรรม ของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรม ที่ประชุม จากกลุ่มเยาวชน ขอให้จัดทำศูนย์การเรียนรู้ให้กับโงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ เนื่องจากมีทรัพย์กรมนุษตและเป็นสถานที่ที่มีความพร้อม เพื่อเกิดขบวนการร่วมกัน ระหว่าง โรงเรียนกับชุมชน เพื่อเป็นแนวทางการต่อยอดกิจกรรม หรือ นวัฒตกรรม ของชุมชนร่วมกัน

     

    50 72

    14. จัดอบรมการทำและการนำความรู้เกษตรอินทรีย์ ไปใช้ในครัวเรือน

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00-15.00.น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย  จำนวน 30 คน แต่ที่มารับความรู้จำนวน 32 คน และได้อบรมแล้วสาธิตการผสมปุ๋ยอินทรีย์ และการจัดทำปุ๋ยหมัก  มีการจัดอบรมการทำ  และการนำความรู้เกษตรอินทรีย์  ไปใช้ในครัวเรือน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการสอนให้ความรู้กับกลุ่มประชาชนและเยาวชนในพื้นที่ที่สนใจในการปลูกของปลอดสารพิศ  เนื่องจากการเรียนรู้ในการประสมปุ๋ยอินทรีย์ และการจัดทำปุ๋ยหมัก  และการนำความรู้เกษตรอินทรีย์  ไปใช้ในครัวเรือน เพื่อจะได้อุปโภคของปลอดสารพิศ

     

    30 32

    15. จัดเวทีประชาคมเพื่อกำหนดกติกาหมู่บ้านในการป้องกันปัญหายาเสพติด

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวที่ประชาคมเพื่อกำหนดกติกาหมู่บ้านในการป้องกันยาเสพติด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดกติกาการงดสูบบุหรี่ในที่ประชุมชุมชน

     

    20 20

    16. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมปัญญาหมอพื้นบ้านและสมุนและการแปรรูปผลิตภัณฑ์

    วันที่ 6 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม ๘๐ คน โดยมีกลุ่มเยาวชน ประชาชน เพื่อให้ความรู้ภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านและสมุนไพรและการแปรรูป และสาธิต การผสมปุ๋ยในการปลูกพืชสมุนไพรในโรงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ ต้องการให้เป็นศูนย์การเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการศึกษาร่วมกันระหว่างครูนักเรียนและประชาชนในการทำกิจกรรมร่วมกันทั้งสามกลุ่มได้อยู่ร่วมกันได้เรียนรู้ในเรืองต่างๆ เช่น การทำกิจกรรมร่วมกัน ได้นั่งคุยกัน และได้เรียนรู้ในการใช้สมุนไพรกับการใช้ชีวิตกับสมุนไพร

     

    80 80

    17. จัดตั้งตลาดนัดสุขภาพในชุมชน อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อสัปดาห์

    วันที่ 20 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จ้างตัดหญ้าปรับปรุงสถานที่ดำเนินการตลาดนัดสุขภาพ ที่ทำการประชุมหมู่บ้าน ช่วยกันทำแผงร้านค้าจำหน่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปรับปรุงสถานที่ในพื้นที่ให้ดูดีและสะอาดและประชาชนได้มีส่วนร่วมเปิดพื้นที่จำหน่ายสินค้าเกษตรที่ชาวบ้านเป็นคนปลูก เป็นการส่งเสริมให้ชาวบ้านให้ความสนใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น

     

    100 100

    18. จัดประชุมถอดบทเร่ียนจัดทำหลักสูตรการดำเนินงานตามหลักเศษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 11 เมษายน 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จากการสำรวจข้อมูลชุมชน ตามแบบสำรวจวิเคราะห์ข้อมูล ประชาชนมีหนี้สินมากเนื่องมีผลกระทบทางเศรษฐกิจค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันสูงแต่รายได้มีน้อยประชาชนไม่มีความสุขเลยมาจากหนี้สินมาก เช่น ค่าน้ำ,ค่าไฟฟ้า,ค่าลูกเรียน,ค่าผ่อนรถ,ฯลฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับรู้ถึงปัญหาของประชาชนในพื้นที่ที่เดือดร้อนในการใช้ชีวิตประจำวัน

