แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 57-01518
สัญญาเลขที่ 57-00-0930

ชื่อโครงการ ศรีท่าน้ำสุขภาวะดี วิถีพอเพียง
รหัสโครงการ 57-01518 สัญญาเลขที่ 57-00-0930
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุวิทย์ หมาดอะดำ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 3 พฤศจิกายน 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 5 ธันวาคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายริซกี สาร๊ะ รพ.สต.บ้านศรีท่าน้ำ ต.ธารโต อ.ธารโต จ.ยะลา 081 3882683
2 นายฮาซัน อาแด 39 หมู่ 4 ต.ธารโต อ.ธารโต จ.ยะลา 0898795290

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อสร้างกลไกให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งมีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจจากทุกภาคส่วนในการแก้ปัญหาชุมชน

เชิงปริมาณ

1.1 มีสภาซูรอขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชน ร่วมคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาชุมชน จำนวน 35 คน 1.2สร้างเยาวชนสุขภาพดี วิถีพอเพียง 40 คน 1.3เกิดแผนสุขภาวะชุมชน

เชิงคุณภาพ 1.1 มีสภาซูรอคอยขับเคลื่อนแผนสุขภาวะชุมชน 1.2 เยาวชนมีจิตสำนึกรักการออม 1.3 เป็นหมู่บ้านเอื้ออาทรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

2.

ชุมชนใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการลดรายจ่ายครัวเรือน

เชิงปริมาณ

2.1 สรรหานวตกรรมด้านสุขภาพมาใช้กับผู้พิการผู้สูงอายุ 2.2 ชุมชนมีการใช้พื้นที่สาธารณะ ทำโครงการอาหารกลางวันเด็กตาดีกา 2.3 ครัวเรือนลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ ลดรายจ่ายมากกว่า20 ครัวเรือน

เชิงคุณภาพ 2.1 ครัวเรือนมีการค้นพบตัวเองด้านเศรษฐกิจโดยบัญชีครัวเรือน 2.2 ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากบุหรี่ลดลง

3.

ชุมชนใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเพิ่มรายได้ครัวเรือน

เชิงปริมาณ

3.1ชุมชนมีแปลงสาธิตเกษตรอินทรีย์ จำนวน 3 แปลง 3.2 ชุมชนมีกิจกรรมแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร 3.3 ชุมชนมีกิจกรรมส่งเสริมการออม

เชิงคุณภาพ 3.1 ครัวเรือนมีพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้กินเอง/ขาย/แปรรูป
3.2 ครัวเรือนใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต 3.3 ชุมชนมีกิจกรรมการสะสมทุน เพื่อการประกอบอาชีพ

4.

เพื่อการบริหารจัดการติดตามประเมินผล

เชิงปริมาณ

1.เพื่อใช้ในการปฐมนิเทศโครงการ  ติดตามงานตามโครงการ 2.มีกิจกรรมจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ 3.มีการสรุปปิดโครงการ

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ปฐมนิเทศโครงการi

1,000.00 2 ผลผลิต

ผู้รับผิดชอบโครงการ และเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ จำนวน 2 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเข้าร่วมปฐมนิเทศของกลุ่มเป้าหมายทำให้การทำโครงการมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการสร้างความเข้าใจระบบวิธีคิดและการปฏิบัติอย่างละเอียดอีกด้วย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

นายริซกี  สาร๊ะ  ผู้ประสานงานโครงการ  นางมยุรดี  ลิแจ  การเงินโครงการ  นางซาบีเราะ จูนิ  ทีมงานโครงการ และนางซูไวบะ  ดาโอะ  ทีมงานโครงการ

1,000.00 3,248.00 2 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับรู้ขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการ 2.ได้ลงข้อมูลกิจกรรมโครงการในเวปไซต์ 3.ได้รู้แนวทางการส่งรายงานการดำเนินโครงการ 4.ได้คู่มือและเอกสารการดำเนินงานโครงการ 5.เข้าใจระบบการทำงานโครงการและการเงินที่ถุกต้องและเป็นระบบมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่i

1,000.00 2 ผลผลิต

ชุมชนได้ทำป้ายปอดบุหรี่โดยติดเอาไว้ที่ สำนักงานบริหารโครงการ คือ รพ.สต. ศรีท่าน้ำ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือ ไม่สูบบุหรี่ในสถานที่ที่กำหนด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงาน

1,000.00 1,000.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คนในชุมชนทราบถึงการประชาสัมพันธ์การงดสูบบุหรี่ 2.การประสัมพันธ์ในเรื่องนี้ใช้ในทุกกิจกรรมของชุมชน เพื่อให้เกิดการบอกต่อให้มากที่สุด 3.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงผู้จัดทำป้ายการประชาสัมพันธ์การรณรงค์ลดสูบบุหรี่ให้ผู้จัดทำทราบถึงขนาดและความต้องการพร้อมทั้งชี้แจงงบประมาณที่สสส.สนับสนุนให้จัดทำแผ่นป้ายเพื่อผู้จัดทำจะได้เข้าใจตรงกันและลดความผิดพลาดโดยผู้ทำป้ายได้นัดวันที่เอาป้ายคือหนึ่งสัปดาห์นับจากวันที่สั่งทำ

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ ลดรายจ่าย ลดโรคภัยi

6,000.00 20 ผลผลิต

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 50 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม คณะทำงาน5คน,เยาวชน 35 คน ผู้สนใจ 10 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

1.เยาวชoให้ความสนใจและรับรู้พิษภัยบุหรี่มากขึ้น  นอกจากนี้ทำให้เยาวชน 2.ภาคส่วนต่างๆในชุมชน ร่วมแรงแข็งขันในการรณรงค์และร่วมกันป้องกันพิษภัยบุหรี่และยาเสพติด 3.เยาวชนจะนำไปสื่อสารกับผุ้ปกครองและผู้ใหญ่ในชุมชนเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่และยาเสพติดต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงาน5คน,เยาวชน 35 คน ผุ้สนใจ 10 คน

6,000.00 6,000.00 20 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เยาวชoให้ความสนใจและรับรู้พิษภัยบุหรี่มากขึ้น  นอกจากนี้ทำให้เยาวชน 2.ภาคส่วนต่างๆในชุมชน ร่วมแรงแข็งขันในการรณรงค์และร่วมกันป้องกันพิษภัยบุหรี่และยาเสพติด 3.เยาวชนจะนำไปสื่อสารกับผุ้ปกครองและผู้ใหญ่ในชุมชนเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่และยาเสพติดต่อไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

มัสยิดประจำหมู่บ้าน

มีการรณรงค์ไม่ให้มีการสูบบุหรี่ ในเขตบริเวณมัสยิด

ที่ดินสาธารณะประจำหมู่บ้าน

มีการลงแขกเพื่อปลูกผัก ใช้เป็นการปรุงอาหารเที่ยงให้เด็กโรงเรียน ตาดีกา ประจำหมู่บ้าน

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงสร้างการดำเนินงาน แต่คณะทำงานบางท่านยังเข้าใจโครงการไม่เหมือนกัน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

เนื่องจากเป็นโครงการใหม่

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ยังไม่สำเร็จตามเป้าหมาย เช่นกลุ่มเป้าหมายยังไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีผู้รับทราบอื่นๆ เช่น จากการสัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านก็รับทราบการเบิกจ่ายเงินทำกิจกรรม

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ใช้จ่ายเงินได้ตามแผนงาน

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินไม่เรียบร้อย

ผลรวม 0 0 4 0
ผลรวมทั้งหมด 4 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

จากการดำเนินกิจกรรมในห้วงที่ผ่านมา สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนงาน และมีการให้ความร่วมมือของกลุ่มเป้าหมายของโครงการเป็นอย่างดี ก็คิดว่าจะสามารถดำเนินโครงการให้บรรลุผลสำเร็จได้

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ค้นพบว่า การใช้กลุ่มไลน์ของกลุ่มโครงการที่ได้รับของจังหวัด เพื่อให้แต่ละกลุ่มได้พูดคุยกัน สื่อสารกัน สามารถทำให้โครงการมีการประสานงานกันเองได้ เช่น จัดไปศึกษาดูงานพร้อมกัน ในประเด็นเดียวกัน หรือการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกัน เป็นต้น

สร้างรายงานโดย สุวิทย์ หมาดอะดำ