แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-01519
สัญญาเลขที่ 57-00-0929

ชื่อโครงการ ครอบครัวสร้างสุขยี่งอน่าอยู่ด้วยกระบวนการสภาซูรอ (ต่อเนื่อง)
รหัสโครงการ 57-01519 สัญญาเลขที่ 57-00-0929
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 อาหามะเจ๊ะโซะ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 25 มกราคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 31 มกราคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาด 2ึ7 หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส 96180 093-674-7660
2 นายดาซูกี เจ๊ะหลง 15 หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส 96180 0862875927
3 นายสัญญา อาบูบากา 22 หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส 96180 086 9568660

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.เพื่อบริหารจัดการและการติดตามประเมินโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้ารวมกิจกรรมกับ สสส. และสจรส.

2.

1.เพื่อให้สถาบันครอบครัวมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหายาเสพติดในระดับชุมชน

เกิดเครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังสิ่งเสพติดแบบบูรณาการกับทุกภาคส่วนอย่างน้อย 1 เครือข่าย

3.

เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักศาสนาว่าด้วยยาเสพติดและนำไปประพฤติปฏิบัติได้ถูกต้อง

1.ไม่มีผู้เสพรายใหม่จากครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 2.ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาว่าด้วยยาเสพติด ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ:

4.

เพื่อให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสพสารเสพติดในชุมชนได้รับการดูแลจากชุมชน

1.เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดได้รับการบำบัดและดูแล ร้อยละ 100(18 คน) 2.เยาวชนที่เสพยาติดสามารถเลิกและไม่กลับไปเสพซ้ำ ร้อยละ 50

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมหนุนเสริมเข้าร่วมประชุมกับ สสส หรือ สจรส.มอ.หาดใหญ่(ค่าเดินทาง ค่าที่พัก) และติดตามการดำเนินงานโครงการในพื้นที่i

10,000.00 2 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นหลัก มีเจ้าหน้าที่การเงิน ผู้นำชุมชนมาร่วมกิจกรรมที่ สจรส.บ้างบางครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การติดตามในพื้นที่จังหวัด สามารถเข้าร่วมทุกครั้ง แต่รายงานหน้าเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน มีการติดตามกับพที่เลี้ยงในพื้นที่จังหวัดมากกว่าใน สจรส. ทำให้ไม่สามารถใช้งบประมาณโครงการตามแผนที่กำหนดได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

  • จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2 คนผู้รับผิดชอบและผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ
1,800.00 1,800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รู้วิธีการจัดทำรายงานทางเวปไซต์ และการปฐมนิเทศงาน

ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เยาวชน คณะทำงานโครงการ 14 คน

0.00 0.00 10 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชุมชนพื้นที่โครงการรับทราบการดำเนินโครงการ และมีกิจกรรมโครงการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง แต่การบันทึกในเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน
  • ไม่สามารถติดตามหลักฐานการเบิกจ่ายโครงการได้เนื่องจากเจ้าหน้าทีการเงินมีภารกิจไม่สามารถเข้าร่วมการติดตามได้
  • ส่วนกิจกรรมที่เข้าร่วมเป็นกิจกรรมเตรียมตัวเพื่อสำรวจข้อมูล โดยมี คณะทำงานโครงการ กลุ่มเยาวชนผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนามาร่วมกันออกแบบแบบการสำรวจ

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 แกนนำเยาวชน

0.00 145.00 2 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในพื้นที่เป็นแนวปฏิบัติ
  • คณะทำงานและแกนนำเยาวชนได้ร่วมรับฟังข้อเสนอแนะจากพี่เลี้ยง

คณะกรรมการโครงการ  1 คน

0.00 0.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การบันทึกปฏิทินกิจกรรมในเวปไซด์เป็นปัจจุบัน ส่วนรายงานกิจกรรมขาดรายละเอียดของผลการปฏิบัติจริง
  • ผู้รับผิดชอบโครงการหลักไประกอบพิธีฮัจญ์ ทำให้ไม่สามารถติดตามตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่ายได้ทั้งหมด
  • รายงานกิจกรรมในเวปไซด์ไม่ครบตามจำนวนกิจกรรมที่จัดทั้งหมด

ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้นำชุมชน 2 คน

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • รายงานบันทึกกิจกรรมและรายงานการเงินทางเวปไซด์เป็นปัจจุบัน ขาดรายละเอียดกิจกรรมปฏิบัติจริง
  • ขาดหลักฐานการเบิกจ่ายเงินโครงการ  2 กิจกรรม (ขาดใบสำคัญรับเงินค่าวิทยากร  ใบลงทะเบียน ใบสำคัญรับเงินค่าอาหาร) เนื่องจากเจ้าหน้าที่การเงินรวบรวมมาไม่ครบ

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ 1 คน

2,000.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ตรวจสอบความถูกต้อง
  • ได้รายงานการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  • ได้รับข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน สจรส.มอ.หาดใหญ่ในการรายงานทางเวปไซต์

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ 1 คน

1,800.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ส่งเอกสารรายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ(ส1)
  • รายงานการเงินงวดที่ 1(ง.1)
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 1คน
  • เลขานุการ 1คน
1,800.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนนำเสนอผลที่เกิดขึ้นที่เป็นคุณค่าที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับข้อเสนอแนะเพื่อได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น
  • ผู้รับผิดชอบโครงการกับผู้รับผิดชอบการเงิน
500.00 216.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ไดรายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  • ได้รายงานการเงินพร้อมหลักฐานการเบิกจ่าย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการกับผู้รับผิดชอบการเงิน
500.00 500.00 -2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับเงินค่าเปิดบัญชีห้าร้อยบาท
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้รับผิดชอบการเงิน
2,800.00 1,800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานการดำเนินงานตามโครงการกับเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ.หาดใหญ่
  • รายงานการดำเนินกิจกรรมบนเว็บไซตให้สมบูรณ์
  • รายรานการเงินพร้อมเอกสารหลักฐานการเงิน
  • เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องการเบิกจ่ายเงิน พร้อมเอกสารหลักฐานผู้รับเงิน

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีชุมชนปรึกษาหารือแนวทางจัดตังสภาซุรอครอบครัวที่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหายาเสพติดi

9,600.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก4คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน ตัวแทนครอบครัว26คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนได้คูณสมบัติเบื้องต้นและบทบาทของสภาซุรอต่อชุมชน เป็นกระบวนการดูแลครอบครัวเพื่อใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้รู้ในท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านจากสาขาต่างๆ ที่มีอยู่มาสร้างประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ และให้มีความสอดคล้องกับวิธีการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ในขณะเดียวกันเป็นเวที่การป้องกันปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับครอบครัว หากครอบครัวใดที่ประสบปัญหาก็สามารถนำเสนอที่สภาครอบครัวได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-ผู้นำ4เสาหลัก4คน-คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน-คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน-สมาชิกสท.ยี่งอ10คน-ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน-ตัวแทนวัยทำงาน10คน-ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน-แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน-ตัวแทนครอบครัว26คน รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรม100คน

9,600.00 9,600.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับความร่วมมือกับผู้นำ4เสาหลักประกอบด้วย1.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ2.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ3.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล 4.แกนนำชุมชน
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้แนวทางการจัดตั้งสภาซูรอครอบครัว ความหมายของระบบซูรอ ความสำคัญของซูรอ วิธีการดำเนินการ องค์ประชุมของคณะกรรมการซูรอ หน้าที่ของสภาซูรอ
  • ผู้เข้าร่วมได้เสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมาชิกสภาซูรอและได้กำหนดแนวทางการดำเนินตามโครงการโดยแบ่งหน้าหีรับผิดกลุ่มบ้านหกเขต
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกำหนดคุณสมบัติของสมาชิกสภาซูรอครอบครัวดังนี้:
        - ต้องมีอามานะห์ มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ทำลายความไว้วางใจที่ได้รับ
          - ต้องมีความเที่ยงตรง มีหลักการและมีสัจจะ
          - ต้องปราศจากความอิจฉาระหว่างสมาชิกและคนในชุมชน
          - ต้องไม่มีศัตรูกับบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะคนในชุมชนบ้านยี่งอ
          - ต้องมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน/ทุกครอบครัวกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ       - ไม่ใช่บุคคลที่ตามอารมณ์นัฟซูใผ่ต่ำ
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พิจารณาวิธีการกำเนินการสภาซูรอครอบครัวด้วยวิธีการอาจยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมของบริบทชุมชนหมู่ที่7 แต่อยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์ส่วนรวมและทุกครอบครัวต้องยอมรับกระบวนการเข้ามามีส่วนร่วม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พิจารณาบทบาทหน้าที่ของสภาซูรอครอบครัวเป็นกระบวนการดูแลครอบครัวเพื่อใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้รู้ในท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านจากสาขาต่างๆ ที่มีอยู่มาสร้างประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ และให้มีความสอดคล้องกับวิธีการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ในขณะเดียวกันเป็นเวที่การป้องกันปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับครอบครัว หากครอบครัวใดที่ประสบปัญหาก็สามารถนำเสนอที่สภาครอบครัวได้

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมคัดเลือกตัวแทนสภาซูรอครอบครัวi

9,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก4คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน ตัวแทนครอบครัว26คนผูุ้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ประกอบด้วย กลุ่มเยาวชนจิตอาสา25คน แกนนำชุมชน6คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน16คน อสม3คน ตัวแทนครอบครัว10คน รวม60คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชน ได้ตัวแทนสภาซูรอ 50 ครอบครัว

  • คณะทีปรึกษา 1.กำนันตำบลยี่งอ 2.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ 3.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ 4.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล

  • โครงสร้างสมาชิกสภาซูรอครอบที่นำเสนอดังนี้ 1.นายอับดุลอาซิซหะยีมูซอประธาน 2.นายอับดุลลาตีฟขาวสะอาด รองประธาน 3. นายอับดุลรอมันมะรือมอ เลขานุการ 4.นายดาซูกี เจะหลงเหรัญญิก การเงินและบัญชี 5.นายซูลฮาน ซำซูดิง ประชาสัมพันธ์ 6.นายอับดุลฮาดี ภารตกฤตยาพันธ์ ฝ่ายทะเบียน 7.นายสะมะแอ ยาฮายอ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 1 8.นายณรงค์ เจ๊ะหลงหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 29. นายมะลาเย็งอีแตหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 3 10.นายมะยูรายะโกะหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 4 11.นายวิชาญ เจะอูเซ็ง หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 5 12.นายมูหาหมัดโซเฟียโน ตาเยะหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 6 13.นายมะพอซีเจะนิหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 7 14. นายอับดุลอารีต เบ็ญโส๊ะ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 8 15.นายเจ๊ะรอมือลีเจ๊ะเต๊ะหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 9 16.นายแวสะแลแม แวสะแลแมหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 10 17.นายอับดุลเลาะ เจ๊ะมะลีหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 11 18.นางสารฟะห์มะดากะกุล ฝ่ายกิจการสตรีมัสยิดยาเมร์ 19.นายสะมะแอดิงนามอและทีม สว.มัสยิดยาเมร์ ฝ่ายตรวจสอบและประเมิน 20.นายอุสตาดฮารง ยุริยะ หัวหน้ากิจกรรมฝ่ายวิชาการ21.นายซอและ สุริโซหัวหน้าประสานงานกลุ่มออมทรัพย์มัสยิดยาเมร์ มติผู้เข้าร่วมการประชุมเห็นชอบกับกลุ่มบุคคลตังกล่าว

  • บทบาทหน้าที่การทำงานของสภาซูรอครอบครัวดังนี้: -1. ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัว -2. ศูนย์รับร้องทุกข์ประเด็นครอบครัว เช่นการหย่า การแบ่งมรดกตามศานบัญญัติในอิสลาม -3. ศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานต่างที่เกี่ยงข้อง อย่างเช่นหน่วยงานยุติธรรมจังหวัด สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ฯลฯ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-ผู้นำ4เสาหลัก4คน-คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน-คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน-สมาชิกสท.ยี่งอ10คน-ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน-ตัวแทนวัยทำงาน10คน-ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน-แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน-ตัวแทนครอบครัว26คน รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรม100คน