     

    30 30

    19. ประชาชนได้มีส่วนรวมในการประกวดบ้านต้นแบบ

    วันที่ 18 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมประชาชนและคณะกรรมการหมู่บ้านในกลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนไม่ค่อยสนใจเนื่องจากเป็นหน้าที่ที่จะต้องดูแลโดยตรงอยู่แล้วในการดูแลบ้านให้สะอาด

     

    50 50

    20. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 11 มิถุนายน 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการประชุมประชาชนและคณะกรรมการหมู่บ้านในกลุ่มเป้าหมายเพื่อสรุปผลการดำเนินงานของโครงการในการใช้จ่ายงบประมาณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รู้ถึงปัญหาของประชาชนในพื้นที่ ว่าประชาชนในพื้นที่มีปัญหาทางหนี้สินมากขึ้นประชาชนไม่ค่อยมีรายได้ แต่รายจ่ายมีมากขึ้นเรื่อยๆทำให้เกิดหนี้สินมากขึ้นอย่างต่อเนือง มีกิจกรรมที่ล่าช้าเนื่องจากมีงานมากในพื้นที่จำเป็นต้องเลืยนกิจกรรมออกไป

     

    30 30

    21. จัดทำรายงานสรุปกิจกรรมโครงการ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานสรุปกิจกรรมโครงการและค่ารูปถ่าย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายงานสรุปกิจกรรมโครงการและค่ารูปถ่าย 

     

    5 2

    22. ประชุมสรุป

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00-17.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ตรวจสอบเอกสาร รายะเอียดกิจกรรม ตามแผนงานกิจกรรม 2.ตรวจสอบหลักฐานการเงิน
    3.แก้ไขรายงานกิจกรรม รายงานการเงินให้ถูกต้องตามค่าใช้จ่ายจริง 4.ดำเนินการปรับสมุดบัญชีธนาคาร 5.สรุปและจัดทำเอกสารปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ตรวจสอบรายงานต่างๆแล้วพบว่าโครงการได้ดำเนินกิจกรรมครบตามงวดที่สอง

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างการเรียนรู้แก่เยาวชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
    ตัวชี้วัด : 1. มีองค์กร/คณะกรรมการชุมชนดำเนินงานอย่างน้อย 1 ชุด 2. จำนวนเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลียนเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมากกว่า 75 % มีกิจกรรมฐานการเรียนรู้ในชุมชนด้านการทำบัญชีครัวเรือนข้อมูลสมุนไพรได้อย่างน้อย 50 % 3. มีข้อมูลในชุมชนในด้านการทำบัญชีครัวเรือน ข้อมูลสมุนไพรในชุมชนอย่างน้อย 50 % 4. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพร 5. ร้อยละ 70 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพรครบวงจร 6. เยาวชนสามารถต่อยอดสุ่การจัดการและเพิ่มรายได้ด้วยต้นทุนชุมชนได้ 7. เกิดกลไกการดำเนินงานในชุมชน 8. เกิดกติกาสังคมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเสพสารเสพติด บุหรี่ เหล้า ในชุมชน

    เชิงปริมาณ 1.มีการจัดตั้งคณะทำงานดำเนินงานโครงการจำนวน 1 ชุด ประกอบด้วย คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ครู และกลุ่มแม่บ้าน,มีเยาวชนและผู้สนใจเข้า่วมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีเยาวชนลงมือเก็บข้อมูลครัวเรือน และการทำบัญชีสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน เกิดการดำเนินงานร่วมกันในหมู่บ้านและแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่ เชิงคุณภาพ 1.เกิดการพูดคุยและมีส่วนร่วมของชุมชนในด้านต่างๆเช่น การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตามโครงการของชุมชนและมีการเชื่อมประสานกับภาคีเครือข่ายในชุมชน คือโรงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ เพื่อการเรียนรู้จากต้นทุนของบ้านไสยงเอง 2.มีการจัดประชุมทุก 2 เดือน และมีผู้เข้าร่วมเวทีการพูดึคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินงานขับเคลื่อนในชุมชนไม่ต่ำกว่า 50 คน มีการนำเสนอเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับคนในชุมชน

    2 2.เพื่อให้เด็กเยาวชนมีรายได้จากการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลในชุมชนในด้านการทำบัญชีครัวเรือน ข้อมูลสมุนไพรในชุมชนอย่างน้อย 50 % 2. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพร 3. ร้อยละ 70 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพรครบวงจร 4. เกิดกติกาสังคมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเสพสารเสพติด บุหรี่ เหล้า ในชุมชน 5. เยาวชนสามารถต่อยอดสุ่การจัดการและเพิ่มรายได้ด้วยต้นทุนชุมชนได้

    เชิงปริมาณ 1.มีเยาวชน จำนวน 47 คน ลงมือเก็บข้อมูลครัวเรือน และการทำบัญชีสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน ทำให้เยาวชนได้เรียนรู้คุณค่าการใช้จ่ายเงินในครัวเรือน เชิงคุณภาพ 1.เยาวชนร่วมกันสำรวจข้อมูลชุมชนทุกครัวเรือนในด้าน - ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือน ประกอบด้วยสมาชิกกี่คน มีอาชีพ รายรับ/รายจ่ายจากแหล่งใดบ้าง รวมทั้งหน้ีสินที่เกิดขึ้น - การดูแลสุขภาพของคนในครัวเรือน - การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคในครัวเรือน - การปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือน - การทำบัญชีรายรับ - รายจ่ายของครัวเรือน ซึ่งจากการสำรวจข้อมูลด้วยตนเอง เยาวชนได้พบว่ามีรายจ่ายที่ไม่จำเป็นเกิดขึ้นในหมู่บ้าน เช่น การเล่นหวย, การดื่มสุรา /สูบบุหรี่ , การเล่นพนัน ,ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคเช่นค่าโทรศัพท์ ค่าอินเตอร์เนต เป็นต้น เกิดการพูดคุยกันในกลุ่มสำรวจถึงความสูญเปล่าของรายได้ในครัวเรือนที่พบ 2.มีกติกาการจัดเขตปลอดบุหรี่ร่วมกันในชุมชน

    3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : - จำนวนครั้งในการเข้ารวมพัฒนาโครงการร่วมกับ สสส. และ สจรส.มอ. และพี่เลี่ยงโครงการ - รายงานกิจกรรม รายงานผลการดำเนินงานโครงการ รายงานการเงินเสร็จสมบูรณ์

    1.มีการเข้าร่วมพัฒนาโครงการร่วมกับสสส.และพี่เลี้ยงโครงการ จำนวน 4 ครั้ง 2.มีการจัดทำรายงานกิจกรรม รายงานผลการดำเนินงานโครงการและรายงานการเงินเสร็จสมบูรณ์ ส่งเอกสารครบตามแผนงานและได้ตรวจสอบร่วมกับเจ้าหน้าที่สจรส.มอ.แล้ว

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการเรียนรู้แก่เยาวชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (2) 2.เพื่อให้เด็กเยาวชนมีรายได้จากการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรในชุมชน (3) เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง

    รหัสโครงการ 57-01510 รหัสสัญญา 57-00-0934 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    ตลาดนัดสุขภาพ ซื้อขายผักปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ชุมชนมีการบริโภคผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีกิจกรรมการศึกษาข้อมูลการใช้สมุนไพรในครัวเรือนแต่ไม่มีบันทึกข้อมูลการศึกษาอย่างชัดเจน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการทำงานเชื่อมโยงกับเครือข่าย รร.และแกนนำในหมู่บ้าน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีแหล่งศึกษาเรียนรู้ในชุมชนมาร่วมโครงการรวมทั้งปราชญ์ชาวบ้านด้านภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง จังหวัด กระบี่

    รหัสโครงการ 57-01510

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย มน พลพิชัย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด