directions_run

ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง) ”

บ้านนครธรรม ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายวันชัยบ่อเงิน

ชื่อโครงการ ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง)

ที่อยู่ บ้านนครธรรม ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 57-01515 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0933

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านนครธรรม ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านนครธรรม ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 57-01515 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 120 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบเรียนรู้ในการจัดการขยะด้วยสภาชุมชน
  2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนบ้านนครธรรมเป็นต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพด้วยมาตราการจัดการขยะ
  3. เพื่อพัฒนาให้เกิดต้นแบบการเรียนรู้กลไกและการจัดสวัสดิการชุมชนจากธนาคารขยะด้วยความร่วมมือของอบต.คีรีเขต
  4. เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ออกร้านเสนอผลงานวัตกรรมจากขยะที่งานของดีเมืองยะลา

    วันที่ 3 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะทำงาน 2.แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลาเพื่อขอใช้พื้นที่จัดร้านโดยใช้บูธของกระทรวงสาธารณสุข 3.แบ่งหน้าที่การทำงานร่วมกันจัดบูธและนำออกร้าน 4.ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมที่หน้าบูธ แก่ผู้ที่เดินผ่านไปมา 5.อธิบายแนะนำถึงกิจกรรมที่ออกร้าน เช่น บอร์ดลดขยะลดโรคของบ้านนครธรรม การตรวจสุขภาพแก่ผู้มาร่วมงาน เป็นต้น 6.ประเมินผลการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ประชาชนจากชุมชนอื่นๆที่มาร่วมงานได้ทราบว่าชุมชนบ้านนครธรรมเป็นต้นแบบการจัดการขยะ การจัดการสุขภาพ ที่มีกิจกรรมดีๆทีีทำแล้วและกำลังจะทำอีกมากมาย และสามารถให้ชุมชนอิ้นๆมาศึกษาดูงานได้

     

    30 35

    2. ปฐมนิเทศผู้รับทุนโครงการ

    วันที่ 15 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เวลา 9.00 นเปิดการปฐมนิเทศและชี้แจงรายละเอียดต่างๆของโครงการโดย ผอ.สจรส.มอ.หาดใหญ่ 2.เวลา 10.00 น.วิทยากรแนะนำทำความรู้จักอาจารย์พี่เลี้ยงแต่ละจังหวัดทำข้ออตกลงร่วมกัน พร้อมทั้งสอนการลงข้อมูลในเว็ปไซต์ และฝึกการลงข้อมูลโดยแบ่งกลุ่มเป็นรายจังหวัด 3.เวลา 13.00 น- 16.00 น.ลงข้อมูลต่างๆของโครงการชุมชนบ้านนครธรรมต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ ในเว๊บไซต์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้ารับการปฐมนิเทศของโครงการชุมชนบ้านนครธรรมต้นแบบนักจัดการขยะนักขัดการสุขภาพได้ฝึกการลงข้อมูลในเว็บไซต์ และสามารถบันทึกกิจกรรมและทำรายงานได้

     

    2 2

    3. กิจกรรมการจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมโดยการลงแขกเก็บขยะตามถนนสายหลักและรอง ครั้งที่ 1

    วันที่ 23 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงาน ได้แก่ ไม้กวาด กระสอบ เข่ง จอบ เป็นต้น 2.ประชุมคณะทำงานก่อนทำงานเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบ โดยแบ่งพื้นที่รับผิดชอบเป็นกลุ่ม เช่นกลุ่มที่ทำหน้าที่คัดแยกขยะที่ได้จากการจัดเก็บ กลุ่มที่ทำหน้าที่ยกขยะขึ้นรถ 3.หน่วยงานต่างๆที่เข้ามาร่วมมือกันทำงาน เช่น นักเรียนช่วยกันเก็บขยะในสายถนนหน้าโรงเรียน 4.ทำงานกันไปและประชาสัมพันธ์กิจกรรมกันไปให้กับประชาชนตามบ้านเรือนที่อยู่ในพื้นที่ 5.ประเมินผลความสำเร็จจากขยะที่ร่วมกันคัดแยก เป็นขยะประเภทต่างๆ เช่น พลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ เพื่อนำไปจำหน่ายเอาเงินเข้ากองทุนขยะชุมชนบ้านนครธรรมต่อไป และความสะอาดของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีกระบวนการทำงานเป็นเครือข่าย 2.มีการรวมกลุ่มกันทำงาน 3.ชุมชนสะอาดน่าอยู่ 4.เป็นแบบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงโดยประเมินได้จากการมาร่วมกิจกรรมของตัวแทนจากชุมชนใกล้เคียง

     

    60 63

    4. ทำป้ายเขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 24 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.กำหนดสถานที่ปลอดบุหรี่  ที่ โรงเรียน แห่ง รพ.สต.บ้านศรีนคร 1 แห่ง วัดบ้านศรีนคร 1 แห่ง โดยนำสติกเกอร์ห้ามสูบบุหรี่ไปติดไว้ 2.นำป้ายกำหนดสถานที่เขตปลอดบุหรี่มารณรงค์ประกอบในการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ทำ เช่น กิจกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมการจัดการที่คัดแยกขยะ เป็นต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้ที่สูบบุหรี่จะไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่ที่ถูกกำหนด ถ้าฝ่าฝีนมีโทษปรับ 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รู้ถึงพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่และช่วยกันประชาสัมพันธ์

     

    8 8

    5. จัดเวทีเปิดและฃี้แจงโครงการรวมถึงการทบทวบความรู้เรื่องขยะและถอดบทเรียนในสิ่งที่ได้ดำเนินการ

    วันที่ 25 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ให้ผู้เข้าร่วมโครงการลงทะเบียน รับเอกสาร ทำแบบประเมิน 2. ชีเแจงและประชาสัมพันธ์โดยผู้รับผิดชอบ 3.เปิดโครงการโดย นายอบต.คีรีเขต กล่าวรายงานโดย ผอ.รพ.สต.บ้านศรีนคร 4.ชีเแจงโครงการและการดำเนินกิจกรรมตลอดปีโดยอาจารย์พี่เลี้ยง 5.แบ่งกลุ่มทบทวนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการชยะใน 1 ปี ที่ผ่านมา ชาวชุมชนบ้านนครธรรมได้อะไรบ้่างและสิ่งที่ต้องการดำเนินต่อไป 6.แบ่งกลุ่มหารือเพื่อให้ได้มาตรการจัดการขยะที่เป็นแนวทางของชุมชนเพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ในการจัดการชยะ 7.ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสมัครเป็นครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะอย่างครบวงจร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำสิ้งที่ได้จากการหารือมาทำเป็นคู่มือที่เป็นแนวปฏิบัติการจัดการชยะของชุมชนและจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้ในการจัดการขยะได้ 2.เผบแพร่การเป็นชุมชนต้นแบบผ่านตัวแทนที่เข้่ากิจกรรมที่มาจากหมู่บ้านใกล้เคียงในพื้นที่ตำบลคีรีเขตจำนวน 6 หมู่บ้าน และเผยแพร่ผ่านป้ายประฃาสัมพันธ์รวมถึงทางสื่อออนไลน์ 3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 ตนกลับไปทำครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะอย่างครบวงจร

     

    100 100

    6. ประชุมคณะทำงานประเมินผลการทำงาน ครั้งที่1

    วันที่ 26 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมตามเวลาที่นัดหมาย ในเวลา 9.00 น. โดยใช้สถานที่ค่ีอศาลการเปรียญวัดบ้านศรีนคร 2. นายวันชัย  บ่อเงิน ผู้รับผิดชอบชี้แจงโครงการที่ได้รับทุนจำนวน 2 แสน และมีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้วคีอ การออกบูธนวัตกรรมขยะที่งานของดีเมืองยะลา การเปิดตัวโครงการในวันที่ 25 มิ.ย.2557 ที่ผ่านไปได้รับความร่วมมือที่ดี และแจ้งกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไปในวันที่ 4 กค.2557 คือการประชุมคณะกรรมการโรงเรียนและคณะกรรมการวัดเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ขยะที่วัดและโรงเรีย 3.ผู้บริหารอบต.พูดถึงนโยบายการจัดการชยะของท้องถิ่นพอสรุปได้ดังนี้ในปี 2558 อบต.จะซี้อดินร่วมกับอบต.อื่นๆเพื่อใช้เป็นที่ทิ้งขยะร่วมกันของอำเภอธารโต 4.สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปัญหาและอุปสรรค พบว่ายังขาดสถานที่ทิ้งขยะและคนในชุมชนยังมีการใช้ 5.แจ้งกำหนดการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้สรุปผลการทำงานที่ผ่านมาในวันที่ 3 มิ.ย.2557 วันที่ 23 มิ.ย.2557 วันที่ 24 มิ.ย.2557,วันที่ 25 มิ.ย 2557 2 ผลที่ได้เพื่อไปดำเนินกิจกรรมครั้งต่อไป

     

    30 31

    7. จัดอบรมชี้แจงโครงการแก่คณะกรรมวัด และคณะกรรมการโรงเรียนและแกนนำนักเรียนและร่วมวิเคราะห์ปัญหาขยะที่พบในวัดและโรงเรียน