9,000.00 9,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับความร่วมมือกับผู้นำ4เสาหลักประกอบด้วย1.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ2.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ3.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล 4.แกนนำชุมชน
  • ได้ร่วมประชุมปรึกษาหารือ ทำความเข้าใจ ศึกษาความเป็นไปได้ในหลักการ แนวคิด กระบวนการและเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งสภาซูรอครอบครัวในชุมชนหนึ่งสภาในการดูแลเด็กและเยาวชนเพื่อป้องกันสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • ผู้เข้าร่่วมประชุมได้พิจารณาขอบเขตความหมายของสภาซูรอครอบครัวดังนี้: สภาซูรอครอบครัว คือ องค์กรประชาชนที่มาจากตัวแทนกลุ่มครอบครัวสัปบุรุษมัสยิดยาเมร์ยี่งอ ที่อาสาสมัครมาร่วมกันดูแล ป้องกันและแก้ไขปัญหาครอบครัวในชุมชนหมู่ 7 ชุมชนหมู่ 3 ชุมชนหมู่ 1 (สัปบุรุษมัสยิดยาเมร์ยี่งอ)ที่มีการบริหารจัดการในรูปของ"คณะทำงานศูนย์พัฒนาสถาบันครอบครัวมัสยิดยาเมร์ยี่งอ" โดยมีเครือข่ายกลุ่มครอบครัวเป็นสมาชิก และอยู่ในความดูแลมัสยิดยาเมร์ยี่งอ ประสานความร่วมมือจากหน่วยราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน และองค์กรประชาชน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับครอบครัว โดยคณะทำงานศูนย์พัฒนาสถาบันครอบครัวมัสยิดยาเมร์ยี่งอ จะมาจากการคัดเลือกของประชาชนตามกระบวนการประชาคม
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้กำหนดมีบทบาทหน้าที่  สำคัญ 3 ประการ ดังนี้
  1. บทบาทในการสำรวจศึกษาปัญหา
  2. บทบาทในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหา / ให้คำแนะนำ
  3. บทบาทในการ พัฒนา และเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้กำหนดหลักในการดำเนินสภาซูรอครอบครัว
  • ใช้กระบวนการประชาคมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน
  • การประสานเครือข่ายครอบครัว และหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
  • การติดตามประเมินผลโดยใช้ตัวชี้วัดจากผลการดำเนินงาน

  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมพิจารณาคุณสมบัติของสมาชิกสภาซูรอครอบครัวดังนี้:

