แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-01517
สัญญาเลขที่ 57-00-0931

ชื่อโครงการ คอกช้างร่วมใจจัดการขยะ…รักสุขภาพ
รหัสโครงการ 57-01517 สัญญาเลขที่ 57-00-0931
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุวิทย์ หมาดอะดำ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 10 เมษายน 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 เมษายน 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวสุวรรณี นวลเจริญ หมู่ที่ 7 ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา 0892935184
2 นางสาวนูรีซัน มะแซ รพ.สต.บ้านคอกช้าง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา 0848578691

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

ประชาชนในชุมชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีพฤติกรรมการจัดการขยะที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ90 ของประชาชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ มีความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง
  2. มีครัวเรือนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง ไม่น้อยกว่า 40 ครัวเรือน
  3. ปริมาณขยะลดลง อย่างน้อย 200 กิโลกรัม/วัน
  4. มีเครือข่ายเยาวชนตาสัปรด เฝ้าระวังการทิ้งขยะ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ชุมชนหันมาเปลี่ยนพฤติกรรมและใส่ใจกับปัญหาขยะของชุมชนโดยรวมได้

2.

เพื่อให้ประชาชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดพื้นที่ ที่สามารถใช้ประโยชน์ทดแทนกองขยะอย่างน้อย 6 จุด และเกิดวันทำความสะอาดประจำปีของชุมชน
  2. สภาพแวดล้อมของชุมชน สะอาด เรียบร้อย น่าอยู่อาศัย ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค เช่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุง แมลงวัน เป็นต้น

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. สภาพแวดล้อมบริเวณบ้านสะอาด น่าอยู่มากขึ้น
  2. มีการรีไซเคิลขยะในครัวเรือนมากขึ้น

3.

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ได้คณะทำงานการจัดการขยะที่สมัครใจและเป็นตัวแทนของกลุ่มหรือภาคีต่างๆ จำนวน 30 คน
  2. มีข้อตกลง กฎกติกาของชุมชนในการจัดการเรื่องขยะ
  3. กิดแนวทางจัดทำกองทุนหรือธนาคารขยะในอนาคต 1 กองทุน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. เกิดความร่วมมือ และมองเป็นปัญหาขยะเป็นเป้าหมายของการแก้ไข และจะทำให้เกิดเวทีการพูดคุยแลกเปลี่ยนสร้างความเข้าใจในปัญหาอื่นของชุมชนได้อีกเช่นปัญหาเด็กเยาวชน
  2. คณะทำงานร่วมกันผลักดันให้ เทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีการจัดทำนโยบายการจัดการขยะในระดับองค์กร มีการจัดการขยะในส่วนที่ประชาชนไม่สามารถดำเนินการได้

4.

เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส และสจรส

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรับสมัครผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการ เตรียมความพร้อมสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะที่ยั่งยืนi

12,800.00 80 ผลผลิต

แกนนำชุมชนและคณะทำงาน 80 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนได้เรียนรู้ รับรู้และเข้าร่วมกิจกรรม ครัวเรือนต้นแบบ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ครอบครัวต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน2.แกนนำนักเรียน 10 คน และเยาวชนจำนวน  10 คน กลุ่มเป้าหมายทั่วไป จำนวน 20 คน

12,800.00 11,800.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เช้า 09.00 น ลงทะเบียน มีสมาชิกครัวเรือนต้นแบบ 40 ครัวเรือน
2.กลุ่มเป้าหมายร่วมรับฟัง และพร้อมจะขับเคลื่อนและจะเป็นต้นแบบในการจัการขยะในชุมชน 2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะที่ถูกต้อง 4. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้มีการคัดแยกประเภทขยะได้ถูกต้อง 5. เครือข่ายเด็กนักเรียนสามารถนำความรู้ไปคัดแยกขยะในโรงเรียนได้

แกนนำนักเรียน ป1-ป3 จำนวน 15 คน แกนนำ นักเรียนป4-ป6 จำนวน 15 คน คณะทำงานจำนวน 15 คน อาจารย์จำนวน 5 คน รวมทั้งหมด 50 คน

0.00 0.00 30 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำมีความรู้ในการจัดการขยะ และคัดแยกขยะในโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง
  2. สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะให้ถูกที่
  3. มีภาชนะในการคัดแยกขยะประเภทต่างๆ และสามารถแยกขยะประเภทต่างๆได้ถูกต้อง

กิจกรรมหลัก : การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ขยะประเภทต่าง ๆ ของชุมชนi

27,000.00 80 ผลผลิต

ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ จำนวน 2 วัน โดยกลุ่มเยาวชนจำนวน 80 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้รับรู้ข้อมูลที่ได้จากการจัดเก็บ การวิเคราะห์ และร่วมวางแผนเพื่อการจัดการร่วมกัน โดยสามารถแยกขยะได้ และรู้ว่าในชุมชนมีขยะประเภทไหนเยอะที่สุด คือ ขยะประเภทเปลือกผลไม้ กระดาษและถุงพลาสติก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

  1. ครัวเรือนนำร่อง 40  ครัวเรือน
  2. นักเรียน จำนวน 40 คน
8,000.00 8,000.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กลุ่มเป้าหมายสามารถมีความรู้เรื่องประเภทขยะต่างๆ
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถแยกขยะได้
  3. กลุ่มเป้าหมายสามารถรู้ว่าขยะประเภทไหนมากที่สุด

ครัวเรือนนำร่อง นักเรียนหรือเยาวชน จำนวน 80 คน 

8,000.00 8,000.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กลุ่มเป้าหมายสามารถแยกขยะในชุมชนได้
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถรู้ว่าขยะประเภทไหนมีมากที่สุดในชุมชน

แกนนำครัวเรือนและเยาวชน จำนวน 80 คน

8,000.00 8,000.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำกลุ่มครัวเรือน นักเรียนและเยาวชนได้ทราบประเภทต่างๆของขยะในชุมชน ส่วนใหญ่มีขยะประเภท เปลือกผลไม้ กระดาษ ถุงพลาสติก ขวดน้ำ กล่องโฟม ขยะบางประเภทอยู่บริเวณรอบบ้าน เส้นทาง
  2. แกนนำกลุ่มครัวเรือน นักเรียน และเยาวชน ทราบว่าปริมาณขยะมีปริมาณ 500 กิโลกรัมต่อวัน

ครัวเรือนนำร่อง  40 ครัวเรือน แกนนำนักเรียน เยาวชน จำนวน 40 คน

3,000.00 2,000.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ขยะที่ประชาชน/แกนนำครัวเรือน/แแกนนำนักเรียนคิดว่ามีมากที่สุดได้แก่ พลาสติก ขวด และเปลือกผลไม้
  2. ปัญหาที่ควรแก้ไขคือ มีภาชนะสำหรับแยกปรพเภทขยะ เพื่อง่ายต่อการกำจัด

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะi

69,700.00 80 ผลผลิต

กลุ่มเป้าหมายที่เป็นครัวเรือนต้นแบบแกนนำเยาวชนและผู้สนใจ ไม่น้อยกว่า 80 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนและสร้างนวัตกรรมร่วมกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

1.ครอบครัวต้นแบบ 40 คน2.แกนนำนักเรียน เยาวชนจำนวนและ กลุ่มเป้าหมายทั่วไป และแกนนำชุมชนจำนวน 40 คน รวม 80 คน

30,300.00 30,300.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ครัวเรือนต้นแบบมีตะแกรงคัดแยกขยะจำนวน 40 ชุด วางหน้าบ้าน เพื่อเป็นแบบอย่างในคัดแยกขยะ
  2. โรงเรียนมีตะแกรงสำหรับแยกขยะ
  3. ปริมาณขยะลดลงเหลือ 200 กิโลกรัมต่อวัน
  4. มีการคัดแยกประเภทขยะโดยประชาชนในชุมชนได้ถูกต้อง

ประชาชนทั่วไป  นักเรียน 40 คน ครัวเรือน 40 ครัวเรือน

0.00 0.00 0 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายรับรู้ และทราบวันประกวด คือ14 เดือน พฤศจิกายน 2557 และเปิดรับสมัครผลงานรีไซเคิลจากขยะ  เวลาตั้งแต่ 09.00 น-16.00 น  ณ โรงพยาบลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง

ครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน แกนนำนักเรียนและเยาวชนจำนวน 30 คน กลุ่มเป้าหมายทั่วไปจำนวน 30 คน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกเทศบาล นายกเทศบาล อสม

11,500.00 11,500.00 100 120 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กิจกรรมทอดผ้าป่ารีไซเคิลขยะ มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้ประชาชนและครัวเรือนนำร่องทราบล่วงหน้าก่อนอย่างน้อย 1 เดือน
  2. เมื่อถึงวันกิจกรรมให้นำขยะที่สะสมมาร่วมทำบุญ มีจำนวนชาวบ้านให้ความสนใจในการบริจาคขยะเพื่อลดขยะและเพิ่มมูลค่า
  3. ทำการเปลี่ยนขยะเป็นตัวเงินแล้วนำเงินเข้ากองทุน

แกนนำครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน แกนนำเด็กนักเรียนชั้นป4-6 จำนวน 30 คน นายกเทศบาล ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกเทศบาล ประชาชนทั่วไปที่สนใจ จำนวน 30 คน

12,000.00 12,500.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ชุมชนสามารถลดปริมาณขยะได้  เช่น พวกกระป๋อง ขวดน้ำ ขวดน้ำปลาซีอิ้ว สามารถลดค่าใช้จ่ายของเทศบาลในการนำขยะไปกำจัดที่เมืองยะลา จากเดิมที่เทศบาลจะต้องจ่ายค่ากำจัดขยะประมาณ 15,000 บาท ต่อเดือน ผลจากการดำเนินการกิจกรรม ขยะลดลงวัดได้จากค่ากำจัดขยะที่เหลือประมาณ 5,000 บาทต่อเดือน ประหยัดงบประมาณได้ประมาณ 10,000 บาทต่อเดือน

  2. ประชาชน นักเรียน รู้จักแยกประเภทขยะ สังเกตได้จากกลุ่มเป้าหมาย นำขยะแยกเป็นประเภทๆ เรียบร้อยแล้ว มาบริจาค

  3. เกิดเครือข่ายสู่โรงเรียน สร้างแกนนำเด็กนักเรียนให้มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดปริมาณการใช้ขยะ รู้จักนำวัสดุที่สามารถใช้ซ้ำนำมาใช้ไหม่

  4. ปริมาณขยะในชุมชนลลดลง ชุมชนสะอาด ชาวบ้านมีความสามัคคี

1.ครอบครัวต้นแบบ ที่สนใจการจัดกหารขยะ 2.แกนนำนักเรียน เยาวชนที่สนใจ และร่วมส่งผลงานเข้าประกวด จำนวนและ กลุ่มเป้าหมายทั่วไป และแกนนำชุมชน มีสมาชิกเทศบาล ผู้ใหญ่บ้าน ทหาร ตำรวจรวมจำนวน 80 คน

15,900.00 12,900.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

กิจกรรมหลัก : การขยายเครือข่ายครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะที่ยั่งยืนi

11,800.00 80 ผลผลิต

เกิดขยายครัวเรือนจัดการขยะเพิ่มประมาณ 30 ครัวเรือน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ทำให้ครัวเรือนที่ได้รับความรู้อยากเข้ามาร่วมในกิจกรรมและเป็นการสร้างกระแสการรณรงค์จัดการขยะในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

แกนนำคณะทำงาน 30 คน ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบ 40 ครัวเรือน ครัวเรือนอื่นๆที่สนใจ 10 ครัวเรือน ตัวแทนเด็กนักเรียนจำนวน 40 คน ครูผู้ดูแล ทีมสมาชิกเทศบาล

11,800.00 11,800.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ร้อยละ 90 ประชาชนบ้านคอกช้างที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง
  2. มีองค์กรหรือเครือข่ายที่เข้าร่วมในการจัดการขยะ โรงเรียน 1 แห่ง วัด 1 แห่ง
  3. ปริมาณขยะลดลง
  4. ครัวเรือนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง ไม่น้อยกว่า 40 ครัวเรือน
  5. ชุมชนสะอาด น่าอยู่
  6. ประชาชนสามารถแยกประเภทขยะได้ถูกต้อง

กิจกรรมหลัก : การจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อมi

26,500.00 80 ผลผลิต

ได้จัดกิจกรรมทำความสะอาดขยะชุมชน และร่วมกิจกรรมสาธารณะ เช่น งานกฐิน งานรณรงค์เลิกอบายมุขในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดความสามัคคี สร้างจิตสำนึกของประชาชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม และได้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ที่เป็นพาหนะไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

แกนนำ อปท ทหารพราน  เยาวชน แกนนำกลุ่มแม่บ้าน และเจ้าหน้าที่อนามัย จำนวน 80 คน

10,000.00 8,000.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ชุมชนสะอาด น่าอยู่ 2. ประชาชนมีความสมัครสมานสามัคคี ช่วยกันทำให้ชุมชนน่าอยู่ 3. แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลดลง

ประชาชนทั่วไป พระพิกษุ ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำ ชรบ อรบ กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 40 คน

0.00 0.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สร้างความสามัคคี
  2. ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงที่เป็นพาหะไข้เลือดออก และไข้มาลาเรีย
  3. สร้างจิตสำนึกของประชาชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม

แกนนำปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น นายกเทศบาล  ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำครัวเรือน 40 ครัวเรือน เยาวชน 40 คน  ที่ลานเทศบาลคอกช้าง

9,000.00 9,000.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สร้างภูมิทัศ์ใหม่ เกิดพื้นที่ใหม่ที่สามารถใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น
  2. ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และแหล่งโรคอื่น
  3. เกิดความสามัคคี มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและนิสัยในการทิ้งขยะและรู้จักการจัดแยกขยะ
  4. ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
  5. เกิดกติกาชุมชนกำหนดวันทำความสะอาด 2 วัน ในวันที่ 15 และ 30 ของเดือน
  6. บ้านเรือนที่มีแหล่งน้ำขังได้มีการขุดคูเพื่อทำการระบายน้ำขังลดการเกิดแหล่งโรคระบาด

  คณะทำงาน ผู้ใหญ่บ้าน นายกเทศาบล สมาชิกเทศบาล ครัวเรือนต้นแบบ  เยาวชน นักเรียน  กลุ่มเป้าหมายทั่ไป และอาสาสมัครจำนวน จำนวน 80 คน

7,500.00 9,500.00 80 120 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เส้นทางขึ้นหมู่บ้านคอกช้างสะอาด ไม่รก หญ้าถูกตัดเรียบแลดูสะอาดตา
  2. เด็กนักเรียนจากโรงเรียนบ้านโตที่เข้ามามีส่วนร่วมในการเก็บขยะและคัดแยกขยะได้เรียนรู้ระบบการจัดการขยะอีกทั้งยังเป็นการ ช่วยสร้างจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมในกลุ่มเยาวชนด้วย
  3. เกิดความสามัคคีระหว่างสมาชิกในหมู่บ้าน และ หันมาเห็นความสำคัญของการป้องกันโรค ด้วยการรักษาความสะอาด

ประชาชนในชุมชนบ้านคอกช้าง ครัวเรือนต้นแบบ กลุ่มแม่บ้าน ทหาร ตำรวจ สมาชิกเทศบาล เยาวชน

0.00 0.00 80 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ชาวบ้านในชุมชนมีความสามัคี รักชุมชน ต้องการให้ขยะในชุมชนลดลง ชุมชนน่าอยู่
  2. ประชาชนสามารถแยกประเภทของขยะได้
  3. นายกเทศบาลตำบลคอกช้าง ชี้แจงรายละเอียดสามารถลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งขยะจากเดิม 16000 เหลือ 4000 บาท

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงานเพื่อบริหารจัดการขยะi

19,000.00 30 ผลผลิต

มีการประชุมคณะทำงานทุกเดือน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรม ภายใต้การใช้ฐานความคิด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

คณะทำงานการจัดการขยะที่สมัครใจและเป็นตัวแทนของกลุ่มหรือภาคีต่างๆ จำนวน 30 คน

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้รายชื่อคณะทำงาน จำนวน 30คน
2. เปิดเวทีและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ คอกช้างร่วมใจจัดการขยะ รักสุขภาพ 3. รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4 แกนนำกลุ่มต่างๆ เข้าใจในรายละเอียด และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ

ตัวแทนกลุ่มองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนกลุ่มแม่บ้าน ตัวแทนครู ตัวแทนทีมสุขภาพในชุมชนที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 30 คน

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำคณะทำงานจำนวน 30 คน ประชุมหารือโดยกำหนดวันเก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ ตอนบ่าย และร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล  นำเสนอ วันที่ 25 -26 กค57 โดยแกนนำนักเรียน คณะทำงาน และบ้านนำร่อง ทั้งหมด 80 คน
  2. มีการทำความสะอาด โดยการเก็บขยะในชุมชนในตอนบ่ายวันที่ 26 กค 57
  3. กำหนดวันศึกษาดูงานเรื่องการจัดการขยะ แยกขยะ วันที 30 ตค 57 ดูงานที่ จังหวัดสตูล

ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน อสม กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 30 คน

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ครัวเรือนนำร่องมีอุปกรณ์สำหรับแยกขยะที่บ้าน
  2. ครัวเรือนนำน่องมีความรู้ในการทำอุปกรณ์คัดแยกขยะ และสามารถสอนวิธีการทำอุปกรณ์แยกขยะแก่ครัวเรือนอื่นๆได้
  3. ชุมชนสะอาด ประชาชนรู้จักแยกขยะ

แกนนำคณะทำงาน 30 คน ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน อสม กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 30 คน

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กำหนดวันประชาสัมพันธ์การเปิดรับขยะรีไซเคิล
  2. กำหนดวันประกวดวัสดุจากขยะรีไซเคิล
  3. ครัวเรือนนำร่องสามารถแยกประเภทขยะแต่ละชนิด
  4. แกนนำคณะทำงานลงพื้นที่สำรวจครัวเรือนนำร่อง

แกนนำทีมทำงาน 30 คน ได้แก่ ทีมสมาชิกเทศบาล รองนายกเทศบาล ผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มแม่บ้าน

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กลุ่มสมาชิกเทศบาลศึกษากระบวนการ ขั้นตอนการทำแก๊ซชีวภาพ เพื่อนำไปต่อยอดในชุมชนได้
  2. กลุ่มแม่บ้านศึกษาการแยกประเภทขยะ และศึกษาการทำอุปกรณ์ที่สามารถมารีไซเคิลได้ เช่น การนำกล่องนมมาประดิษฐ์เป็นหมวก การนำพลาสติกประดิษฐ์เป็นผ้ากันเปื้อน
  3. การเรียนรู้บริบทชุมชนของตำบลควนโดนมาปรับใช้กับชุมชนคอกช้าง