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เวลา9.00 น.จัดอบรมชี้แจงโครงการแก่คณะกรรมการวัดและคณะกรรมการโรงเรียนและตัวแทนนักเรียนโดยใช้โรงเรียนบ้านศรีนครเป็นที่จัด
    2. เวลา13.น ผู้เข้าประชุมแบ่งกลุ่มร่วมวิเคราะห์ปัญหาขยะที่พบในวัดและโรงเรียนและการเกิดของขยะในวัดและโรงเรียนและกำหนดเกณฑ์วัดและโรงเรียนต้นแบบด้านการจัดการขยะ   โดย นายประเสร๋จ ไตรสุวรรณ ซึ่งเป็นคณะกรรมการวัดกล่าวว่ามีการใช้วัดในการจัดกิจกรรมต่างๆค่อนข้างมาก ทางคณะทำงานแจ้งว่าได้ทำที่แยกขยะไว้ที่วัดให้ผู้ที่จัดกิจกรรมที่วัดได้แยกขยะที่รีไชเคิลได้ และต่อไปจะมีการจัดให้เป็นวัดและโรงเรียนต้นแบบการจัดการชยะ 3.ประเมินผลสิ่งที่ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได่ข้อสรุปว่าขยะที่เกิดขี้นที่โรงเรียนและวัดเป็นขยะประเภทใด 2 คณะกรรมการโรงเรียนและคณะกรรมการวัดและตัวแทนนักเรียนร่วมมือกันจัดการขยะที่วัด โรงเรียน และชุมชน 2.เกิดโรงเรียนและวัดต้นแบบด้านการจัดการขยะในอนาคต

     

    60 60

    8. จัดทำที่แยกขยะโดยคนในชุมชน

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้อลวดตาข่ายสำหรับทำที่แยกขยะขนาด 2*3 นิ้ว จากร้านขายวัสดุในยะลาจำนวน 4 ม้วน 2.ประสานคนในชุมชนให้มาร่วมกันทำที่แยกขยะโดยใช้ศาลาการเปรียญวัดบ้านศรีนครเป็นที่ทำการในวันที่10 กรกฎาคม 2557 ระหว่างเวลา9-15 น. 3.คนในชุมชนร่วมกันทำที่แยกตาข่าบจนเสร็จได้จำนวน 50 ลูก 4.นำไปวางที่สาธารณ ร้านค้าจำนวน 4 แห่ง วัด 1 แห่ง โรงเรียน 1 แห่ง รพ.สต.บ้านศรีนคร 1 แห่งและบริเวณอาคารบ้านเรือนจำนวน 40 หลัง 5. ขยายผลการทำที่แยกขยะไปยังชุมชนอื่นเช่นที่ชุมชนเทศบาลตำบลคอกช้างทางชุมชนบ้านนครธรรมได้ส่งวิทยากรคือ นายเกษม ไตรสุวรรณ ไปสอนให้ความรู้ในการทำที่คัดแยกขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คนในชุมชนใช้ที่แยกขยะมาคัดแยกขยะ 2.พื้นที่สาธารณเช่น วัดและโรงเรียน มีที่แยกขยะไว้สำหรับแยกขยะ 3.ร้านค้าในชุมชนจำนวน 4 แห่ง มีที่แยกขยะไว้แยกขยะ

     

    40 40

    9. จัดอบรมรณรงค์การลดละเลิกบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลและอาหารขยะ

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เวลา 9.00 น.ผู้รับผิดชอบชี้แจงโครงการและวิทยากรอบรมการรณรงค์การลดละเลิกบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และอาหารขยะ 2.เวลา 13.00 น.ประชุมและชี้แจงกิจกรรม แบ่งพื้นที่ให้ อสม.สำรวจขยะกับความสัมพันธ์ในการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลย์  และสร้างเกณฑ์และแนวทางการดำเนินงานในการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลย์
      รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน และประเมินผลการดำเนินงานในการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ประชาชนมีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคอาหารที่เป็นพิษต่อสุขภาพลดลง 2.ประชาชนมีการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรวมถึงโรคอ้วนลดลง

     

    40 40

    10. จัดกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดกิจกรรมแห่เทียนรณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษาโดยมีกิจกรรมในเวลา 13.00 น.มีการแห่เทียนพรรษาการแห่เทียนพรรษาได้รับงบประมาณและความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องโดยอบต.คีรีเขต เป็นเจ้าภาพหลักในการสนับสนุนงบประมาณและรณรงค์งเหล้าเข้าพรรนาเป็นกิจกรรมที่สนับสนุนจากโครงการโดยมีจุดเริ่มต้นเดินแห่เทียนพรรษาและเดินรณรงค์คือ อบต.คีรีเขต ถึงวัดบ้านศรีนครเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร 2. มีประชาชนที่เข้าร่วมจากภาคีเครือข่ายต่างๆและจากชุมชนต่างๆของตำบลคีรีเขตประมาณ 200 คน 3.ได้ทำใบสมัครเปิดรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษาจำนวน 40 คน โดยทั้ง 40 คนจะต้องงดการดื่มเครื่องะื่มแอลกอฮอลย์ตลอดช่วงเข้าพรรษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชาชนมีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคอาหารที่เป็นพิษต่อสุขภาพลดลง
    2. ประชาชนมีการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรวมถึงโรคอ้วนลดลง

     

    100 102

    11. กิจกรรมเก็บขยะพัฒนาวัดและโรงเรียน

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เวลา 9.00 น.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 60 คน ได้มาพร้อมเพรียงกันที่ศาลาการเปรียญวัดบ้านศรีนคร จากนั้นผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงถึงกิจกรรมต่างๆที่จะทำกันวันนี้รวมทั้งได้แจกอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานได้แก่กระสอบ ไม้กวาด ถุงมือ ตระกร้า แก่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบเป็นพื้นที่ต่างๆ 2.เวลา 10.00น-12.00 น ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมบริเวณต่างๆของโรงเรียน เช่น ถนนห้น้าโรงเรียน บริเวณโรงอาหาร เป็นต้น 3. เวลา 12.00 น-13.00 น.รับประทานอาหารเที่ยงร่วมกัน 4. เวลา 13.00 น.- 15.00 น.ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาบริเวณต่างๆของวัด เช่น บริเวณโรงครัว บริเวณกุฎิพระ เป็นต้น 5.เวลา 15.00- 1ุ6.00 น.คณะกรรมการวัดและคณะกรรมการโรงเรียนทีี่ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาบริเวณวัดและโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดโรงเรียนและวัดต้นแบบเรียนรู้การจัดการขยะ

     

    60 60

    12. จัดทำสื่อแผ่นพับและอุปกรณ์ที่ใช้จัดทำศูนย์

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมขีัแจงการจัดทำศูนย์เรียนรู้แก่สภาชุมชนและครัวเรือนต้นแบบที่รพ.สต.บ้านศรีนครในเวลา 9.00 น.และใช้สถานที่คือรพ.สต.บ้านศรีนครเป็นที่ทำการ 2.กำหนดแนวทางการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะ 3.จัดหาและจัดทำอุปกรณ์ สื่อและเคร่ื่องมือสาธิตการจัดการขยะอย่างครบวงจรตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำไว้ในศูนย์เรียนรู้ โดยในศูนย์จะมีเอกสารและคู่ใือเผยแพร่การจัดการชยะ และมีที่แยกขยะประเภทต่างๆเป็นต้น 4.พัฒนาครัวเรือนค้นแบบ 40 ครัวเรือนให้เกิดกระบวนการจัดการขยะอย่างครบวงจรตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำและตรัวเรือนเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดศูนย์เรียนรู้และพัฒนาครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ

     

    40 40

    13. ประชุมคณะทำงานประเมินผลการทำงาน ครั้งที่ 2

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมโดยกลุ่มเป้าหมายได้มาประชุมกันในเวลา 9.00 น. 2.ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปผลการทำงานที่ผ่านมาแก่คณะทำงานได้รับทราบได้ประเด็นต่างๆดังนี้ การจัดทำร้านค้าศูนย์บาทขี้นในชุมชนโดยได้เลือกร้านของคุณวสุธา พํศระ
    3.กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไปคือการลงแขกพัฒนาสิ่งแวดล้อมในวันที่ 25 กรกฎาคม 2557 โดยเฉพาะการเก็บชยะตามถนนสายหลักและสายรอง 4.ประเมินผลที่ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการ

     

    30 30

    14. ลงแขกเก็บขยะตามถนนสายหลักและรอง ครั้งที่2

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงาน 2.ประชุมคณะทำงานก่อนทำงานเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบ 3.หน่วยงานต่างๆที่เข้ามาร่วมมือกันทำงาน เช่น นักเรียนช่วยกันเก็บขยะในสายถนนหน้าโรงเรียน 4.ทำงานกันไปและประชาสัมพันธ์กิจกรรมกันไป 5.ประเมินผลความสำเร็จจากขยะที่ร่วมกันคัดแยก และความสะอาดของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีกระบวนการทำงานเป็นเครือข่าย 2.มีการรวมกลุ่มกันทำงาน 3.ชุมชนสะอาดน่าอยู่ 4.เป็นแบบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงโดยประเมินได้จากการมาร่วมกิจกรรมของตัวแทนจากชุมชนใกล้เคียง

     

    60 60

    15. นัดให้ประชาชนรวบรวมวัสดของเก่ามาขาย

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.กำหนดวันเวลาและสถานที่ในการนัดพบได้ใช้สถานที่คือ ศาลาการเปรียญวัดบ้านศรีนคร 2.ประชาสัมพันธ์การนัดพบใ้ห้คนในชุมชนรับทราบโดยใช้ไลน์กลุ่มคีรีเขต การแจ้งข่าวโดยคณะทำงานของโครงการ การแจ้งในโรงเรียน 3.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดเตรียมวัสดุแุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม 4.จัดกิจกรรมวันนัดพบเพื่อให้ประชาชนรวบรวมวัสดุเก่ามาขายโดยมีประชาชนมาร่วม 55 คน นำของเก่ามาจำหน่ายจำนวน 32 คน 5 ประเมินผลการทำงานจากการซื้อขายวัสดุเก่าในครั้งนี้ได้เงินกำไร 850 บาท ได้นำเงืนเข้าบัญชีของกองทุนธนาคารขยะชุมชนบ้านนครธรรม โดยมีเงินหมึนเวียนถึงปัจจุบันจำนวน 15,260 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนนำของเก่ามาขายเพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน

     

    50 50

    16. คูปองแลกซื้อที่ร้านศูนย์บาท

    วันที่ 1 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เมือนำขยะมาขายในธนาคารขยะชุมชนบ้านนครธรรมจะได้คูปองแทนเงิน 2.มีการจัดคูปองไปแลกซื้อสินค้าที่ร้านศูนย์บาทของชุมชน โดยคูปองจะมัคูปอง 1 บาท 5 บาท 10 บาท 20 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สร้างแรงจูงใจในการรวบรวมขยะมาขายที่ธนาคารขยะชุมชนบ้านนครธรรมเพื่อมาแลกสินค้าที่ร้านค้าศูนย์บาท

     

    100 100

    17. ประชุมคณะทำงานประเมิณผลการทำงาน ครั้งที่ 3

    วันที่ 7 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เวลา 9.00 น.คณะทำงานได้เดินทางมาประชุมตามเวลาที่นัดหมาย 2.นายวันชัย ย่อเงิน ผู้รับผิดชอบชี้แจงโครงการและกิจกรรมต่างๆที่ทำในรอบ1 หนึ่ง และการใช้จ่ายเงินของโครงการ 3.นายประทีป ทองคำ นายกอบค.คีรีเขต ซึ่งเป็นผู้บริหารของท้องถิ่นได้กล่าวถึงนโยบายการจัดการชยะของท้องถิ่นในหลายๆอบต.ในอำเภอธารโต 4.สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปัญหาและอุปสรรค 5.แจ้งกำหนดการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อสรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ

     

    30 30

    18. หนุนเสริมการติดตามการดำเนินงานในพื้นที่

    วันที่ 18 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ชุมชนรายงานความก้าวหน้าและแผนงานของโครงการได้ ให้ชุมชนรายงานอุปสรรคสำคัญของโครงการ พี่เลี้ยงติดตามและประเมินการลงข้อมูลกิจกรรมในเว็ปไซต์ของโครงการ พี่เลี้ยงติดตามการทำเอกสารการเงินของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ผู้รับผิดชอบโครงการมีปัญหาเรื่องหาสถานที่ดูงาน ผู้รับผิดชอบโครงการได้ปรับแก้ข้อมูลให้ตรงกับรายงานการเงิน ผู้รับผิดชอบได้รับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการทำเอกสารการเงิน

     

    2 2

    19. ลงแขกเก็บขยะตามถนนสายหลักและรอง ครั้งที่ 3

    วันที่ 17 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงาน 2.ประชุมคณะทำงานก่อนทำงานเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบ 3.หน่วยงานต่างๆที่เข้ามาร่วมมือกันทำงาน เช่น นักเรียนช่วยกันเก็บขยะในสายถนนหน้าโรงเรียน 4.ทำงานกันไปและประชาสัมพันธ์กิจกรรมกันไป 5.ประเมินผลความสำเร็จจากขยะที่ร่วมกันคัดแยก และความสะอาดของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีกระบวนการทำงานเป็นเครือข่าย 2.มีการรวมกลุ่มกันทำงาน 3.ชุมชนสะอาดน่าอยู่ 4.เป็นแบบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงโดยประเมินได้จากการมาร่วมกิจกรรมของตัวแทนจากชุมชนใกล้เคียงและเปรียบเทียบความสะอาดระหว่างชุมชนบ้านนครธรรมกับชุมชนใกล้เคียง

     

    60 60

    20. ตรวจสุขภาพฟรีแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 18 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชาสัมพันธ์แจ้งให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบวันที่จะดำเนินการโดยให้กลุ่มเป้าหมายต้องอดน้ำและอาหารก่อนมาตรวจ 2.ประสานหน่วยงานที่ดำเนินการมาจัดตรวจได้แก่เจ้าหน้าที่จากรพ.สต.บ้านศรึนคร 3.จัดทำสมุดสำหรับใช้ในการตรวจสุขภาพ 4.จัดตรวจสุขภาพฟรีแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ เช่นตรวจความดันโลหิต ตรวจเบาหวาน วัดรอบเอว ชั่งน้ำหนักโดยใช้สถานที่ศาลาการเปรียญวัดบ้านศรีนคร 5.สรุปผลและแจ้งผลการตรวจให้ผู้รับการตรวจทราบในการตรวจสุขภาพแก่ประชาชนที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปเป็นชาย 54 คน หญิง 50 คน พบวาเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานจำนวน 8 คน เสี่ยงต่อเป็นความดันโลหิตสูง 12 คน เป็นโรคอ้วน 31 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เพื่อจัดสวัสดิการแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ และสร้างแรงจูงใจในการดำเนินงานของธนาคารขยะชุมชนบ้านนครธรรม 2.เพื่อคัดกรองตวามเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน รอบเอวเกินอ้วนลงพุง เป็นต้น ชี่งมีสาเหตุเกิกจากการบริโภคอาหารชยะ

     

    100 100

    21. ประชุมคณะทำงานประเมิณผลการทำงาน ครั้งที่ 4

    วันที่ 19 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะทำงานได้ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมในเวลา 9.00 นง 2.ให้ผู้ประชุมลงทะเบียน 3.การประชุมได้เริ้มขั้นในเวลา 9.00 น ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปผลการทำงานที่ผ่านมาได้ประเด็นต่างๆดังนี้1.การจัดกิจกรรมต่างๆสามารถบรรลุตามแผนงานที่วางไว้2.กิจกรรมที่จะทำตรั้งต่อไป 4.กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไป 5.ประเมินผลที่ได้ ความสำเร็จของกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษ่ามีผู้เข่าร่วมตามที่กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการ

     

    30 30

    22. มอบประกาศนียบัตรหลังออกพรรษา

    วันที่ 8 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นายกอบค.คีรีเขตได้เป็นเกียรติลงนามประกาศนียบัตน 2.วันที่ 8 ตุลาคม 2557 เวลา 9.00 น ได้ใช้สถานที่คือศาลาการเปรียญวัดบ้านศรีนคร หมู่ที่ 6 เป็นสถานที่มอบประกาศนียบัตน 3.แจ้งให้ผู้ได้รับมอบประกาศนียบัตรได้รับทราบโดยใช้หนังสือซึ่งมีผู้รับมอบตัวจริงมา 35 คน อีก 5  คน ติดภารกิจได้ส่งตัวแทน 4.นายกอบค.คีรีเขต คิดภารกิจไม่สามารถมามอบเองได้ได้ส่งรองนายก มามอบประกาศนียบัตรแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษาหลังออกพรรษา 5.ประเมินผลความสำเร็จของกิจกรรมเป็นการยกย่องคนดีให้สาธารณชนได้รับทราบและเป็นแบบอย่างที่ดีของชุมชนต่อไปในส่วนความยั่งยืนของโครงการนั้นจะจัดให้มีกิจกรรมแบบนี่ทุกปี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนมีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลย์ลดลงและทำให้ขยะที่เกิดจากขวดเครื่องดื่มแอลกอฮอย์ลดลง

     

    40 40

    23. ประสานงานภาคีเครือข่าย หาสถานที่และวิทยากร

    วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เวลา 13.00 น.ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้้านศรีนคร ได้จัดประชุมภาคีเครือข่าย อสม 2 คน ประธานชุมชน 1 คน  ผู้นำชุมชน 1 คน เจ้าหน้าที่รพสต 3 คน ปรึกษาหารือเกี่ยวกับแหล่งสถานที่ดูงาน เพื่อเป็นต้นแบบการเรียนแนวทางการจัดการขยะที่ครบวงจร เลือกสถานที่ในการศึกษาดูงานเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ของชุมชนบ้านนครธรรมโดยได้คัดเลือก 2 แห่ง 1. ที่อำเภอสะเดา  จังหวัดสงขลา 2. ชุมชนควนโดน จังหวัดสตูล มติที่ประชุม เห็นว่าควรไปศึกษาดูงานที่ชุมชนควนโดน จังหวัดสตูล เพราะเป็นแหล่งเรียนรู้สังคมรีไซเคิลแห่งที่4 ของประเทศไทย และเป็นแห่งแรกของภาคใต้ ซึ่งเป้นความร่วมมือของเทศบาลและสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม จุดเด่นคือ เป็นต้นแบบการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เน้นความเป็นธรรมชาติเ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ทำให้มีการสร้างเครือข่าย และเป็นพี่เลี้ยงในการจัดกรขยะของชุมชนบ้านนครธรรม 2.คณะทำงานมีความตั้งใจ และพร้อมที่จะนำความรู้ และพร้อมเรียนรู้การจัดการขยะของชุมชนควนโดน