  • 1.ต้องมีอามานะห์ มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ทำลายความไว้วางใจที่ได้รับ
  • 2.ต้องมีความเที่ยงตรง มีหลักการและมีสัจจะ
  • 3.ต้องปราศจากความอิจฉาระหว่างสมาชิกและคนในชุมชน
  • 4.ต้องไม่มีศัตรูกับบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะคนในชุมชนบ้านยี่งอ
  • 5.ต้องมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน/ทุกครอบครัวกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ
  • 6.ไม่ใช่บุคคลที่ตามอารมณ์นัฟซูใผ่ต่ำ
  • 7.ได้ตัวแทนสภาซูรอ 50 ครอบครัว ดังนี็  คณะทีปรึกษา 1.กำนันตำบลยี่งอ 2.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ 3.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ 4.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล
  • โครงสร้างสมาชิกสภาซูรอครอบที่นำเสนอดังนี้ 1.นายอับดุลอาซิซ  หะยีมูซอ  ประธาน 2.นายอับดุลลาตีฟ  ขาวสะอาด รองประธาน 3. นายอับดุลรอมัน    มะรือมอ เลขานุการ 4.นายดาซูกี เจะหลงเหรัญญิก การเงินและบัญชี 5.นายซูลฮาน ซำซูดิง ประชาสัมพันธ์ 6.นายอับดุลฮาดี ภารตกฤตยาพันธ์ ฝ่ายทะเบียน 7.นายสะมะแอ ยาฮายอ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 1 8.นายณรงค์ เจ๊ะหลง  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 2  9. นายมะลาเย็ง  อีแต  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 3 10.นายมะยูรา  ยะโกะ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 4 11.นายวิชาญ เจะอูเซ็ง หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 5 12.นายมูหาหมัดโซเฟียโน ตาเยะ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 6 13.นายมะพอซี  เจะนิ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 7 14. นายอับดุลอารีต เบ็ญโส๊ะ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 8 15.นายเจ๊ะรอมือลี  เจ๊ะเต๊ะ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 9 16.นายแวสะแลแม แวสะแลแม  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 10 17.นายอับดุลเลาะ เจ๊ะมะลี  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 11 18.นางสารฟะห์  มะดากะกุล ฝ่ายกิจการสตรีมัสยิดยาเมร์ 19.นายสะมะแอ  ดิงนามอและทีม สว.มัสยิดยาเมร์ ฝ่ายตรวจสอบและประเมิน 20.นายอุสตาดฮารง ยุริยะ หัวหน้ากิจกรรมฝ่ายวิชาการ  21.นายซอและ สุริโซหัวหน้าประสานงานกลุ่มออมทรัพย์มัสยิดยาเมร์
  • มติผู้เข้าร่วมการประชุมเห็นชอบกับกลุ่มบุคคลตังกล่าว
  • ผู้เข้าร่่วมประชุมได้เสนอบทบาทหน้าที่การทำงานของสภาซูรอครอบครัวดังนี้: -1. ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัว -2. ศูนย์รับร้องทุกข์ประเด็นครอบครัว เช่นการหย่า การแบ่งมรดกตามศานบัญญัติในอิสลาม -3. ศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานต่างที่เกี่ยงข้อง อย่างเช่นหน่วยงานยุติธรรมจังหวัด สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ฯลฯ

กิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมศาสนบำบัดพร้อมปฏิบัติศาสนกิจร่วมกันและจัดกิจกรรมรณรงค์พัฒนาสิ่งสาธารณะประโยชน์i

69,000.00 60 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 6 ครั้ง จำนวน 60 - 113 คน จำนวนประกอบด้วย เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คนกลุ่มเสพ 18 คนเยาวชนทั่วไปทีสนใจ 53 คน รวม 113 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพฤติกรรมในทางทีดีขึ้น สามารถเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณประโยชน์ และปฏิบัติศาสนากิจได้มากขึ้น ผู้เสพบางรายสามารถลดละเลิกและสมัครใจเข้ารับการบำบัด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

-เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คน เด็กและเยาวชนที่สนใจ 45 คน

6,900.00 6,860.00 60 87 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนได้เดินรณรงค์ต้านสิ่งเสพติดทุกประเภท
  • ได้ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  • เด็ก เยาวชนได้มีความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่/คนในชุมชนมากขึ้น ได้พูดคุย ผู้ใหญ่ได้ให้กำลังใจให้ห่างไกลจากยาเสพติด
  • มีตำรวจและทหารมาช่วยดูแลความปลอดภัยในช่่วงดำเนินกิจกรรม
  • เด็ก เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจิตอาสาชุมชนมากขึ้น
  • เด็กและเยาวชนจำนวน 65 คน กลุ่มผู้เสพ 3 คน กลุ่มเสี่ยง30คน เด็กเยาวชนทั่วไป 32 คน
6,900.00 5,900.00 60 65 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ในช่วงเดือนรอมฏอมซึ่งเป็นเดือนการถือศิลอดของชาวมุสลิมคณะทำงานได้นำหลักคำสอนทางศาสนามาดำเนินกิจกรรมให้กับเยาวชน โดยมีกิจกรรมเอี๊ยะตีกาฟสิบวันสุดท้ายของเดือนรอมฏอน นอนพร้อมกันที่มัสยิด กิจกรรมให้ความรู้ กิจกรรมช่วยเหลือผู้ยากจน บริจาค ละหมาดตารอเวี๊ยะ วีตีร กียามุลลัย กิจกรรมตักเตือนซึ่งกันและกัน
  • มีเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้เสพ 3 คน กลุ่มเสี่ยง30คน เด็กเยาวชนทั่วไป 32 คน รวม  65 คน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมรักการปฏิบัติศานกิจละหมาดญามาอะห์ร่วมกัน
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำหลักการทางศาสนามาใช้ในชีวิประจำวัน
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ขัดเกลาจิตใจกับการปฏิบัติศาสนกิจ
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณธรรมและจริยธรรม ปฏิบัติตามหลักศาสนาได้ถูกต้อง

-เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คน กลุ่มเสพ 8 คนทั่วไป 10 คน  รวม 60 คน 

6,900.00 5,900.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในการทำงานเพื่อชุมชนและผลบุญที่จะได้รับ
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทำกิจกรรมเพื่อชุมชน
  • เยาวชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพได้ปรับเปลียนพฤติกรรมเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อชุมชนมากขึ้น
  • เยาวชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพได้ใช้เวลาว่างทำประโยชน์เพือชุมชน 

-เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คน - กลุ่มเสพ 18 คน - เยาวชนทั่วไปทีสนใจ 53 คน รวม 113 คน

6,900.00 6,860.00 60 113 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในการต้านภัยยาเสพติด
  • ได้รับความร่วมเป็นอย่างดีกับผู้อำนวยการโรงเรียนร่มเกล้าและคณะอาจารย์
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เพื่อนๆใหม่ผ่านกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
  • เกิดการปรับเปลียนพฤติกรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยจากการสังเกตขณะดำเนินกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เกิดความรักความสามัคคี การช่วยเหลือเพื่อนๆด้วยจิตอาสา บริการและให้ความสะดวกซึ่งกันและกันพร้อมให้คำหมั่นสัญญาว่าจะอยู่ร่วมกันในการต้านภัยสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้และได้เสนอแนะให้คณะทำงานเพิ่มจำนวนวันในการจัดกิจกรรม2-3วัน เพื่อให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างเพื่อนๆให้มากกว่านี้
  • เด็กและเยาวชนชาย(กลุ่มปกติ)จำนวน 28 คน
  • เด็กและเยาวชนชาย(กลุ่มเสี่ยง)จำนวน 23 คน
  • เยาวชนหญิงจำนวน 33 คน
6,900.00 5,670.00 60 84 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับรู้ เข้าใจและเกิดอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติดตามหลักคำสอนของศาสนามาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทำกิจกรรมเพื่อสร้างอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติดตามหลักคำสอนของศาสนาร่วมกัน
  • เกิดกลุ่มเยาวชนทีมีอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติดหนึ่งกลุ่ม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยพฤติกรรมร่วมกันสร้างอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติด โดยมีอุดมการณ์ว่าทุกสิ่งที่มึนเมานั้นเป็นบาป ซึ่งยึดหลักข้อบัญญัติที่กล่าวไว้ในคัมภีร์อัลกุรอ่านและอัลฮาดิษ
  • เด็กและเยาวชนชายกลุ่มปกติจำนวน 37 คน
  • เยาวชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 25 คน
  • เยาวชนกลุ่มเสrจำนวน 8 คน
6,900.00 6,900.00 60 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจความสำคัญการขัดเกลาจิตใจ จากการปฏิบัติศาสนกิจละมาดร่วมกัน โดยมานอนร่วมกันที่มัสยิด ทุกหลังละมาดจะมีการตักเตือนซึ่งกันและกัน และเน้นหลักศาสนา บุญ บาป และการปฏิบัติตามหลักคำสอนอิสลาม
  • ผู้เข้าร่วมเข้าใจไปปรับเปลียนพฤติกรรมทำให้จิตใจสงบ ใจเย็น สงบและมีสมาธิในช่วงการปฏิบัติศาสนกิจกียามูลัย (ละมาดช่วงดึก)
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาหลักธรรมเพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน และได้ศึกษาวิธีการอ่านคัมภีร์อัลกุรอานแบ่งกลุ่มฝึกอ่านแบบพี่สอนน้อง เกิดความรักความสามัคคีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ 35 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 29 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสพ 6 คน
6,900.00 6,900.00 60 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนต้องช่วยกันต้านภัยสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับเปลียนพฤติกรรมคุณลักษณะนิสัยการสร้างวินัยตนเองในการทำงานเป็นทีม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ปฏิบัติศาสนกิจและได้รับคำตักเตือนจากพี่ตักเตือนน้อง
  • ผู้เข้าร่วมเข้าใจไปปรับเปลียนพฤติกรรมสร้างวินัยตนเองปรับตนเองสามารถเข้ากับคนอื่นได้
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาหลักธรรมบทขอพรเพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน และได้ศึกษาวิธีการอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน เกิดความรักความสามัคคีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ 40 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 21 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสพ 9 คน
6,900.00 6,900.00 60 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ก่อนละหมาดมัฆริบกลุ่มเยาวชนเป้าหมายได้ร่วมตัวกัน ณ.มัสยิดยาเมร์ยี่งอเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดยามาอี (ละมาดร่วมกันหลายคน) ร่วมกันภายใต้หลักคิด "ติดละหมาดไม่ติดยา"
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ 30 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 30 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสพ 10 คน
6,900.00 6,900.00 60 74 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตนเองและชุมขช่วยกันต้านภัยสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการขัดเกลาจิตใจด้วยการปฏิบัติศาสนกิจและได้รับคำตักเตือนตามหลักการศาสนา
  • ผู้เข้าร่วมเข้าใจไปปรับเปลียนพฤติกรรม พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ทำให้จิตใจสงบ ใจเย็น สงบและมีสมาธิในช่วงการปฏิบัติศาสนกิจกียามูลัย
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาหลักธรรมเพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน และได้ศึกษาวิธีการอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน เกิดความรักความสามัคคีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กลุ่มเสพ 7 คน กลุ่มเสยง 33 คน กลุ่มปกติ 20 คน