แกนนำผู้นำชุชน เช่น นายกเทศมนตรีเทศบาลบ้านคอกช้าง ผู้ใหญ่บ้าน อสม กลุ่มแม่บ้าน แกนนำขยะ ทหาร จำนวน 30 คน

1,900.00 750.00 30 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นัดเวลา 09.000 น นัดเจอแกนนำ และเจ้าหน้าเทศบาลที่รับผิดชอบเกี่ยวกับโยธา เพื่อเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือในการปรับปรุงพื้นที่
  2. เตรียมเครื่องมือ เช่น รถแม็กโคร เคื่องพ่นหมอดกควัน รถขยะ เป็นต้น
  3. ขอความร่วมมือทุกท่านมาตรงเวลา 4.สรุปผลของโครงการดูงานศึกษาดูงานจากการประชุม สามาระสรุปได้ดังนี้
    • ชุมชนต้องการจัดแยกขยะอย่างถูกวิธีเพื่อลดปัญหาขยะล้น ขยะที่สามารถรีไซเคิลได้สามารถแยกประเภทได้ ขยะที่สามารถขายได้ ขยะที่เป็นพิษ  ลดต้นทุนการกำจัดขยะที่น้องส่งไปกำจัดในจังหวัดยะลา
    • การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากพืชผลไม้เนื่องจากชุมชนบ้านคอกช้างเป็นชุมขนเกษตรกรรม มีการแปรรูปผลไม้มาทำเป็นอาหาร OTOP เช่นเปลือกกล้วยหิน เปลือกทุเรียน นำมาหมักกับปุ๋ยEM เพื่อใช้ทางการเกษตรต่อไป
    • เกิดความคิดต่อยอดเรื่องร้านค้าศูนย์บาท หากมีการจัดการขยะที่เหมาะสมมีกำไร มีความแพร่หลายในชุมชนในการแลกขยะเป็นเงินก็อาจจะมีการเกิดร้านค้าดังกล่าวได้เป็นแผนในอนาคต แต่ปัจจุบันต้องการให้ชุมชนสามารถแยกขยะได้และแยกขยะเป็นถูกสุขลักษณะ
    • มีจัดนำวัสดุเหลือใช้จากชุมขนเป็นลำโพงล้อยางรถมาทำ เพื่อเป็นต้นแบบในการจัดทำนวตกรรมใสชุมขนต่อไป

แกนนำหมู่บ้าน ครัวเรือน จำนวน 30 คน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน นายกเทศบาล สมาชิกเทศบาล แม่บ้าน อสม

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มติที่ประชุมรับทราบกิจกรรมที่ดำเนินตามแผน 1.1 กิจกรรมเก็บขยะพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อเทิดไท้อง์ราชัน ในวันที่3 ธันวาคม โดยนัดเวลา 09.00น ที่ป้อมตำรวจใส่เสื้อสีชมพู โดยนัดแกนนำณะทำงาน ตัวแทนแกนนำชุมชน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน นายกเทศบาล รองนายก สมาชิกเทสบาล ทหาร ตำรวจ นักเรียน และประชาชนทั่วไป จำนวน 80 น ร่วมกันพัฒนาสิ่งแวดล้อม ช่วยกันกวาดถนน ตัดหญ้า ชาวบ้านร่วมกันเก็บขยะและัดแยกประเภทขวด กระดาษ และขยะที่สามารถรีไซเคิลได้มาเก็บที่อนามัยเพื่อร่วมทำกิจกรรมทอดผ้าป่ารีไซเิลขยะในวันที่ 18 ธันวาคม 2557 3. ชี้แจงวันที่ 10 ธันวาคม2557 เวลา 10.00น เป็นต้นไปขอคณะทำงานร่วมทำตะแกรงคัดแยกขยะแก่ครัวเรือนที่สนใจ

แกนนำคณะทำงาน 30 คน ได้แก่ ผู้นำชุมชน นายกเทศบาล รองนายก ผู้ใหญ่บ้าน อสม แม่บ้าน ครู

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ที่ประชุมพร้อมกันเวลา 13.30 น
  2. แกนนำรับทราบการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่พ่นหมอกควัน การแยกขยะตามบ้าน
  3. แกนนำอาสาสมัครพ่นหมอกควันในพื้นที่ บ้านคอกช้าง พ่นตอนเย็น วันที่ 18 มค 58 เวลา 16.00 น

คณะทำงาน นายกเทศบาล  สมาชิกเทศบาล ผู้ใหญ่บ้าน อสม กลุ่มแม่บ้าน ตัวแทนครู จำนวน 30 คน

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำประสานให้มีการให้ความรู้เกี่ยวการแยกขยะ และการจัดการขยะที่ถูกต้องให้กับครัวเรือน
  2. ทำตะแกรงแยกขยะเพิ่มในครัวเรือนที่สนใจ

นายกเทศบาล สมมาชิกเทศบาล ตัวแทนครู อสม ผู้ใหญ่บ้าน ครัวเรือนตัวอย่าง จำนวน 30 คน

1,900.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-1.เวลา 13.30 น ทุกคนพร้อมกันที่ห้องประชุม รพสต 2. ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงกิจกรรมที่ได้ทำไปแล้วที่ผ่านมา 3. แกนนำรับฟัง และหารือแนวทางการจัดกิจกรรม ประกวดครัวเรือนต้นแบบ โดยใช้หลักเกณฑ์ที่กำหนดในที่ประชุม ตือ ครัวเรือนต้องมีการแยกประเภทขยะ จัดบ้านให้สะอาด ร่มรื่น  มีตะแกรงแยกขยะ 4. ชี้แจงรายละเอียดการประกวดผลงานขยะรีไวเคิล โดยทุกคนสามารถส่งผลงานได้ ไม่จำกัด ชิ้นงานที่ชนะเลิศมีรางวัลให้ พร้อมเกียติบัต

ตัวแทนนายกเทศบาล ครู สมาชิกเทศบาล อสม กลุ่มครัวเรือนนำร่อง จำนวน 30 คน

0.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เวลา 13.3. น ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าปรระชุม ณ ห้องประชุมพร้อมเพรียงกัน
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการ ชี้แจงกิจกรรมที่ผ่านมา ของโครงการ และได้ระบุกิจกรรมที่ต้องดำเนินการครั้งต่อไไป คือ การจัดการประกวดผลงานจากขยะโดยเปิดรับไม่จำกัดจำนวน หลักเกณฑ์คือ ต้องเป็นผลงานที่สามารถนำมาไช้ได้ หรือ ใช้ตกแต่งภายในบ้าน วัสดุต้องนำมาจากของเหลือใช้ภายในบ้านนำมาตกแต่งประดิษฐิ์ขึ้นมาใหม่
  3. ส่งผลงานได้ที่ รพสต.บ้านคอกช้าง ในเวลาราชการ ผลงานไม่จำกัด ใครจะส่งกี่ผลงานก็ได้
  4. จัดการประกวดที่อาคาร ศูนย์กศน
  5. สำหรับผลงานที่เข้าประกวดได้แก่ รางวัลที่ 1 เป็นเงิน 500 บาท รางวัลที่ 2 เป็นเงิน 400 บาท รางวัลที่ 3 เป้นเงิน 300 บาท รางวัลชมเชย 6 รางวัล รางวัลละ 200 บาท

คณะทำงาน ได้แก่ อสม ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกเทศบาล ครู ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 คน

0.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานมีความร่วมมือ ช่วยกัน ทำไห้กิจกรรมสำเร็จตามเป้าหมาย
  2. คณะทำงานเห็นด้วยที่จะผลักดันให้การจัดการขยะเข้าในแผนสามปีของเทศบาล
  3. การจัดตั้งคณะทำงานที่ยั่งยืน

กิจกรรมหลัก : การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการถอดบทเรียนi

5,800.00 30 ผลผลิต

ได้จัดกิจกรรมจำนวน 3 ครั้ง ระหว่างกลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้มีการจัดการความรู้ร่วมกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ทีมคณะทำงาน 7 คน คือ อสม 2 คน ประธานชุมชน 1 คน  ผู้นำชุมชน 1 คน เจ้าหน้าที่รพสต 3 คน

0.00 2,000.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ทำให้มีการสร้างเครือข่าย และเป็นพี่เลี้ยงในการจัดกรขยะของชุมชนคอกช้าง 2.คณะทำงานมีความตั้งใจ และพร้อมที่จะนำความรู้ และพร้อมเรียนรู้การจัดการขยะของชุมชนควนโดน

คณะทำงาน 30 คน ได้แก่ ทีมสมาชิกเทศบาล รองนายกเทศบาล ผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มแม่บ้าน

5,800.00 9,000.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กลุ่มสมาชิกเทศบาลศึกษากระบวนการ ขั้นตอนการทำแก๊ซชีวภาพ เพื่อนำไปต่อยอดในชุมชนได้
  2. กลุ่มแม่บ้านศึกษาการแยกประเภทขยะ และศึกษาการทำอุปกรณ์ที่สามารถมารีไซเคิลได้ เช่น การนำกล่องนมมาประดิษฐ์เป็นหมวก การนำพลาสติกประดิษฐ์เป็นผ้ากันเปื้อน
  3. การเรียนรู้บริบทชุมชนของตำบลควนโดนมาปรับใช้กับชุมชนคอกช้าง