     

    7 7

    24. ประชุมคณะทำงานประเมิณผลการทำงาน ครั้งที่ 5

    วันที่ 27 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมในวันที่ 27 ตุลาคม 2557  ณ รพ.สต.บ้านศรีนคร โดยคณะทำงานได้มาประชุมในเวา 9.00 น. มีนายโกศล ไตรสุวรรณ เป็นประธานการประชุม 2.สรุปผลการทำงานที่ผ่านมา ในงวดที่ 1 เพื่อเตรียมส่งรายงานงวดที่ 1 ในวันที่ 1 พ.ย.2557 โดยที่ประชุมให้ นายวันชัย บ่อเงิน ผู้รับผิดชอบโครงการ และนส.หูสนา เจะเตะ เจ้าหน้าที่การเงินของโครงการไปส่งรายงานงวด ส่วนคณะทำงานท่านอื่นๆนั้นติดภารกิจในการเตรียมงานทอดกฐินในวันที่ 2 พ.ย.2557 ที่วัดบ้านศรีนคร หมู่ที่ 6 ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา 3.กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไป ได้แก่การไปศึกษาดูงาน การส่งรายงานงวด เป็นต้น 4.ประเมินผลที่ได้จากการทำกิจกรรม โดยนายวันชัย บ่อเงิน ผู้รับผิดชอบโครงการได้รายงานต่อที่ประชุม โดยมีข้อซักถามจากนางไพวรรณ ไกรดำ ซึ่งเป็นคณะทำงานถึงความยั่งยืนของโครงการ   และปิดการประชุมเวลา 11.30 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ในส่วนของการดำเนินกิจกรรมเพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการยังพบว่าบางกิจกรรมต้องเลี่อนออกไปเช่นกิจกรรมการศึกษาดูงาน 2.ในส่วนของการใฃ้จ่ายงบประมาณตามโครงการพบว่าพบวบประมาณในงวดที่ 1 ได้้รับการสนับสนุนน้อสกว่างบประมาณที่ต้องจ่ายจริงในการดำเนินกิจกรรม

     

    30 30

    25. ศึกษาดูงาน

    วันที่ 30 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะทำงานได้มีการประชุมหารือเพื่อเลือกสถานที่ศึกษาดูงานและเลือกกลุ่มเป้าหมายที่จะให้ไปร่วมศึกษาดูงานโดยผู้รับผิดชอบโครงการคือ นายวันชัย บ่อเงิน ทำหน้าที่ประสานงานพื้นที่ศึกษาดูงานและยานพาหะนะในการเดินทาง และมอบให้นายโกศล ไตรสุวรรณ ตำแหน่งสารวัตรกำนันทำหน้าที่แจ้งกลุ่มเป้าหมายที่จะไปโดยกำหนดเป็นวันที่ 30 ตุลาคม 2557 ณ ชุมชนควนโดนใน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล 2.เวลา 06.00 คณะศึกษาดูงานของชุมชนบ้านนครธรรมแต่งกายเสื้อเขียวมาพร้อมเพรียงกันที่วัดบ้านศรีนครโดยเดินทางด้วยยานพาหนะที่เป็นรถตู้จำนวน 2 คัน 3.เวลา 10.30 น.คณะศึกษาดูงานเดินทางมาถึงพื้นที่ศึกษาดูงานคือขุมขนควนโดนใน ในเขตเทศบาลคำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล 4.เวลา 10.30 - 12.00 น. ประธานขุมขนควนโดนในได้กล่าวต้อนรับและบรรยายให้ทราบถึงกาารจัดการขยะของชุมชนควนโดนในและพาคณะศึกษาดูงานเยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้แหล่งริไชเคิลซึ่งมีการรีไชเคิลขยะประเภทต่างๆ แตกต่างออกไป ชึ่งคณะดูงานที่ไปเป็นคณะใหญ่จำนวน 90 กว่าตน ประกอบด้วย ขุมขนเทศบาลคอกช้าง ชุมชนบ้านศรีนครและชุมชนบ้านนครธรรม 5.คณะดูงานแบ่งเป็นชุดย่อยเข้าชมจุดต่างๆของศูนย์เรียนรู้ ที่จุดการคัดแยกขยะทำให้ทราบถึงการแยกขยะเป็นประเภทต่างๆ ที่จุดทำก๊าชชีวภาพทำให้ทราบถึงการนำมูลสัตว์มาใช้ประโยชน์ ที่จุดทำบัญชีธนาคารขยะทำให้ทราบถึงวิธิการซื้อชายขยะ รูปแบบของสมุดธนาคารขยะ
    6.เวลา 12.00 น - 13.00 น.รับประทานอาหารร่วมกันโดยคณะศึกษาดูงานได้จัดเตรียมอาหารมาเองด้วย ึ7.เวลา 13.00 น. - 14.30 น.ลงศึกษาดูงานการจัดการขยะในครัวเรือนของชุมชนควนโดนใน ร้านค้าศูนย์บาท ร้านน้ำชาที่ใช้คูปองจากขยะ จากนี้นมีการสรุปผลการดูงานโดยประธานชุมชนควนโดนใน 8.เวลา 14.30 น.คณะศึกษาดูงานเดินทางกลับโดยเดินทางกลับถึงชุมชนบ้านนครธรรม หมู่ที่ 6 ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดบะลา ในเวลา 19.00 นใ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ทำให้ผู้แทนฝ่ายการเมือง แกนนำนักเรียนและเยาวชน ครู เจ้าหน้าที่ รพ.สต.นำความรู้ที่ได้จากกการศึกษาดูงานในครั้งนี้มาร่วมกันสนับสนุนการจัดเป็นชุมชนต้นแบบในการเรียนรู้แก่ชุมชนอื่นต่อไป 2.นำผลการศึกษาดูงานสถานที่จริงของแกนนำชุมชนแล้วนำผลการศึกษาดูงานมาจัดพัฒนากลไกและสวัสดิการของธนาคารขยะของชุมชนบ้านนครธรรม และการจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียนต่อไป 3.ได้ทราบถึงรูปแบบและแนวคิดการจัดการขยะของชุมชนควนโดนในที่พอสรุปได้ดังนี้ การจีดการขยะต้องมีภาคีเครือข่าย ต้องมีการสอดแทรกการจัดการขยะชงวนทุกกิจกรรมที่ชุมชนทำ เช่น กิจกรรมการแข่งขันกีฬาในชุมชน การจีดการขยะต้องมีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ การจีดการขยะต้องมีการจัดการข้อมูลขยะของชุมชนเป็นเรื้องที่สำคัญมากทำให้รู้ว่าในชุมชนมีขยะประเภทไหนมาก

     

    30 30

    26. รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ งวดที่ 1

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 09.00 น.เดินทางถึงสจรส.มอ.หาดใหญ่ เพื่อส่งรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมในโครงการ งวดที่ 1 ให้ทางสจรส.ตรวจสอบเอกสารและการเงินในเว็ปไซต์ พร้อมทั้งรับฟังคำชี้แจงจากครูพี่เลี้ยงเพื่อนำไปปรับแก้ให้ถูกต้องต่อไป รายละเอียดที่อาจารย์พี่เลี้ยงเสนอแนะได้แก่ เอกสารการเงินต่างๆต้องให้สอดคล้องกับกิจกรมต่างๆที่ทำ ควรลงรายละเอียดในการจัดทำกิจกรรมต่างๆให้ครอบคลุมด้วย  ชี่งทางเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจะดำเนินการต่อไป  เวลา16.30 น.เดินทางกลับสู่ภูมิลำเนา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานส่งรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมในโครงการ งวดที่ 1 ให้ทางสจรส.ตรวจสอบเอกสารและในเว็ปไซต์ พร้อมทั้งรับฟังคำชี้แจงจากครูพี่เลี้ยงเพื่อนำไปปรับแก้ให้ถูกต้อง ทางผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานดำเนินการปรับแก้ข้อมูลในเว็ปไซต์และในเอกสารให้เรียบร้อยสมบูรณ์

     

    2 2

    27. ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้าพร้อมส่งรายงาน งวด ที่ 1

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 15.30 น.ผู้รับผิดชอบโครงการพร้อมเจ้าหน้าที่การเงินของโครงการได้เดินทางมาพบอาจารย์พี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบข้อมูลในเว็ปไซต์และเอกสารต่างๆที่อาจารย์ได้เสนอแนะไปในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เพื่อความถูกต้องก่อนดำเนินการส่งสจรส.ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ข้อมูลและเอกสารที่ให้อาจารย์พี่เลี้ยงตรวจสอบผ่านแล้ว อาจารย์ให้ดำเนินการจัดส่งสจรส.ต่อไป

     