10,500.00 10,500.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความรักความสามัคคี(สังเกตจากการทำงานกลุ่มมีความร่วมมือกันได้ดีมาก) ซึ่งจากสถานการณ์สมมุติที่พี่เลี้ยงทะเลาะกันเรื่องอาหารมาช้า แต่ทีมเยาวชนที่เข้าร่วมคิดไม่ถึงว่าจะเป็นเรื่องล้อเล่น คิดว่าเป็นเรื่องจริง มีการร้องไห้ และเด็กบางคนก็ลุกไปช่วยแม่ครัวเตรียมอาหารเพื่อให้เสร็จเร็วขึ้น ทำให้เด็กได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม และเกิดความสามัคคีกัน เมื่อพี่เลี้ยงในทีมเฉลยว่าคือฉากสมมุติ
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีเครือข่ายร่วมต้านสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

 

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

 

 

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
  • หลักฐานการเบิกจ่ายเก็บไว้หลายคน ทำไห้ไม่สามารถตรวจสอบได้ทัน การบันทึกรายงานในเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน
  • มีการมอบหมายให้มีผู้ทำหน้าที่บันทึกกิจกรรมผ่านเวปไซด์และผู้ที่ทำหน้าที่จัดเก็บหลักฐานการเบิกจ่ายไว้ชัดเจน

-จัดกลุ่มการหลักฐานการเบิกจ่ายเงินโครงการหมวดงบประมาณโครงการ และงบสนับสนุนดำเนินการ มอบหมายให้มีผู้รับชอบรวบรวมการจัดเก็บหลักฐานการเบิกจ่ายเงินโครงการให้ชัดเจน อาจเป็นในลักษณะหลัก รอง กรณีที่ผู้รับผิดชอบหลักไม่อยู่ผูรับผิดชอบรองสามารถนำหลักฐานการเบิกจ่ายต้องพร้อมในการตรวจสอบ ติดตาม

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

การบันทึกเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • ภาพรวมการติดตามพบว่า สามารถดำเนินกิจกรรมโครงการตามแผนงานที่กำหนดไว้ หลักฐานการเบิกจ่าย ครบถ้วนเหมาะสมกับกิจกรรมและเป็นปัจจุบัน แต่การบันทึกในหน้าเวป จะต้องติดตามและกระตุ้นเป็นบางครั้ง

สร้างรายงานโดย gentlen05