แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 57-01517
สัญญาเลขที่ 57-00-0931

ชื่อโครงการ คอกช้างร่วมใจจัดการขยะ…รักสุขภาพ
รหัสโครงการ 57-01517 สัญญาเลขที่ 57-00-0931
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุวิทย์ หมาดอะดำ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 1 พฤศจิกายน 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวสุวรรณี นวลเจริญ หมู่ที่ 7 ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา 0892935184
2 นางสาวนูรีซัน มะแซ รพ.สต.บ้านคอกช้าง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา 0848578691

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

ประชาชนในชุมชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีพฤติกรรมการจัดการขยะที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ90 ของประชาชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ มีความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง
  2. มีครัวเรือนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง ไม่น้อยกว่า 40 ครัวเรือน
  3. ปริมาณขยะลดลง อย่างน้อย 200 กิโลกรัม/วัน
  4. มีเครือข่ายเยาวชนตาสัปรด เฝ้าระวังการทิ้งขยะ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ชุมชนหันมาเปลี่ยนพฤติกรรมและใส่ใจกับปัญหาขยะของชุมชนโดยรวมได้

2.

เพื่อให้ประชาชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดพื้นที่ ที่สามารถใช้ประโยชน์ทดแทนกองขยะอย่างน้อย 6 จุด และเกิดวันทำความสะอาดประจำปีของชุมชน
  2. สภาพแวดล้อมของชุมชน สะอาด เรียบร้อย น่าอยู่อาศัย ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค เช่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุง แมลงวัน เป็นต้น

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. สภาพแวดล้อมบริเวณบ้านสะอาด น่าอยู่มากขึ้น
  2. มีการรีไซเคิลขยะในครัวเรือนมากขึ้น

3.

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ได้คณะทำงานการจัดการขยะที่สมัครใจและเป็นตัวแทนของกลุ่มหรือภาคีต่างๆ จำนวน 30 คน
  2. มีข้อตกลง กฎกติกาของชุมชนในการจัดการเรื่องขยะ
  3. กิดแนวทางจัดทำกองทุนหรือธนาคารขยะในอนาคต 1 กองทุน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. เกิดความร่วมมือ และมองเป็นปัญหาขยะเป็นเป้าหมายของการแก้ไข และจะทำให้เกิดเวทีการพูดคุยแลกเปลี่ยนสร้างความเข้าใจในปัญหาอื่นของชุมชนได้อีกเช่นปัญหาเด็กเยาวชน
  2. คณะทำงานร่วมกันผลักดันให้ เทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีการจัดทำนโยบายการจัดการขยะในระดับองค์กร มีการจัดการขยะในส่วนที่ประชาชนไม่สามารถดำเนินการได้

4.

เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส และสจรส

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรับสมัครผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการ เตรียมความพร้อมสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะที่ยั่งยืนi

12,800.00 80 ผลผลิต

ครอบครัวต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน2.แกนนำนักเรียน 10 คน และเยาวชนจำนวน  10 คน กลุ่มเป้าหมายทั่วไป จำนวน 20 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้เห็นเป้าหมายโครงการและทำความเข้าใจเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรมกับคณะทำงานโครงการ 2.กลุ่มเป้าหมายร่วมรับฟัง และพร้อมจะขับเคลื่อนและจะเป็นต้นแบบในการจัการขยะในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ครอบครัวต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน2.แกนนำนักเรียน 10 คน และเยาวชนจำนวน  10 คน กลุ่มเป้าหมายทั่วไป จำนวน 20 คน

12,800.00 11,800.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เช้า 09.00 น ลงทะเบียน มีสมาชิกครัวเรือนต้นแบบ 40 ครัวเรือน
2.กลุ่มเป้าหมายร่วมรับฟัง และพร้อมจะขับเคลื่อนและจะเป็นต้นแบบในการจัการขยะในชุมชน 2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะที่ถูกต้อง 4. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้มีการคัดแยกประเภทขยะได้ถูกต้อง 5. เครือข่ายเด็กนักเรียนสามารถนำความรู้ไปคัดแยกขยะในโรงเรียนได้

แกนนำนักเรียน ป1-ป3 จำนวน 15 คน แกนนำ นักเรียนป4-ป6 จำนวน 15 คน คณะทำงานจำนวน 15 คน อาจารย์จำนวน 5 คน รวมทั้งหมด 50 คน

0.00 0.00 30 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำมีความรู้ในการจัดการขยะ และคัดแยกขยะในโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง
  2. สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะให้ถูกที่
  3. มีภาชนะในการคัดแยกขยะประเภทต่างๆ และสามารถแยกขยะประเภทต่างๆได้ถูกต้อง
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงสร้างชัดเจนและมีการตรวจสอบจากชุมชน อยู่เป็นระยะ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

คณะทำงานมีศักยภาพเพียงพอ และมีการเชื่อมงานกับเทศบาลตำบลคอกช้างในการทำงาน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ผลลัพท์อยู่ในเกณฑ์ดี แต่ยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงมากนัก

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

กลไกดีแล้ว แต่เป็นคนในหน่วยงานเดียวกัน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามสัญญาที่ทำไว้กับ สสส.

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงิน สามารถชี้แจงได้อย่างดี

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

จากผลการติดตาม เห็นพัฒนาการของโครงการ และผู้ติดตามสามารถขอพบและติดตามการดำเนินงาน โดยที่คณะทำงานมีความพร้อมตลอดเวลาที่จะให้ตรวจสอบ

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการสามารถสร้างการเรียนรู้ และสร้างความตระหนักให้กับชุมชนได้ แม้ว่าจะอยู่ในภาวะของความไม่สงบ และเป็นการสร้างความสามัคคีของชุมชนโดยผ่านกิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส.

สร้างรายงานโดย สุวิทย์ หมาดอะดำ