    2 2

    28. ลงแขกเก็บขยะตามถนนสายหลักและรอง ครั้งที่ 4

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงาน 2.ประชุมคณะทำงานก่อนทำงานเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบ 3.หน่วยงานต่างๆที่เข้ามาร่วมมือกันทำงาน เช่น นักเรียนช่วยกันเก็บขยะในสายถนนหน้าโรงเรียน 4.ทำงานกันไปและประชาสัมพันธ์กิจกรรมกันไป 5.ขยะที่ได้จาการเก็บแต่ละครั้งนำมาคัดแยกเพือนำไปขายยังสู่ท้องตลาดต่อไป 5.ประเมินผลความสำเร็จจากขยะที่ร่วมกันคัดแยก และความสะอาดของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีกระบวนการทำงานเป็นเครือข่าย 2.มีการรวมกลุ่มกันทำงาน 3.ชุมชนสะอาดน่าอยู่ 4.เป็นแบบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงโดยประเมินได้จากการมาร่วมกิจกรรมของตัวแทนจากชุมชนใกล้เคียง

     

    60 60

    29. ระดมความคิดทบทวนข้อมูลการดำเนินงานที่ผ่านมาของกองทุนธนาคารขยะ

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระดมความคิดทบทวนข้อมูลการดำเนินงานที่ผ่านมาของกองทุนธนาคารขยะ ว่าที่ผ่านมาจัดโครงการได้ทำกิจกรรมต่างๆ ไปแล้วกี่กิจกรรมซึ่งซักถามผู้เข้าร่วมประชุมว่าแต่ละกิจกรรมพบปัญหาและอุปสรรคอะไรบ้างเพื่อนำมาปรับปรุงและแก้ไขร่วมกัน และกิจกรรมที่จัดไปแล้วส่งผลดีหรือผลเสียอย่างไร สอบถามสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านเช่นสถานการณ์ขยะในหมู่บ้านลดลงหรือไม่ คำตอบคือลดลงสะอาดมากขึ้นกว่าเดิม ชาวบ้านดีใจที่ได้ตะแกรงที่ทางโครงการแจกให้เพื่อคัดแยกขยะ อีกทั้งชาวบ้านได้รายได้เสริมจากการขายขยะ  และได้ชี้แจงสถานะการเงินทุนสำหรับรับซื้อขยะในกิจกรรมธนาคารขยะให้ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทราบผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของกองทุนธนาคารขยะ

     

    30 30

    30. ประชุมคณะทำงานประเมิณผลการทำงาน ครั้งที่ 6

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมในวันที่ 27 ตุลาคม 2557  ณ รพ.สต.บ้านศรีนคร โดยคณะทำงานได้มาประชุมในเวา 9.00 น. มีนายโกศล ไตรสุวรรณ เป็นประธานการประชุม 2.สรุปผลการทำงานที่ผ่านมา ในงวดที่ 1 เพื่อเตรียมส่งรายงานงวดที่ 1 ในวันที่ 1 พ.ย.2557 โดยที่ประชุมให้ นายวันชัย บ่อเงิน ผู้รับผิดชอบโครงการ และนส.หูสนา เจะเตะ เจ้าหน้าที่การเงินของโครงการไปส่งรายงานงวด ส่วนคณะทำงานท่านอื่นๆนั้นติดภารกิจในการเตรียมงานทอดกฐินในวันที่ 2 พ.ย.2557 ที่วัดบ้านศรีนคร หมู่ที่ 6 ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา 3.กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไป ได้แก่การไปศึกษาดูงาน การส่งรายงานงวด เป็นต้น 4.ประเมินผลที่ได้จากการทำกิจกรรม โดยนายวันชัย บ่อเงิน ผู้รับผิดชอบโครงการได้รายงานต่อที่ประชุม โดยมีข้อซักถามจากนางไพวรรณ ไกรดำ ซึ่งเป็นคณะทำงานถึงความยั่งยืนของโครงการ  และปิดการประชุมเวลา 11.30 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ในส่วนของการดำเนินกิจกรรมเพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการยังพบว่าบางกิจกรรมต้องเลี่อนออกไปเช่นกิจกรรมการศึกษาดูงาน 2.ในส่วนของการใฃ้จ่ายงบประมาณตามโครงการพบว่าพบวบประมาณในงวดที่ 1 ได้้รับการสนับสนุนน้อสกว่างบประมาณที่ต้องจ่ายจริงในการดำเนินกิจกรรม

     

    30 30

    31. พัฒนาการดำเนินงานของธนาคารขยะเช่นปรับปรุงระบบการจัดเก็บการขนส่งการรับซื้อและการขาย

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับปรุงสถานที่จัดเก็บขยะที่รับซื้อจากชาวบ้านได้จากการลงแขกเก็บขยะและได้จากการรับบริจาคจากชาวบ้านพร้อมทีั้งชี้แจงทุนที่รับซื้อและขายขยะทุกครั้งที่ขายให้สมาชิกรับทราบโดยทั่วกัน ทำความสะอาดสถานที่ จัดเก็บอุปกรณ์รับซื้อให้เป็นระเบียบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกหรือคณะทำงานร่วมกันจัดสถานที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ร่วมกันคัดแยกขยะก่อนส่งขายต่อไป และรับทราบสถานะเงินทุนรับซื้อยอดเงินขณะปัจจุบัน คงเหลือกี่บาท

     

    30 30

    32. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7

    วันที่ 22 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะทำงานได้ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมในเวลา 9.00 นง 2.ให้ผู้ประชุมลงทะเบียน 3.การประชุมได้เริ้มขั้นในเวลา 9.00 น ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปผลการทำงานที่ผ่านมาได้ประเด็นต่างๆดังนี้1.การจัดกิจกรรมต่างๆสามารถบรรลุตามแผนงานที่วางไว้2.กิจกรรมที่จะทำตรั้งต่อไป 4.กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไป 5.ประเมินผลที่ได้ ความสำเร็จของกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษ่ามีผู้เข่าร่วมตามที่กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการเพื่อนำไปแก้ไขต่อไป

     

    30 30

    33. พัฒนาการดำเนินงานของธนาคารขยะเช่นปรับปรุงระบบการจัดเก็บการขนส่งการรับซื้อและการขาย

    วันที่ 27 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับปรุงสถานที่จัดเก็บขยะที่รับซื้อจากชาวบ้านได้จากการลงแขกเก็บขยะและได้จากการรับบริจาคจากชาวบ้านพร้อมทีั้งชี้แจงทุนที่รับซื้อและขายขยะทุกครั้งที่ขายให้สมาชิกรับทราบโดยทั่วกัน ทำความสะอาดสถานที่ จัดเก็บอุปกรณ์รับซื้อให้เป็นระเบียบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกหรือคณะทำงานร่วมกันจัดสถานที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย รับทราบสถานะเงินทุนรับซื้อยอดเงินขณะปัจจุบัน คงเหลือกี่บาท

     

    30 30

    34. ลงแขกเก็บขยะตามถนนสายหลักและรอง ครั้งที่5

    วันที่ 15 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงานได้แก่ กระสอบ ไม้กวาด เข่ง เหล็กเสียบขยะ 2.ประชุมคณะทำงานก่อนทำงานเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบในถนนสายหลัก 1 สาย คือถนนที่ผ่านบ้านนครธรรม สายรองอีก 3 สาย ได้แก่ถนนสายซอยเปีย ถนนสายหมอ ถนนสายเหมือง  3.หน่วยงานต่างๆที่เข้ามาร่วมมือกันทำงาน เช่น นักเรียนช่วยกันเก็บขยะในสายถนนซอยเปียเป็นถนนผ่านหน้าโรงเรียนบ้านศรีนคร กลุ่มอสม.รับผิดชอบถนนสายหลักผ่านบ้านนครธรรม กลุ่มผู้นำชุมชนและเครือข่ายอื่นๆดำเนินการถนนสายหมอและสายเหมือง 4.ในระหว่างที่ทำงานได้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้แก่ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมา 5.ประเมินผลความสำเร็จจากขยะที่ร่วมกันคัดแยก และความสะอาดของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีกระบวนการทำงานเป็นเครือข่าย 2.มีการรวมกลุ่มกันทำงาน 3.ชุมชนสะอาดน่าอยู่ 4.เป็นแบบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงโดยประเมินได้จากการมาร่วมกิจกรรมของตัวแทนจากชุมชนใกล้เคียง

     

    60 60

    35. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8

    วันที่ 30 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะทำงานได้ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมในเวลา 9.00 นง 2.ให้ผู้ประชุมลงทะเบียน 3.การประชุมได้เริ้มขั้นในเวลา 9.00 น ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปผลการทำงานที่ผ่านมาได้ประเด็นต่างๆดังนี้1.การจัดกิจกรรมต่างๆสามารถบรรลุตามแผนงานที่วางไว้2.กิจกรรมที่จะทำตรั้งต่อไป 4.กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไป 5.ประเมินผลที่ได้ ความสำเร็จของกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษ่ามีผู้เข่าร่วมตามที่กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการเพื่อนำไปแก้ไขต่อไป

     

    30 30

    36. พัฒนาการดำเนินงานของธนาคารขยะเช่นปรับปรุงระบบการจัดเก็บการขนส่งการรับซื้อและการขาย