แกนนำชุมชน นายก รอง สธ สมาชิกเทศบาล อสม ตัวแทนกลุ่มแม่บ้าน จำนวน 30 คน

0.00 5,800.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำโครงการนำโดย นางสาวสุวรรณี นวลเจริญ จี้แจงการดำเนินกิจกรรมต่างของโครงการคอกช้างร่วมใจจัดการขยะ รักสุขภาพ ต่อท่านนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลคอกช้าง นายสุวรรณ ขุนอินทร์ นายกเห็นด้วยในการจัดทำโครงการและจะนำไปต่อยอดโครงการ
  2. ในเวทีถอดบทเรียนครั้งนี้ทีมคณะทำงาน ประโยชน์ที่เกิดขึ้นในชุมชน ร่วมกันถกปัญหาต่างๆและร่วมกันตั้งกติกาดังนี้ 2.1 ข้อตกลงในการพัฒนา (เทศบาลอาสา)
        - จัดครัวเรือนต้นแบบ     - หน่วยงานราชการในชุมชนเป็นต้นแบบ     - จัดทำ 1 บ้าน 1 ตัวอย่าง     - ประกวดครัวเรือน 3 เดือน/ครั้ง     -  โครงการขยะแลกไข่ 2.2 ปัญหาอุปสรรค     - ขาดความร่วมมือ     - ขาดความตระหนักถึงความสำคัญ ขาดจิตสำนึก     - ไม่มีสิ่งจูงใจ 2.3 ประโยชน์     - ลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งขยะของเทศบาล     - รู้จักคดแยกขยะ ประเภทต่างๆ     - นำขยะมารีไซเคิลได้     - มีการทำงานเป็นทีม     - ทำให้คนในชุมชนสุขภาพดี
  3. ผลสรุปในการจัดทำโครงการนี้ แต่ละครัวเรือนจะมีตะแกรงแยกขยะหน้าบ้าน  ชาวบ้านมีการแยกประเภทขยะที่สามารถขายได้ ซึ่งเทศบาลสามารถลดค่าใช้จ่ายในการส่งขยะไปกำจัดที่ยะลา จาก 18,000 บาท ต่อสัปดาห์ ลดลงเหลือ 14,000 บาทต่อสัปดาห์ และจำนวนส่งจาก 4 วันต่อสัปดาห์เป็น 2 วันต่อสัปดาห์ ทำให้ลดภาระค่าใช้จ่ายของเทศบาลได้

กิจกรรมหลัก : ปฐมนิเทศโครงการi

2,500.00 2 ผลผลิต

แกนนำโครงการเข้าร่วม 2 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานเข้าใจหลักการทำโครงการชุมชนน่าอยู่

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงและเลขานุการ

2,500.00 2,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจขั้นตอนในการลงข้อมูลโครงการในเว็บไซต์ มีความรู้ในเรื่องวิธีการใช้โปรแกรม

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมหนุนเสริมติดตามการดำเนินโครงการในพื้นที่ของสจรสi

7,500.00 2 ผลผลิต

คณะทำงานร่วมกิจกรรมที่จัดโดย สสส.และสจรส. พี่เลี้ยงจังหวัด ไม่น้อยกว่า 8 ครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้แนะนำการทำรายงานและใบสำคัญรับเงิน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 8 ครั้ง

ครอบครัวต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน2.แกนนำนักเรียน และเยาวชนจำนวน กลุ่มเป้าหมายทั่วไป จำนวน 40 คน

0.00 0.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชนได้รับรู้ รับทราบถึงรายละเอียดของกิจกรรมโครงการนักจัดการขยะและสุขภาพบ้านศรีนคร 2.ผู้นำชุมชนและประชาชนเกิดจิตสำนึกและความตระหนักในการที่จะต้องหันกลับมาดูแลในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องขยะและสุขภาพ 3.เกิดกิจกรรมที่ผู้นำชุมชนและประชาชนจะได้ร่วมมือในการดำเนินการที่สร้างสรรค์เกิดประโยชน์กับส่วนรวม 4.หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนมีการบูรณาการในการทำงานร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาในชุมชน

ผู้รับผิดชอบโครงการ และ ผู้รับผิดชอบด้านการเงิน

3,000.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
2. ผู้รับผิดชอบโครงการยังมีปัญหาเรื่องสถานที่สำหรับการจัดศึกษาดูงาน 3. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ปรับแก้ข้อมูลเบื้องต้นของโครงการ เช่น การแบ่งงวดงานและการปรับโครงการให้ตรงตามสัญญา 3. ผู้รับผิดชอบได้รับรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับการทำเอกสารการเงินของโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน  และ ผู้รับผิดชอบด้านการเงิน 1 คน

3,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการมีปัญหาเรื่องหาสถานที่ดูงาน
  3. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ปรับแก้ข้อมูลให้ตรงกับรายงานการเงิน
  4. ผู้รับผิดชอบได้รับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการทำเอกสารการเงิน

ผู้รับผิดชอบโครงการกับคณะทำงาน จำนวน 3 คน

500.00 500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  ผู้รับผิดชอบโครงการกับคณะทำงาน จำนวน 3 คน ถอนเงินค่าเปิดบัญชี 500 บาท ธนาคารกรุงไทย สาขาบันนังสตา

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1คน เลขานุการ 1คน เจ้าหน้าที่การเงิน 1คน

1,804.00 1,624.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ครูพี่เลี้ยงตรวจสอบหลักฐานการเงิน ง1
  2. ครูพี่เลี้ยงตรวจสอบเนื้อหาในโปรแกรมพร้อมแนะนำบางกิจกรรมให้ลงเนื้อหาเพิ่ม

ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ จำนวน 2 คน

0.00 0.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานได้ชี้แจงและแก้ไขการรายงานกิจกรรมและเอกสารการเงิน 

ผู้รับผิดชอบโครงการและเลขานุการ

1,696.00 1,696.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถเล่าที่มาของโครงการและร่วมกันถอดบทเรียนโครงการ
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการ เล่าที่มาของชุมชนคอกช้าง และเล่าที่มาของโครงการและสาเหตุว่าทำไมถึงทำโครงการจัดการขยะ
  3. ผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอจุดเด่น/นวัติกรรมที่เกิดจากโครงการนี้

ผู้จัดโครงการ เลขา และเหรัญญิก

500.00 500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ตรวจสอบเอกสารต่างๆ 2.ปรึกษาครูพี่เลี้ยงเรื่องการเงิน

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมจัดทำรายงานสรุปปิดi

1,000.00 7 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมทำรายงานจำนวน 4 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้รับแนะนำการทำรายงานปิดโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ 3 คน ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขานุกรรม เหรัญญิก และค ณะทำงาน 2 คน

1,000.00 2,496.00 3 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานส่งเอกสารให้ครูพี่เลี้ยงตรวจสอบ
  2. ครูพี่เลี้ยงให้คำแนะนำเรื่องเอกสาร รายงานต่างๆที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์
  3. ให้คำแนะนำเนื่องเอกสารการเงิน
  4. ครูพี่เลี้ยงให้กลับไปทำเอกสารให้เสร็จสมบูรณ์ และส่งมาตรวจสอบ
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
กองทุนขยะ

การนำขยะมาบริจาคและแลกเป็นเงินกลายเป็นกองทุน

ชุมชนมีการจัดการขยะที่เป็นการขายแล้วนำเงินมาเป็นกองกลางสำหรับกิจกรรมของชุมชน

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางสาวสายป่าน หนูน้อย ชมรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม บ้านคอกช้าง

เป็นแกนนำเยาวชนในหมู่บ้าน รณรงค์เรื่องการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

นายปิยวิทย์ เสนทอง กลุ่มเยาวชนตาวิเศษ 16 ถ.คอกช้าง ต.แม่หวาด อ.ธารโต จ.ยะลา

เป็นแกนนำเยาวชน เครือข่ายขยายความรู้ด้านการจัดการขยะ ให้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น กศน. วัด โรงเรียน

นายผ่อน รัตนอรุณ ถ.เทศบาล 6 ต.แม่หวาด อ.ธารโต จ.ยะลา

แกนนำชาวบ้าน ผู้สูงอายุ ช่วยชักชวนคนอื่นมาร่วมกิจกรรม ต่างๆ และเป็นปราชชาวบ้านด้าน สมุนไพร และสิ่งแวดล้อม

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

บริเวณสะพานและลำคลอง

จากเดิมมีขยะที่ถูกทิ้งจากบ้านเรือน ปัจจุบันมีความสะอาด

คูน้ำหน้าหน้าโรงเรียน บ้านโต

จากเดิมชาวบ้านมักนำขยะมาทิ้งกองไว้เวลาฝนตกก็ชะล้างลงคู ปัจจุบันไม่มีขยะในจุดบริเวณดังกล่าว

บริเวณจุดทิ้งขยะใกล้หมู่บ้าน

ปัจจุบันมีการปรับพื้นที่ เพื่อใช้เป็นกิจกรรมสาธารณะ และมีกฎ ห้ามนำขยะมาทิ้งจุดดังกล่าว

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงสร้างการคณะทำงานชัดเจนและมีการประชุมบ่อย

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

คณะทำงานมีศักยภาพดี

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

การขับเคลื่อนโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

บริหารการเงินผ่านระบบออนไลน์

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามเป้าหมาย

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินครบถ้วน สมบูรณ์

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

การดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานและมีการรายงานผลอย่างถูกต้อง

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

แกนนำชุมชนที่มีฐานจาก อสม.เดิม จะร่วมกันทำงานได้ดี และเกิดแกนนำเยาวชนดูแลสิงแวดล้อมในชุมชน

สร้างรายงานโดย สุวิทย์ หมาดอะดำ