    วันที่ 31 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับปรุงสถานที่จัดเก็บขยะที่รับซื้อจากชาวบ้านได้จากการลงแขกเก็บขยะและได้จากการรับบริจาคจากชาวบ้านพร้อมทีั้งชี้แจงทุนที่รับซื้อและขายขยะทุกครั้งที่ขายให้สมาชิกรับทราบโดยทั่วกัน ทำความสะอาดสถานที่ จัดเก็บอุปกรณ์รับซื้อให้เป็นระเบียบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกหรือคณะทำงานร่วมกันจัดสถานที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย รับทราบสถานะเงินทุนรับซื้อยอดเงินขณะปัจจุบัน คงเหลือกี่บาท

     

    30 30

    37. ถอดบทเรียนโครงการชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอดบทเรียนเล่าหรือบรรยายกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้วว่าดำเนินการถึงไหนแล้ว ทำอะไรบ้าง พบปัญหาและอุปสรรคอะไรบ้าง ผลลัพที่ได้คืออะไรดีหรือไม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานร่วมกันบรรยายกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้วให้ผู้เข้าร่วมงานฟังพร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมงานซักถาม

     

    2 2

    38. ปรับปรุงระบบการจัเก็บและการขนส่ง

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับปรุงสถานที่จัดเก็บขยะที่รับซื้อจากประชาชนได้จากการลงแขกเก็บขยะและได้จากการรับบริจาคจากชาวบ้านพร้อมทีั้งชี้แจงทุนที่รับซื้อและขายขยะทุกครั้งที่ขายให้สมาชิกรับทราบโดยทั่วกัน ทำความสะอาดสถานที่ จัดเก็บอุปกรณ์รับซื้อให้เป็นระเบียบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกหรือคณะทำงานร่วมกันจัดสถานที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย รับทราบสถานะเงินทุนรับซื้อยอดเงินขณะปัจจุบัน คงเหลือ 15,450 บาท

     

    30 30

    39. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่9

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะทำงานได้ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมในเวลา 9.00 น.
    2. ให้ผู้ประชุมลงทะเบียน
    3. การประชุมได้เริ้มขั้นในเวลา 9.00 น ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปผลการทำงานที่ผ่านมาได้ประเด็นต่างๆดังนี้1.การจัดกิจกรรมต่างๆสามารถบรรลุตามแผนงานที่วางไว้2.กิจกรรมที่จะทำตรั้งต่อไป
    4. กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไป
    5. ประเมินผลที่ได้ ความสำเร็จของกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษ่ามีผู้เข่าร่วมตามที่กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการเพื่อนำไปแก้ไขต่อไป

     

    30 30

    40. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 10

    วันที่ 27 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะทำงานได้ประสานงานแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมในเวลา 9.00 น.
    2. ให้ผู้ประชุมลงทะเบียน
    3. การประชุมได้เริ้มขั้นในเวลา 9.00 น ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปผลการทำงานที่ผ่านมาได้ประเด็นต่างๆดังนี้1.การจัดกิจกรรมต่างๆสามารถบรรลุตามแผนงานที่วางไว้2.กิจกรรมที่จะทำตรั้งต่อไป
    4. กำหนดกิจกรรมที่จะทำต่อไป
    5. ประเมินผลที่ได้ ความสำเร็จของกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษ่ามีผู้เข่าร่วมตามที่กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการเพื่อนำไปแก้ไขต่อไป

     

    30 30

    41. ลงแขกเก็บขยะ ครั้งที่6

    วันที่ 28 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงาน
    2. ประชุมคณะทำงานก่อนทำงานเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบ
    3. หน่วยงานต่างๆที่เข้ามาร่วมมือกันทำงาน เช่น นักเรียนช่วยกันเก็บขยะในสายถนนหน้าโรงเรียน
    4. ทำงานกันไปและประชาสัมพันธ์กิจกรรมกันไป
    5. ประเมินผลความสำเร็จจากขยะที่ร่วมกันคัดแยก และความสะอาดของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีกระบวนการทำงานเป็นเครือข่าย
    2. มีการรวมกลุ่มกันทำงาน
    3. ชุมชนสะอาดน่าอยู่
    4. เป็นแบบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงโดยประเมินได้จากการมาร่วมกิจกรรมของตัวแทนจากชุมชนใกล้เคียง

     

    60 60

    42. นำขยะมาแลกไข่

    วันที่ 26 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เวลา 09.00-09.15 น. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงกิจกรรมที่จะทำและได้มอบหมายหน้าที่เป็นฝ่ายต่างๆ ได้แก่ ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายตัดแยกขยะ ฝ่ายรับขยะ ฝ่ายจัดการทั่วไป
    2. เวลา 09.00น.-12.00น.เปิดธนาคารขยะ โดยมีประชาชนนำขยะมาแลกไข่ โดยใช้วิธิตีราคาขยะเป็นตัวคนและได้จำนวนไข่เท่ากับมูลค่าของขยะที่ได้เงิน
    3. 12.00 น.สรุปผลการดำเนินการและพักรับประทานอาหารร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนนำขยะจากครัวเรือนมาแลกกับไข่ โดยสาระสำคัญของกิจกรรมนี้เพื่อสร้างมูลค่าของขยะให้ประชาชนได้ตระหนักขยะมีคุณค่าสามารถเปลี่ยนเป็นอาหารที่เป็นประโยชน์ได้

     

    100 50

    43. แจกกระเป๋าลดโลกร้อนสัญลักษณ์สสส.แก่ผู้เข้าร้าน100ท่านแรก

    วันที่ 27 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำกระเป๋าผ้า ลดโลกร้อนแจกชาวบ้านที่มาขายขยะ เพื่อนำไปของแทนการใช้ถุงพลาสติก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนได้ใช้กระเป๋าผ้าแทนถุงพลาสติกจะเป็นการลดการใช้ถุงพลาสติกอันจะเป็นการลดขยะไปด้วย

     

    100 100

    44. คณะทำงานจัดเวทีถอดบทเรียนชุมชนต้นแบบการจัดการขยะในพื้นที่ชุมชนบ้านนครธรม

    วันที่ 28 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานของโครงการร่วมกันถอดบทเรียนระยะเวลาการทำโครงการ 1 ปีที่ผ่านมาได้อะไรบ้าง มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง สรุปผลการดำเนินงานให้สมาชิกทราบ ลักษณะกิจกรรมที่จัดเป็นการถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนความคิด ผู้เข้าร่วมประชุมมีข้อเสนอดังนี้ 1.ในเวทีให้ข้อคิดเห็นในเรื่องธนาคารขยะ มีปัญหาอุปสรรคในเรื่องของสถานที่จัดเก็บขยะก่อนส่งไปจำหน่ายและรถที่ใช้ในการขนส่ง 2.สรุปผลการดำเนินการ ประชาชนทั้งในชุมชนบ้านนครธรรมดีใจที่ได้ตะแกรงที่ใช้คัดแยกขยะที่ทางคณะทำงานชุมชนบ้านนครธรรมได้จัดทำแจกไปให้ทุกหลังคาเรือน 3.ชมเชยคณะทำงานทุกคนที่ได้ร่วมมือกันทำงานออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานของโครงการร่วมกันถอดบทเรียนระยะเวลาการทำโครงการ 1 ปีที่ผ่านมาได้อะไรบ้าง มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง สรุปผลการดำเนินงานให้สมาชิกทราบ

     

    30 30

    45. ทำประกาศนียบัตรส่งเสริมผู้ที่มียอดสะสมในการบริจาคขยะและขายขยะสูงสุด

    วันที่ 29 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อหายอดสะสมจากบัญชีการซื้อขายขยะของธนาคารขยะชุมชนบ้านนครธรรมแล้วแจ้งให้ที่ประชุมรับทราบ
    2. จัดทำประกาศนียบัตรพร้อมแจกทุนการศึกษาส่งเสริมผู้ที่มียอดสะสมในการบริจาคขยะและขายขยะสูงสุด
    3. เสนอให้หน่วยงานในพื้นที่ลงนามเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรม
    4. กำหนดวัันเวลาและสถานที่ในการมอบ
    5. ประเมินผลการดำเนินงาน

    จากนั้นทางผู้รับผิดชอบโครงการพิมพ์หนังสือเชิญเด็กนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกจากคณะทำงานของโครงการเพื่อแจกประกาศนียบัตรพร้อมทั้งมอบทุนการศึกษาแก่เด็กที่มียอดการขายขยะสูงสุด 5 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กๆที่มียอดการขายขยะสูงสุด 50 คน ได้รับประกาศนียบัตร และมอบทุนการศึกษาผู้ที่มียอดการขายขยะมากที่สุด 5 อันดับ อันดับละ 500 บาท โดยใช้ผลกำไรของธนาคารขยะมาแบ่งเป็นทุนการศึกษา

     

    50 50

    46. ประชุมคณะทำงาน คั้งที่11

    วันที่ 30 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงานโดยให้เปิดโอกาสให้สมาชิกได้เสนอปัญหาอุปสรรค พร้อมทั้งระดมความคิดเพื่อหาทางแก้ไขร่วมกัน
    2. สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและความยั่งยืนของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกเข้าร่วมประชุมพร้อมกัน และได้มีการประชุมรวมถึงได้แจ้งสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาแจ้งให้คณะทำงานว่าทราบว่าโครงการได้ดำเนินมาแล้วเกือบจะปิดโครงการแล้ว แจ้งให้คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมมอบป้ายครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะเขียน เพื่อให้ทราบรายละเอียดกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรมตามวันเวลาที่กำหนด ซึ่งหากเปลี่ยนแปลงจะแจ้งอีกที

    รับฟังรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการขยะในแต่ละเขตพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีการรายงานผลดังนี้

    1. พื้นที่ในชุมชนยังมีขยะเล็กน้อยแต่ไม่เกลื่อนกลาด
    2. ข้างทางหรือริมถนนสะอาด ครัวเรือนต้นแบบมีการแยกขยะก่อนนำไปทิ้งหรือทำลาย
    3. พื้นที่ๆมีร้านขายของ สังเกตุจากแม่ค้า-พ่อค้า มีการนำขยะไปทิ้งในถังแยกขยะและมีการลดการใช้ถุงพลาสติก
    4. พื้นที่ในโรงเรียน ทุกๆเช้าของวันจันทร์ และ วันศุกร์ ก่อนเข้าห้องเรียนนักเรียนต้องช่วยกันเก็บขยะ และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน สังเกตุได้ว่าหลังจากมีการรณรงค์ลดขยะครั้งนี้ทำให้ ครู บุคลากรในโรงเรียนรวมทั้งนักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการแก้ไขปัญหาขยะ และตื่นตัวกับการลดขยะมากขึ้น และได้แจ้งว่าประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมปิดโครงการ หลังจากนี้ให้ทุกคนที่เข้าประชุมช่วยกันรักษาความสะอาดในชุมชนต่อไป

     

    30 30

    47. จัดทำป้ายประกาศเป็นครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานประชุมหารือเพื่อคัดเลือกบ้านที่มีการจัดการขยะและผ่านเกณฑ์ของครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะเพื่อติดป้ายประกาศครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ  โดยพิจารณาดังนี้

    • การลดขยะที่ตัวเราเอง
      โดยให้สมาชิกในชุมชนร่วมมือกันลดขยะที่บ้านของตนเองก่อนโดยสังเกตุบริเวณบ้านว่ามีปริมาณขยะลดลงมั้ยสังเกตุจากการลงแขกเก็บขยะทุกครั้ง
    • การเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งของที่เราไม่ต้องการ

    โดยจาการที่ชาวบ้านมองเห็นมูลค่าขยะสังเกตุจาการนำขยะมาขาย  เน้นคนในชุมชนนำขยะมาตีมูลค่าเป็นตัวเงิน และแลกเปลี่ยนเป็นสินค้าที่มีอยู่ภายในร้านโดยไม่ต้องใช้เงิน จากนั้นร้านศูนย์บาทที่เปรียบเสมือนธนาคารขยะจะนำขยะที่รับซื้อไปขาย ทำให้ร้านได้กำไรทั้งจากการขายขยะ และการขายสินค้า ช่วยปลูกฝังจิตสำนึกในการแยกขยะ และเห็นคุณค่าของสิ่งของทุกชิ้นก่อนจะทิ้งอีกด้วย

    จากนั้นก็ทำการรับมอบป้ายครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะให้ครัวเรือนที่ได้รับการคัดเลือกต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มอบป้ายครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ จำนวน40  ครัวเรือน ครัวเรือน40 ครัวเรือนได้รับป้ายครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ ครัวเรือนต้นแบบเป็นพี่เลี้ยงในการจัดการขยะในครัวเรือนแก่ครัวเรือนอื่นๆที่สนใจ ปริมาณขยะลดลง ครัวเรือนมีการแยกขยะประเภทขวด กระป๋อง กระดาษ เป้นต้น ที่สามารถขายได้

     

    40 40

    48. ล้างอัดขยายภาพ

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานที่ผ่านมา
    2. ให้คณะทำงานมีส่วนร่วมช่วยเลือกภาพถ่าย
    3. ระดมข้อเสนอแนะต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ภาพกิจกรรมต่างๆไว้นำเสนอและประชาสัมพันธ์กิจกรรมในเวทีต่างๆ
    2. ภาพกิจกรรมที่ใช้ประกอบการทำรายงานปิดงวด

     

    2 30

    49. สรุปปิดโครงกาาร

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 -12.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ตรวจเอกสารและลงข้อมูลในเว๊บ
    2. ตรวจสอบกิจกรรมต่างๆและความสอดคล้องของกิจกรรมที่ทำ
    3. ตรวจสอบเอกสารการจ่ายเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เอกสารต่างๆได้แก่เอกสารการเงิน ใบลงทะเบียนต่างๆเรียบร้อยและลงข้อมูลในเว๊บลงเป็นปัจจุบัน

     

    2 2

    50. ตรวจสอบการส่งรายงานงวดที่3

    วันที่ 25 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.รวบรวมเอกสารต่างๆโดยแยกเป็นรายกิจกรรม 2.สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในรอบ 1 ปี เป็นรูปเล่มได้

     

    2 2

    51. จัดส่งรายงานงวดที่3

    วันที่ 28 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. รวบรวมรายงานเป็นเล่ม
    2. ไปฟังข้อเสนอแนะจากอาจารย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ และเบิกเงินเปิดบัญชีคืนผู้รับผิดชอบโครงการ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบเรียนรู้ในการจัดการขยะด้วยสภาชุมชน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. สภาชุมชนไปผลักดันให้เกิดองค์กร หรือ เครือข่ายที่เป็นต้นแบบในการจัดการขยะได้แก่ โรงเรียน 1 แห่ง วัด 1 แห่ง 2. สภาชุมชนทำให้้้ครัวเรือนที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง 40 ครัวเรือนเป็นต้นแบบในการเรียนรู้การจัดการขยะอย่างยั่งยืน 3. สภาชุมชนทำให้เกิดกระบวนการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ เชิงคุณภาพ 1.เกิดเป็นศูนย์เรียนรู้ในการจัดการขยะแก่ชุมชนอื่น

    1.1 มีสภาชุมชนที่ไปผลักดันโดยการสร้างกติการ่วมกันให้เกิดองค์กร หรือ เครือข่ายที่เป็นต้นแบบในการจัดการขยะได้แก่ โรงเรียน 1 แห่ง คือโรงเรียนบ้านศรีนคร วัด 1 แห่ง คือ วัดศรีนคร

    1.2 เกิดสภาชุมชนขับเคลื่อนการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ โดยมีการคัดแยกขยะก่อนนำมาบรจาคหรือขายต่อไป ทำให้ครัวเรือนที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง 40 ครัวเรือนเป็นต้นแบบในการเรียนรู้การจัดการขยะระดับครัวเรือนอย่างยั่งยืน

    1.3 เกิดสภาชุมชนทำให้เกิดกระบวนการสร้างเครือข่ายการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ ถูกหลักการจัดการขยะและการจัดเก็บขยะเพื่อนำไปขายต่อไป

    เชิงคุณภาพ

    1.1เกิดเป็นศูนย์เรียนรู้ในการจัดการขยะตั้งอยู่ที่ รพ.สต.บ้านศรีนคร เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบแก่ชุมชนอื่น โดยชุมชนบ้านศรีนครเคยมาศึกษาดูงาน

    2 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนบ้านนครธรรมเป็นต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพด้วยมาตราการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : 1. สภาพแวดล้อมของชุมชน สะอาด เรียบร้อย น่าอยู่อาศัย ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค เช่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุง เป็นต้นทำให้เป็นต้นแบบของชุมชนอื่น 2. ประชาชนมีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคอาหารที่เป็นพิษต่อสุขภาพลดลงร้อยละ 50 3. ประชาชนมีการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรวมถึงโรคอ้วนลดลง
    1. บ้านเรือนของชุมชนบ้านนครธรรม สถานที่สาธารณะและถนนสายหลักและสายรองสะอาดปราศจากขยะ
    2. ประชาชนที่มีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกฮอล์และการบริโภคอาหารที่เป็นพิษต่อสุขภาพจากเดิม
      121 คน ลดลงเหลือ ุ67 คน คิดเป็นร้อยละ 55.37 โดยประเมินจากแบบสำรวจที่คณะทำงานลงไปสำรวจ
    3. อัตราการป่วยด้วยโรคความดัน โรคเบาหวาน และโรคอ้วนลดลงร้อย 10 โดยประเมินจากขอข้อมูลการตรวจสุขภาพผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน จากรพ.สต.บ้านศรีนคร
    3 เพื่อพัฒนาให้เกิดต้นแบบการเรียนรู้กลไกและการจัดสวัสดิการชุมชนจากธนาคารขยะด้วยความร่วมมือของอบต.คีรีเขต
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. มีประชาชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่มสวัสดิการของธนาคารขยะ จำนวน 80 ครัวเรือน เชิงคุณภาพ 1. สภาชุมชนทำให้เกืดแนวทางต้นแบบการจัดการสวัสดิการต่างๆของธนาคารขยะ 2. อบต.คีรีเขตนำแนวทางกลไกการจัดการสวัสดิการชุมชนของธนาคารขยะไปประกาศเป็นนโยบายท้องถิ่นตลอดจนร่วมสมทบเงินสวัสดิการและสนับสนุนการจัดเป็นชุมชนต้นแบบในการเรียนรู้แก่ชุมชนอื่น

    เชิงปริมาณ

    1. มีกลุ่มสวัสดิการของธนาคารขยะมีสมาชิกเข้าร่วมจำนวน 100 ครัวเรือน

    เชิงคุณภาพ

    1. มีแนวทางการจัดสวัสดิการด้านต่างๆของธนาคารขยะที่เกิดจากสภาชุมชนฯ เช่น การให้ทุนการศึกษาแก่บุตรของผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมธนาคารขยะ ทุนละ 500 บาท จำนวน 10 ทุน ต่อปี
    2. อบต.คีรีเขตนำแนวทางกลไกการจัดการสวัสดิการชุมชนของธนาคารขยะไปประกาศเป็นนโยบายท้องถิ่น มีนโยบายการจัดการสวัสดิการชุมชนของธนาคารขยะของอบต.คีรีเขต ที่ประกาศให้ชุมชนนครธรรมรับทราบ เช่น นโยบายการตรวจสุขภาพฟรีแก่ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมธนาคารขยะ จากเดิมตรวจสุขภาพประจำปีปีละ 1 ครั้ง เพิ่มเป็น 6 เดือนครั้ง
    4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส.และสจรส.

    1.จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส.ไม่มี 2.จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสจรส.จำนวน 5 ครั้ง โดยมีกิจกรรมที่เข้าร่วมดังนี้ 1.เสนอโครงการ 2. ปฐมนิเทศผู้รับทุนโครงการ 3.ตรวจสอบรายงานงวด1 4.ถอดบทเรียน 5.ตรวจสอบรายงานงวดสุดท้ายพร้อมสรุปปิดโครงการ

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบเรียนรู้ในการจัดการขยะด้วยสภาชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนบ้านนครธรรมเป็นต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพด้วยมาตราการจัดการขยะ (3) เพื่อพัฒนาให้เกิดต้นแบบการเรียนรู้กลไกและการจัดสวัสดิการชุมชนจากธนาคารขยะด้วยความร่วมมือของอบต.คีรีเขต (4) เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง)

    รหัสโครงการ 57-01515 รหัสสัญญา 57-00-0933 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การนำขยะอินทรีย์ มาใช้ประโยชน์เป็นปุ๋ย โดยให้แต่ละครัวเรือนสามารถทำได้ด้วยตนเอง

    เอกสารประกอบการดำเนินโครงการ

    ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายครัวเรือนที่ปลูกผักกินเองในระดับครัวเรือนให้มากขึ้นเพื่อจะทำให้กิจกรรมการแปรรูปขยะไม่ขาดหาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    ถังขยะ รีไซเคิล ที่ได้จากการจัดประกวดของโครงการ และแนวทางการพัฒนาด้วยการฝึกอบรมให้ความรู้เพ่ิ่มเติมหรือการใช้เทคโนโลยีอย่างง่ายในการรีไซเคิลขยะ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การใช้ศาสนาเป็นกลไกในการขับเคลื่อนในกิจกรรมการทอดผ้าป่าขยะ ซึ่งทำร่วมกับชุมชนโดยที่ชุมชนไม่ต้องออกเงินทุน เพียงช่วยกับเก็บขยะที่มีอยู่รอบๆ ครัวเรือนมาแปลงเป็นตัวเงิน เพื่อสมทบเข้ากองทุนผ้าป่าต่อไป

    กิจกรรมทอดผ้าป่าขยะ

    ให้วัดศรีนครรับเป็นแนวทางขับเคลื่อนต่อ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    การเกิดกลุ่มยุวฑูตขยะในโรงเรียนบ้านศรีนคร เป็นการปลูกฝังวัฒนธรรมการแยกขยะ ในกลุ่มต้นกล้า ขยะชนิดที่่ฝังทำลายได้ และชนิดที่สามารถนำมารีไซเคิลใหม่ได้

    โรงเรียนบ้านศรีนคร

    ให้มีการสานต่อโดยโรงเรียนบ้านศรีนคร เพื่อสร้างการเรียนรู้ต่อรุ่นใหม่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ร้านค้าศูนย์บาท ที่สามารถเอาคูปองจากการขายขยะไปแลกสินค้าได้

     

    ให้มีการขยายไปยังร้านอื่นๆด้วย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ทำให้ให้เป็นการสร้างความสะอาด และสร้างนิสัยรักสะอาดให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลผลจากการกำจัดขยะ ส่งผลดีต่อสุขภาพลดมลพิษทางกลิ่น และอัตราการเกิดโรคติดต่อจากยุงลดลง จำพวกโรคไข้เลือดออก และโรคมาลาเรีย เกิดลดลง แนวทาวพัฒนาชนิดของขยะบางขนิด เช่นขวดเหล้า ขวดเบียร์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    กิจกรรมรณรงค์เรื่องการปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานเองเพื่อลดขยะที่นำมาจากข้างนอก

    ครัวเรือนต้นแบบ

    ให้มีการรณรงค์จากภาคส่วนต่างๆให้มากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    การ ลด ละ เลิก สิ่งมึนเมา ในงานบุญต่างๆ

    จำนวนขวดเหล้าเบียร์ที่จัดเก็บได้

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    สร้างความรักและการเอาใจใส่กับชุมชนท้ายน้ำที่ใช้แม่น้ำลำคลองร่วมกัน ทำให้น้ำสะอาดลดความขัดแย้งของชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    การใช้ศาสนาเป็นกลไกในการขับเคลื่อนในกิจกรรมการทอดผ้าป่าขยะ ซึ่งทำร่วมกับชุมชนโดยที่ชุมชนไม่ต้องออกเงินทุน เพียงช่วยกับเก็บขยะที่มีอยู่รอบๆ ครัวเรือนมาแปลงเป็นตัวเงิน เพื่อสมทบเข้ากองทุนผ้าป่าต่อไป

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    กิจกรรมของครัวเรือนต้นแบบสร้างพฤติกรรมให้ครัวเรือนเรียนรู้การจัดการขยะ และ การสร้างรายได้ ลดรายจ่ายลง จากขยะและการแปรรูปขยะ

    กิจกรรมของครัวเรือนต้นแบบ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการจัดการขยะ ทั้งระบบ ตั้งแต่ การลดการสร้าง การคัดแยก และการนำกลับมาใช้ใหม่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีการใช้วัดศรีนครเป็นศูนย์กลางกิจกรรมของชุมชน ทำให้ชุมชนมีกิจกรรมร่วมกัน สร้างความรักสามัคคีได้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีอาชีพคนขายของเก่าเพิ่มมากขึ้น และการเพิ่มรายได้จากการขายขยะในระดับครัวเรือน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน ในโรงเรียนหลังจากมีการสร้างยุวฑุตขยะขึ้นมาแล้ว ได้มีการตั้งกฏกติการแบบเพื่อนเตือนเพื่อน พี่เตือนน้อง ตักเตือนหากพบการทิ้งขยะไม่เห็นที่ แนวทางพัฒนาผลักดันให้เป็นมาตราการชุมชน โดยชุมชนเพื่อชุมชน

     

    ต้องผลักดันให้เป็นนโยบายของหน่วยงานอื่นๆด้วย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการประสานกับหน่วยงานอื่นๆที่อยู่ในหมู่บ้าน เช่น กลุ่มทหาร ตำรวจ ท้องถิ่น ท้องที่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการใช้บุคลากรจากชุมชน เช่น เจ้าอาวาส หรือ ผู้อำนวยการโรงเรียน เป็นต้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    กิจกรรมยังคงดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการจัดการความรู้โดยจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ในระดับหมู่บ้าน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีการประชุมวางแผนของคณะทำงานทุกเดือน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    มีความภาคภูมิใจ ในการมีส่วนร่วมจัดการชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    มีการเข้าร่วมกิจกรรมและร่วมในกิจกรรมส่วนรวมมากขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    มีการพึ่งพาตนเองมากขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    กิจกรรมในโครงการได้สร้างการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนเป็นชุมชนที่เข้มแข็งและเอื้ออาทรต่อกันมากขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
    1. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) ชุมชนรู้จักแบ่งแยกขยะเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากโครงการนี้เป็นปัญหาที่ชุมชนนำเสนอเป็นปัญหาลำดับที่ 1 หลังจากมีการเสนอโครงการแล้ว ยังมีการติดตามและถอดบทเรียนทุก 1 เดือน และใช้กลุ่มตัวอย่าง 40 หลังคาเรือน เป็นแรงผลักดันให้เกิดการเรียนรู้ทั้งชุมชน
    2. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการในการจัดโครงการ จะแบ่งเป็น 2 สาย คือสายวิชาการ และสายภาคสนาม ซึ่งสายภาคสนามจะใช้บุคคลที่ชาวบ้านให้ความนับถือในการเป็นผู้นำเป็นการให้ empower แก่ชุมชน ซึ่งต่อไปชาวบ้านต้องบริหารจัดการเอง คณะจะเป็นผู้สนับสนุนด้านวิชาการเท่านั้น แนวทางพัฒนาให้ empower แก่คนที่มีสนใจ เพื่อเพิ่มศักยภาคให้กับชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ชุมชนบ้านนครธรรม ต้นแบบนักจัดการขยะ นักจัดการสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 57-01515

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวันชัยบ่อเงิน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด