แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-01519
สัญญาเลขที่ 57-00-0929

ชื่อโครงการ ครอบครัวสร้างสุขยี่งอน่าอยู่ด้วยกระบวนการสภาซูรอ (ต่อเนื่อง)
รหัสโครงการ 57-01519 สัญญาเลขที่ 57-00-0929
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายอาหามะเจ๊ะโซะ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 8 มิถุนายน 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 มิถุนายน 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาด 2ึ7 หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส 96180 093-674-7660
2 นายดาซูกี เจ๊ะหลง 15 หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส 96180 0862875927
3 นายสัญญา อาบูบากา 22 หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส 96180 086 9568660

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.เพื่อบริหารจัดการและการติดตามประเมินโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้ารวมกิจกรรมกับ สสส. และสจรส.

2.

1.เพื่อให้สถาบันครอบครัวมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหายาเสพติดในระดับชุมชน

เกิดเครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังสิ่งเสพติดแบบบูรณาการกับทุกภาคส่วนอย่างน้อย 1 เครือข่าย

3.

เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักศาสนาว่าด้วยยาเสพติดและนำไปประพฤติปฏิบัติได้ถูกต้อง

1.ไม่มีผู้เสพรายใหม่จากครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 2.ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาว่าด้วยยาเสพติด ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ:

4.

เพื่อให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสพสารเสพติดในชุมชนได้รับการดูแลจากชุมชน

1.เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดได้รับการบำบัดและดูแล ร้อยละ 100(18 คน) 2.เยาวชนที่เสพยาติดสามารถเลิกและไม่กลับไปเสพซ้ำ ร้อยละ 50

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมหนุนเสริมเข้าร่วมประชุมกับ สสส หรือ สจรส.มอ.หาดใหญ่(ค่าเดินทาง ค่าที่พัก) และติดตามการดำเนินงานโครงการในพื้นที่i

10,000.00 2 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นหลัก มีเจ้าหน้าที่การเงิน ผู้นำชุมชนมาร่วมกิจกรรมที่ สจรส.บ้างบางครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การติดตามในพื้นที่จังหวัด สามารถเข้าร่วมทุกครั้ง แต่รายงานหน้าเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน มีการติดตามกับพที่เลี้ยงในพื้นที่จังหวัดมากกว่าใน สจรส. ทำให้ไม่สามารถใช้งบประมาณโครงการตามแผนที่กำหนดได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

  • จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2 คนผู้รับผิดชอบและผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ
1,800.00 1,800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รู้วิธีการจัดทำรายงานทางเวปไซต์ และการปฐมนิเทศงาน

ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เยาวชน คณะทำงานโครงการ 14 คน

0.00 0.00 10 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชุมชนพื้นที่โครงการรับทราบการดำเนินโครงการ และมีกิจกรรมโครงการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง แต่การบันทึกในเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน
  • ไม่สามารถติดตามหลักฐานการเบิกจ่ายโครงการได้เนื่องจากเจ้าหน้าทีการเงินมีภารกิจไม่สามารถเข้าร่วมการติดตามได้
  • ส่วนกิจกรรมที่เข้าร่วมเป็นกิจกรรมเตรียมตัวเพื่อสำรวจข้อมูล โดยมี คณะทำงานโครงการ กลุ่มเยาวชนผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนามาร่วมกันออกแบบแบบการสำรวจ

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 แกนนำเยาวชน

0.00 145.00 2 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในพื้นที่เป็นแนวปฏิบัติ
  • คณะทำงานและแกนนำเยาวชนได้ร่วมรับฟังข้อเสนอแนะจากพี่เลี้ยง

คณะกรรมการโครงการ  1 คน

0.00 0.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การบันทึกปฏิทินกิจกรรมในเวปไซด์เป็นปัจจุบัน ส่วนรายงานกิจกรรมขาดรายละเอียดของผลการปฏิบัติจริง
  • ผู้รับผิดชอบโครงการหลักไประกอบพิธีฮัจญ์ ทำให้ไม่สามารถติดตามตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่ายได้ทั้งหมด
  • รายงานกิจกรรมในเวปไซด์ไม่ครบตามจำนวนกิจกรรมที่จัดทั้งหมด

ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้นำชุมชน 2 คน

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • รายงานบันทึกกิจกรรมและรายงานการเงินทางเวปไซด์เป็นปัจจุบัน ขาดรายละเอียดกิจกรรมปฏิบัติจริง
  • ขาดหลักฐานการเบิกจ่ายเงินโครงการ  2 กิจกรรม (ขาดใบสำคัญรับเงินค่าวิทยากร  ใบลงทะเบียน ใบสำคัญรับเงินค่าอาหาร) เนื่องจากเจ้าหน้าที่การเงินรวบรวมมาไม่ครบ

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ 1 คน

2,000.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ตรวจสอบความถูกต้อง
  • ได้รายงานการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  • ได้รับข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน สจรส.มอ.หาดใหญ่ในการรายงานทางเวปไซต์

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ 1 คน

1,800.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ส่งเอกสารรายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ(ส1)
  • รายงานการเงินงวดที่ 1(ง.1)
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 1คน
  • เลขานุการ 1คน
1,800.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนนำเสนอผลที่เกิดขึ้นที่เป็นคุณค่าที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับข้อเสนอแนะเพื่อได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น
  • ผู้รับผิดชอบโครงการกับผู้รับผิดชอบการเงิน
500.00 216.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ไดรายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  • ได้รายงานการเงินพร้อมหลักฐานการเบิกจ่าย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการกับผู้รับผิดชอบการเงิน
500.00 500.00 -2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับเงินค่าเปิดบัญชีห้าร้อยบาท
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้รับผิดชอบการเงิน
2,800.00 1,800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานการดำเนินงานตามโครงการกับเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ.หาดใหญ่
  • รายงานการดำเนินกิจกรรมบนเว็บไซตให้สมบูรณ์
  • รายรานการเงินพร้อมเอกสารหลักฐานการเงิน
  • เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องการเบิกจ่ายเงิน พร้อมเอกสารหลักฐานผู้รับเงิน

กิจกรรมหลัก : ร่วมวางแผนการเตรียมงานกับคณะทำงานi

1,350.00 15 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 15 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน5คน คณะกรรมการหมู่บ้าน5คน แกนนำชุมชน5คน กลุ่มเยาวชน5คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนร่วมกันค้นหาและได้แนวทางการจัดทำโครงการแบบมีส่วนร่วมตั้งแต่

  • ขั้นตอนที่ ๑ มองหาและรวบรวมครอบครัวดี มีจิตอาสา ชวนมาเป็นทีมงานในชุมชน
  • ขั้นตอนที่ ๒ ร่วมทำแผนการปฏิบัติงานกิจกรรมต่างๆตามโครงการ
  • ขั้นตอนที่ ๓ จัดเวทีประชาคมในชุมชน นำเสนอแผนที่คิดกันมาให้กับคนทั้งชุมชนได้รับรู้อีกทั้งให้ชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันช่วยเติมเต็ม และมีการตกลงเพื่อจะได้ร่วมมือกันทำงานตามแผน
  • ขั้นตอนที่ ๔ ดำเนินกิจกรรมในแผน
  • ขั้นตอนที่ ๕ ร่วมมือกันในการปฏิบัติตามแผน ตามโครงการ และตามกิจกรรม เป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างคน ระหว่างกลุ่มคน ระหว่างครอบครัวในระหว่างการทำงานร่วมกันมีกระบวนการทำให้ทุกคนได้ร่วมกันเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
  • ขั้นตอนที่ ๖ จัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะๆ ว่าแต่ละโครงการแต่ละกิจกรรม เป็นไปตามแผนหรือไม่ มีปัญหา อุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง
  • ขั้นตอนที่ ๗ จัดเวทีชุมชนเพื่อสรุปงานและร่วมคิดกันว่าจะต้องทำอะไรต่อ โดยเริ่มจากการนำเสนอผลการประเมินที่แสดงให้เห็นว่า หลังจากดำเนินงานแล้วเกิดคุณค่าด้านใดบ้าง จะต่อยอดอย่างไร ขณะเดียวกันกลุ่มคน องค์กรที่เข้าร่วม ได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ชุมชนในภาพรวมเกิดการพัฒนาอย่างไร ต้องทำอะไรอย่างต่อเนื่องอีกที่จะทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • คณะทำงาน5คน
  • คณะกรรมการหมู่บ้าน5คน
  • แกนนำชุมชน5คน
  • กลุ่มเยาวชน5คน
1,350.00 1,350.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการดำเนินกิจกรรมนี้ได้ผลสรุปเกี่ยวกับกระบวนการและขั้นตอนในการดำเนินโครงการฯดังนี้: - ขั้นตอนที่ ๑ มองหาและรวบรวมครอบครัวดี มีจิตอาสา ชวนมาเป็นทีมงานในชุมชน - ขั้นตอนที่ ๒ ร่วมทำแผนการปฏิบัติงานกิจกรรมต่างๆตามโครงการ
- ขั้นตอนที่ ๓ จัดเวทีประชาคมในชุมชน นำเสนอแผนที่คิดกันมาให้กับคนทั้งชุมชนได้รับรู้อีกทั้งให้ชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันช่วยเติมเต็ม และมีการตกลงเพื่อจะได้ร่วมมือกันทำงานตามแผน - ขั้นตอนที่ ๔ ดำเนินกิจกรรมในแผน - ขั้นตอนที่ ๕ ร่วมมือกันในการปฏิบัติตามแผน ตามโครงการ และตามกิจกรรม เป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างคน ระหว่างกลุ่มคน ระหว่างครอบครัวในระหว่างการทำงานร่วมกันมีกระบวนการทำให้ทุกคนได้ร่วมกันเรียนรู้ซึ่งกันและกัน - ขั้นตอนที่ ๖ จัดทีม เพื่อทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลเป็นระยะๆ ว่าแต่ละโครงการแต่ละกิจกรรม เป็นไปตามแผนหรือไม่ มีปัญหา อุปสรรค และต้องปรับปรุงการดำเนินงานอะไรบ้าง สุดท้ายทำเสร็จแล้วจะได้คุณค่าอะไรบ้าง - ขั้นตอนที่ ๗ จัดเวทีชุมชนเพื่อสรุปงานและร่วมคิดกันว่าจะต้องทำอะไรต่อ โดยเริ่มจากการนำเสนอผลการประเมินที่แสดงให้เห็นว่า หลังจากดำเนินงานแล้วเกิดคุณค่าด้านใดบ้าง จะต่อยอดอย่างไร ขณะเดียวกันกลุ่มคน องค์กรที่เข้าร่วม ได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ชุมชนในภาพรวมเกิดการพัฒนาอย่างไร ต้องทำอะไรอย่างต่อเนื่องอีกที่จะทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมเปิดโครงการครอบครัวสร้างสุขบ้านยี่งอน่าอยู่ด้วยกระบวนการซูรอi

9,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 116 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก 4 คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน-สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน -แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน-ตัวแทนครอบครัว26คน และมีผู้สนใจ 16 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบแนวทางการดำเนินกิจกรรมตามโครงการครอบครัวสร้างสุขยี่งอน่าอยู่ฯ ได้รับข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้มีการปรับเวลาและรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม ไม่กระทบเวลาการทำงานปกติของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-ผู้นำ4เสาหลัก4คน-คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน-คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน-สมาชิกสท.ยี่งอ10คน-ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน-ตัวแทนวัยทำงาน10คน-ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน-แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน-ตัวแทนครอบครัว26คน และมีผู้สนใจ 16 คน รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรม116 คน

9,000.00 9,000.00 100 116 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ 116 คน
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบแนวทางการดำเนินกิจกรรมตามโครงการครอบครัวสร้างสุขยี่งอน่าอยู่ฯ
  • ได้รับข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ดั้งนี้: 1.ควรจัดกิจกรรมระหว่างช่วงเวลาที่ไม่กระทบกับเวลาทำงาน 2.ควรประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนรับทราบทุกคนด้วยมิใช่เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่ได้ระบุในแผนเท่านั้น 3.ควรดำเนินกิจกรรมตามโครงการอย่างจริงจังและต่อเนื่องไม่ใช่พอปิดโครงการนี้แล้วหยุดการดูแลเยาวชนพร้อมกับการสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้เข้มแข็ง

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมสภาซูรอจัดทำหลักสูตรชุมชนว่าด้วยหลักการศาสนากับยาเสพติดและการดูแลเด็กเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติดi

27,400.00 30 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมย่อย2 กิจกรรม 130 คน กิจกรรมที่ 1 จัดทำหลักสูตรครอบครัวผู้ประกอบร่วมกิจกรรมประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอและคณะบริหาร 3 คนผอ.กศน.อ.ยี่งอและเจ้าหน้าที่ 2 คนผอ.สช.อ.ยี่งอ 1 คน นักพัฒนาสังคม 1 คนผู้นำศาสนา 3 คนกรรมการมัสยิด 5 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์มัสยิดยาเมร์ยี่งอ 3 คนตัวแทนครอบครัว 13 คน ครั้งที่2 เปิดใหช้ชุมชนให้ความเห็นของหลักสูตร สภาครอบครัว ประกอบด้วย ผู้นำสี่เสาหลัก 4 คนคณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คนคณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คนสท.ต.ยี่งอ 10 คนผู้สูงอายุ 10 คนวัยทำงาน 10 คน ตัวแทนกลุ่มสตรี 10 คนเยาวชนจิตอาสา 10 คนตัวแทนครอบครัว 26 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้แนวทางการจัดทำหลักสูตรครอบครัว ชุมชนให้ครอบครัวตัวอย่างไปปฏิบัติจริงก่อนแล้วมาสรุปทบทวนอีกครั้งก่อนการนำไปใช้จริงในชุมชน โดยเนื้อหาดังต่อไปนี้ ลักสูตรครอบครัวที่นำเสนอที่ประชุมมีมติและคิดว่าสามารถที่จะนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันดังนี้:

  • สิทธิและหน้าที่ของสามี
  • สิทธิและหน้าที่ของภารยา
  • บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันทั้งสองฝ่าย
  • บทบาทและหน้าที่ต้องปฏิบัติร่วมกัน
  • แนวทางการเลี้ยงดูและการอบรมลูก
  • หน้าที่ของพ่อแม่ในการอบรมดูแลลูก
  • บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  • นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอและคณะบริหาร 3 คน - ผอ.กศน.อ.ยี่งอและเจ้าหน้าที่ 2 คน - ผอ.สช.อ.ยี่งอ 1 คน  - นักพัฒนาสังคม 1 คน - ผู้นำศาสนา 3 คน - กรรมการมัสยิด 5 คน - ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์มัสยิดยาเมร์ยี่งอ 3 คน - ตัวแทนครอบครัว 13 คน
18,000.00 18,110.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ศึกษาแนวทางการจัดทำหลักศูตรครอบครัวสร้างสุข
  • ได้ร่วมกันแลกเปลียนประสบการณ์การดูแลลูกจากครอบครัวที่สำเร็จที่สามารถนำเป็นตัวอย่าง 3 ครอบครัว ได้พูดวิธีการดูแลลูก
  • ได้นำเสนอกิจกรรมที่สามารถพัฒนาครอบครัวตนเองให้ประสบความสำเร็จเช่นกลุ่มครอบครัวศึกษาวิธีการโดยแบ่งเป็นกลุ่มๆละ ๖-๘ครอบครัวมาแลกเปลียนศึกษาเรียนรู้เพื่อพัฒาตนเองและครอบครัว
  • ได้นำเสนอกิจกรรมที่สามารถเชิ่อมต่อระหว่างครอบครัวในชุมชนโดยใช้ศูนย์พัฒนาสถาบันครอบครัวมัสยิดยาเมร์ยี่งอเป็นผู้รับผิดชอบให้เป็นดังครอบครัวเดียวกัน.คนในชุมชนอยู่อย่างเป็นพีเป็นน้องกันโดยใช้หลักคำสอนทางศาสนา วิธีการและขั้นตอนดังนี้:
  • ขั้นตอนที่ 1 ตะอารุฟ (คือการทำความรู้จักซึ่งกันและกัน)= การทำความรู้จักกันระหว่างบุคคนและครอบครัวนี้ต้องไม่ตั้งอยู่บนรากฐานหรือเจตนาที่ว่า ต้องการโอ้อวดวงค์ตระกูล เผ่าพันธุ์ เกียรติยศอำนาจ หรือทรัพย์สิน เพราะสิ่งเหล่านี้มิใช่เครื่องวัดที่ถูกต้องสำหรับมนุษย์
  • ขั้นที่ตอน 2 อัตตะอาลุฟ (คือการสร้างความคุ้นเคยและการสร้างความสนิทสนมต่อกัน) = การที่มนุษย์สร้างความคุ้นเคยสนิทสนมซึ่งกันและกัน ดังที่อัลลอฮ.ได้สร้างความรักและความสนิทสนมให้เกิดขึ้นในระหว่างพวกเขามาแล้วดังโองการที่ว่า “และพวกเจ้าจงระลึกถึงความโปรดปรานของอัลลอฮ.แก่พวกเจ้า เมื่อครั้งพวกเจ้ายังเป็นศัตรูต่อกันและพระองค์ได้ทรงประสานระหว่างหัวใจของพวกเจ้า ต่อมาพวกเจ้าก็กลายมาเป็นพี่น้องกัน” (อาลิอิมรอน : 103)
  • ขั้นที่ตอน3 อัตตะฟาฮุม (คือการสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน) =การสร้างความเข้าใจกับเพื่อนๆมนุษย์ของเขา ในหลักการพื้นฐานต่างๆที่สำคัญของอิสลามเป็นอันดับแรกหลังจากนั้นก็เป็นเรื่องต่างๆที่ต้องทำความเข้าใจ
  • ขั้นตอนที่ 4อัรริอายะฮ.(การเอาใจใส่ดูแลซึ่งกันและกัน) =การที่บุคคลและครอบครัวเอาใจใส่ดูแลระหว่างครอบครัวดังพี่น้องของเขาคอยสอดส่องดูแลการเป็นอยู่และการใช้ชีวิตของเขา เพื่อที่จะได้ช่วยเหลือเขา โดยมิต้องรอให้เขาเอ่ยปากขอความช่วยเหลือ เพราะนั่นเป็นสิทธิที่พึ่งจะได้รับ และหลักการที่บ่งบอกจำเป็นต้องคอยเอาใจใส่ดูแลพี่น้องมุสลิมก็คือหะดีษของท่านรอซูลที่ว่า“บุคคลหนึ่งยังไม่ศรัทธา (อย่างแท้จริง) จนกว่าเขาจะรักที่จะให้พี่น้องมุสลิมของเขาได้รับในสิ่งที่เขารักที่จะให้ตนเองได้รับ”(รายงานโดย อัลบุคอรีย์และมุสลิม) และอีกความหมายหนึ่งของการเอาใจใส่ดูแลพี่น้องมุสลิมก็คือ การขจัดความทุกข์ร้อนให้หมดไปจากเขา การปกปิดความลับของเขา การให้ความสะดวกสบายแก่เขาและการช่วยเขาในธุระต่างๆดังที่ท่านรอซุล กล่าวว่า“ผู้ใดคลี่คลายความทุกข์โศก(หรือภัยพิบัติ) หนึ่งในดุนยาออกไปจากพี่น้องมุสลิม อัลลอฮ.จะคลี่คลายความทุกข์โศกหนึ่งในวันกียามะฮ.ออกไปจากเขา และผู้ใดได้ให้ความสะดวกต่อผู้ที่ตกทุกข์ได้ยาก อัลลอฮ.จักให้ความสะดวกแก่เขาทั้งในดุนยาและอาคีเราะฮ. และผู้ใดได้ปกปิดความลับของมุสลิมคนหนึ่ง อัลลอฮ.จะปกปิดความลับของเขาทั้งโลกดุนยาและโลกอาคีเราะฮ. อัลลอฮ.ยังคงช่วยเหลือบ่าวของพระองค์ตลอดกาล ตราบใดที่บ่าวคนนั้นยังคงช่วยเหลือพี่น้องมุสลิม” (โดยมุสลิม)
  • ผู้นำสี่เสาหลัก 4 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คน - สท.ต.ยี่งอ 10 คน - ผู้สูงอายุ 10 คน - วัยทำงาน 10 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 10 คน - เยาวชนจิตอาสา 10 คน - ตัวแทนครอบครัว 26 คน
9,400.00 9,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการกำหนดกฎเกณฑ์ในสังคม
  • ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรมเข้าใจสิทธิและหน้าที่ของสามีภารยาในครอบครัวตามหลักการของศาสนาอิสลาม
  • ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้สร้างความพันธ์ที่ดีต่อกันสามารถตักเตือนซึ่งกันและกันในการดูแลครอบครัวตนเอง
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้นำเสนอความคิดเห็นได้ร่วมวิพากษ์วิจารณ์ความเป็นไปได้นำหลักสูตรครอบครัวไปใช้จริง
  • หลักสูตรครอบครัวที่นำเสนอที่ประชุมมีมติและคิดว่าสามารถที่จะนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันดังนี้:
  • ๑.สิทธิและหน้าที่ของสามี
  • ๒. สิทธิและหน้าที่ของภารยา
  • ๓. บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันทั้งสองฝ่าย
  • ๔. บทบาทและหน้าที่ต้องปฏิบัติร่วมกัน
  • ๕. แนวทางการเลี้ยงดูและการอบรมลูก
  • ๖. หน้าที่ของพ่อแม่ในการอบรมดูแลลูก
  • ๗. บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  • ทุกครอบครัวเห็นตรงกันว่าควรนำหลักสูตรครอบครัวนี้ลองไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวันก่อนแล้วหากพบปัญหาประการใดมาทบทวนใหม่

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีชุมชนปรึกษาหารือแนวทางจัดตังสภาซุรอครอบครัวที่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหายาเสพติดi

9,600.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก4คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน ตัวแทนครอบครัว26คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนได้คูณสมบัติเบื้องต้นและบทบาทของสภาซุรอต่อชุมชน เป็นกระบวนการดูแลครอบครัวเพื่อใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้รู้ในท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านจากสาขาต่างๆ ที่มีอยู่มาสร้างประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ และให้มีความสอดคล้องกับวิธีการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ในขณะเดียวกันเป็นเวที่การป้องกันปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับครอบครัว หากครอบครัวใดที่ประสบปัญหาก็สามารถนำเสนอที่สภาครอบครัวได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-ผู้นำ4เสาหลัก4คน-คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน-คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน-สมาชิกสท.ยี่งอ10คน-ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน-ตัวแทนวัยทำงาน10คน-ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน-แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน-ตัวแทนครอบครัว26คน รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรม100คน

9,600.00 9,600.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับความร่วมมือกับผู้นำ4เสาหลักประกอบด้วย1.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ2.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ3.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล 4.แกนนำชุมชน
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้แนวทางการจัดตั้งสภาซูรอครอบครัว ความหมายของระบบซูรอ ความสำคัญของซูรอ วิธีการดำเนินการ องค์ประชุมของคณะกรรมการซูรอ หน้าที่ของสภาซูรอ
  • ผู้เข้าร่วมได้เสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมาชิกสภาซูรอและได้กำหนดแนวทางการดำเนินตามโครงการโดยแบ่งหน้าหีรับผิดกลุ่มบ้านหกเขต
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกำหนดคุณสมบัติของสมาชิกสภาซูรอครอบครัวดังนี้:
        - ต้องมีอามานะห์ มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ทำลายความไว้วางใจที่ได้รับ
          - ต้องมีความเที่ยงตรง มีหลักการและมีสัจจะ
          - ต้องปราศจากความอิจฉาระหว่างสมาชิกและคนในชุมชน
          - ต้องไม่มีศัตรูกับบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะคนในชุมชนบ้านยี่งอ
          - ต้องมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน/ทุกครอบครัวกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ       - ไม่ใช่บุคคลที่ตามอารมณ์นัฟซูใผ่ต่ำ
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พิจารณาวิธีการกำเนินการสภาซูรอครอบครัวด้วยวิธีการอาจยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมของบริบทชุมชนหมู่ที่7 แต่อยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์ส่วนรวมและทุกครอบครัวต้องยอมรับกระบวนการเข้ามามีส่วนร่วม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พิจารณาบทบาทหน้าที่ของสภาซูรอครอบครัวเป็นกระบวนการดูแลครอบครัวเพื่อใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้รู้ในท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านจากสาขาต่างๆ ที่มีอยู่มาสร้างประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ และให้มีความสอดคล้องกับวิธีการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ในขณะเดียวกันเป็นเวที่การป้องกันปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับครอบครัว หากครอบครัวใดที่ประสบปัญหาก็สามารถนำเสนอที่สภาครอบครัวได้

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมคัดเลือกตัวแทนสภาซูรอครอบครัวi

9,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก4คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน ตัวแทนครอบครัว26คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชน ได้ตัวแทนสภาซูรอ 50 ครอบครัว

  • คณะทีปรึกษา 1.กำนันตำบลยี่งอ 2.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ 3.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ 4.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล

  • โครงสร้างสมาชิกสภาซูรอครอบที่นำเสนอดังนี้ 1.นายอับดุลอาซิซหะยีมูซอประธาน 2.นายอับดุลลาตีฟขาวสะอาด รองประธาน 3. นายอับดุลรอมันมะรือมอ เลขานุการ 4.นายดาซูกี เจะหลงเหรัญญิก การเงินและบัญชี 5.นายซูลฮาน ซำซูดิง ประชาสัมพันธ์ 6.นายอับดุลฮาดี ภารตกฤตยาพันธ์ ฝ่ายทะเบียน 7.นายสะมะแอ ยาฮายอ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 1 8.นายณรงค์ เจ๊ะหลงหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 29. นายมะลาเย็งอีแตหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 3 10.นายมะยูรายะโกะหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 4 11.นายวิชาญ เจะอูเซ็ง หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 5 12.นายมูหาหมัดโซเฟียโน ตาเยะหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 6 13.นายมะพอซีเจะนิหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 7 14. นายอับดุลอารีต เบ็ญโส๊ะ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 8 15.นายเจ๊ะรอมือลีเจ๊ะเต๊ะหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 9 16.นายแวสะแลแม แวสะแลแมหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 10 17.นายอับดุลเลาะ เจ๊ะมะลีหัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 11 18.นางสารฟะห์มะดากะกุล ฝ่ายกิจการสตรีมัสยิดยาเมร์ 19.นายสะมะแอดิงนามอและทีม สว.มัสยิดยาเมร์ ฝ่ายตรวจสอบและประเมิน 20.นายอุสตาดฮารง ยุริยะ หัวหน้ากิจกรรมฝ่ายวิชาการ21.นายซอและ สุริโซหัวหน้าประสานงานกลุ่มออมทรัพย์มัสยิดยาเมร์ มติผู้เข้าร่วมการประชุมเห็นชอบกับกลุ่มบุคคลตังกล่าว

  • บทบาทหน้าที่การทำงานของสภาซูรอครอบครัวดังนี้: -1. ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัว -2. ศูนย์รับร้องทุกข์ประเด็นครอบครัว เช่นการหย่า การแบ่งมรดกตามศานบัญญัติในอิสลาม -3. ศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานต่างที่เกี่ยงข้อง อย่างเช่นหน่วยงานยุติธรรมจังหวัด สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ฯลฯ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-ผู้นำ4เสาหลัก4คน-คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน-คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน-สมาชิกสท.ยี่งอ10คน-ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน-ตัวแทนวัยทำงาน10คน-ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน-แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน-ตัวแทนครอบครัว26คน รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรม100คน

9,000.00 9,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับความร่วมมือกับผู้นำ4เสาหลักประกอบด้วย1.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ2.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ3.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล 4.แกนนำชุมชน
  • ได้ร่วมประชุมปรึกษาหารือ ทำความเข้าใจ ศึกษาความเป็นไปได้ในหลักการ แนวคิด กระบวนการและเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งสภาซูรอครอบครัวในชุมชนหนึ่งสภาในการดูแลเด็กและเยาวชนเพื่อป้องกันสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • ผู้เข้าร่่วมประชุมได้พิจารณาขอบเขตความหมายของสภาซูรอครอบครัวดังนี้: สภาซูรอครอบครัว คือ องค์กรประชาชนที่มาจากตัวแทนกลุ่มครอบครัวสัปบุรุษมัสยิดยาเมร์ยี่งอ ที่อาสาสมัครมาร่วมกันดูแล ป้องกันและแก้ไขปัญหาครอบครัวในชุมชนหมู่ 7 ชุมชนหมู่ 3 ชุมชนหมู่ 1 (สัปบุรุษมัสยิดยาเมร์ยี่งอ)ที่มีการบริหารจัดการในรูปของ"คณะทำงานศูนย์พัฒนาสถาบันครอบครัวมัสยิดยาเมร์ยี่งอ" โดยมีเครือข่ายกลุ่มครอบครัวเป็นสมาชิก และอยู่ในความดูแลมัสยิดยาเมร์ยี่งอ ประสานความร่วมมือจากหน่วยราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน และองค์กรประชาชน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับครอบครัว โดยคณะทำงานศูนย์พัฒนาสถาบันครอบครัวมัสยิดยาเมร์ยี่งอ จะมาจากการคัดเลือกของประชาชนตามกระบวนการประชาคม
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้กำหนดมีบทบาทหน้าที่  สำคัญ 3 ประการ ดังนี้
  1. บทบาทในการสำรวจศึกษาปัญหา
  2. บทบาทในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหา / ให้คำแนะนำ
  3. บทบาทในการ พัฒนา และเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้กำหนดหลักในการดำเนินสภาซูรอครอบครัว
  • ใช้กระบวนการประชาคมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน
  • การประสานเครือข่ายครอบครัว และหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
  • การติดตามประเมินผลโดยใช้ตัวชี้วัดจากผลการดำเนินงาน

  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมพิจารณาคุณสมบัติของสมาชิกสภาซูรอครอบครัวดังนี้:

  • 1.ต้องมีอามานะห์ มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ทำลายความไว้วางใจที่ได้รับ
  • 2.ต้องมีความเที่ยงตรง มีหลักการและมีสัจจะ
  • 3.ต้องปราศจากความอิจฉาระหว่างสมาชิกและคนในชุมชน
  • 4.ต้องไม่มีศัตรูกับบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะคนในชุมชนบ้านยี่งอ
  • 5.ต้องมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน/ทุกครอบครัวกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ
  • 6.ไม่ใช่บุคคลที่ตามอารมณ์นัฟซูใผ่ต่ำ
  • 7.ได้ตัวแทนสภาซูรอ 50 ครอบครัว ดังนี็  คณะทีปรึกษา 1.กำนันตำบลยี่งอ 2.ผู้ใหญ่บ้านหมู่7ต.ยี่งอ 3.นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลยี่งอ 4.ผู้นำศาสนาโตีะอีหม่าม คอตีบ บีลาล
  • โครงสร้างสมาชิกสภาซูรอครอบที่นำเสนอดังนี้ 1.นายอับดุลอาซิซ  หะยีมูซอ  ประธาน 2.นายอับดุลลาตีฟ  ขาวสะอาด รองประธาน 3. นายอับดุลรอมัน    มะรือมอ เลขานุการ 4.นายดาซูกี เจะหลงเหรัญญิก การเงินและบัญชี 5.นายซูลฮาน ซำซูดิง ประชาสัมพันธ์ 6.นายอับดุลฮาดี ภารตกฤตยาพันธ์ ฝ่ายทะเบียน 7.นายสะมะแอ ยาฮายอ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 1 8.นายณรงค์ เจ๊ะหลง  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 2  9. นายมะลาเย็ง  อีแต  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 3 10.นายมะยูรา  ยะโกะ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 4 11.นายวิชาญ เจะอูเซ็ง หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 5 12.นายมูหาหมัดโซเฟียโน ตาเยะ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 6 13.นายมะพอซี  เจะนิ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 7 14. นายอับดุลอารีต เบ็ญโส๊ะ หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 8 15.นายเจ๊ะรอมือลี  เจ๊ะเต๊ะ  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 9 16.นายแวสะแลแม แวสะแลแม  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 10 17.นายอับดุลเลาะ เจ๊ะมะลี  หัวหน้าประสานงานกลุ่มบ้านโซนที่ 11 18.นางสารฟะห์  มะดากะกุล ฝ่ายกิจการสตรีมัสยิดยาเมร์ 19.นายสะมะแอ  ดิงนามอและทีม สว.มัสยิดยาเมร์ ฝ่ายตรวจสอบและประเมิน 20.นายอุสตาดฮารง ยุริยะ หัวหน้ากิจกรรมฝ่ายวิชาการ  21.นายซอและ สุริโซหัวหน้าประสานงานกลุ่มออมทรัพย์มัสยิดยาเมร์
  • มติผู้เข้าร่วมการประชุมเห็นชอบกับกลุ่มบุคคลตังกล่าว
  • ผู้เข้าร่่วมประชุมได้เสนอบทบาทหน้าที่การทำงานของสภาซูรอครอบครัวดังนี้: -1. ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัว -2. ศูนย์รับร้องทุกข์ประเด็นครอบครัว เช่นการหย่า การแบ่งมรดกตามศานบัญญัติในอิสลาม -3. ศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานต่างที่เกี่ยงข้อง อย่างเช่นหน่วยงานยุติธรรมจังหวัด สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ฯลฯ

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมสภาซูรอจัดทำข้อมูลครอบครัวi

7,510.00 50 ผลผลิต

ผูุ้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ประกอบด้วย กลุ่มเยาวชนจิตอาสา25คน แกนนำชุมชน6คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน16คน อสม3คน ตัวแทนครอบครัว10คน รวม60คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนได้ข้อมูลสถานการณ์ครบครัว ใชุมชน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานให้สภาครอบครัวนำไป ดังนี้ คณะทำงานได้รับข้อมูลสถานการณ์ครอบครัว ครอบครัวอยู่ด้วยกันจำนวน 60 ครอบครัว ครอบครัวมีการหย่าร้าง /แยกทางจำนวน 18 ครอบครัว เด็กกำพร้า อยู่กับปู่ย่าตายายจำนวน 23คน, คนพิการ จำนวน 5คน ผู้สูงอายุขาดการดูแล,สมาชิกในครอบครัวถูกกระทำความรุนแรง,การทะเลาะเบาะแว้งในครอบครัว,ครอบครัวมีผู้ติดสิ่งเสพติดและอบายมุข,ครอบครัวมีผู้ติดเอดส์/โรคอื่นๆ,สมาชิกที่พ้นโทษกลับมาอยู่กับครอบครัว,เด็กขาดการศึกษา,เด็กประพฤติตนไม่เหมาะสม และอื่น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  • กลุ่มเยาวชนจิตอาสา25คน
  • แกนนำชุมชน6คน -ตัวแทนกลุ่มบ้าน16คน -อสม3คน -ตัวแทนครอบครัว10คน รวม60คน
6,510.00 6,510.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานไปเยี่ยมบ้านแต่ละครอบครัวพร้อมจัดเก็บรวบรวมข้อมูลครอบครัว
  • คณะทำงานได้รับข้อมูลสถานการณ์ครอบครัว
  • ครอบครัวอยู่ด้วยกันจำนวน 60 ครอบครัว
  • ครอบครัวมีการหย่าร้าง /แยกทางจำนวน 18 ครอบครัว
  • เด็กกำพร้า อยู่กับปู่ย่าตายายจำนวน 23คน,
  • คนพิการ จำนวน 5คน
  • ผู้สูงอายุขาดการดูแล,สมาชิกในครอบครัวถูกกระทำความรุนแรง,การทะเลาะเบาะแว้งในครอบครัว,ครอบครัวมีผู้ติดสิ่งเสพติดและอบายมุข,ครอบครัวมีผู้ติดเอดส์/โรคอื่นๆ,สมาชิกที่พ้นโทษกลับมาอยู่กับครอบครัว,เด็กขาดการศึกษา,เด็กประพฤติตนไม่เหมาะสม และอื่น ๆ
  • การจัดเก็บข้อมูลครั้งนี้ยังไม่ครบทุกครอบครัวโดยเหตุเพราะว่าช่วงคณะทำงานไปเยี่ยมบ้านไม่มีใครอยู่

กลุ่มเยาวชนจิตอาสา25คน-แกนนำชุมชน6คน-ประธานกลุ่มบ้าน6คน-อสม3คน-ตัวแทนครอบครัว20คน

1,000.00 1,000.00 50 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานไปเยียมบ้านแต่ละครอบครัวได้จัดทำข้อมูล 110 ครอบครัว
  • ได้ข้อมูลแล้วแต่ยังไม่ได้แยกประเภท
  • จดบันทึกในฐานข้อมูลชุมชน

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมเสริมสร้างองค์ความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาi

27,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก4คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน ตัวแทนครอบครัว26คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโองการจากคัมภีร์อัลกุรอาน เกิดการปรับเปลียนพฤติกรรมของคนในชุมชนจากพฤติกรรมต่างคนต่างอยู่ไม่มีเวลาพูดคุยซึ่งกันและกันมากขึ้น เมื่อจัดกิจกรรมนี้ได้มีโอกาสพูดคุยซึ่งกันและกันมากขึ้น มีความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้นำเสนอแนวทางการเลี้ยงดูและการอบรมลูกตามหลักการพัฒนาเด็กดังนี้
  1. ด้านจัสมานียะฮ์/พัฒนาการด้านร่างกาย
  2. ด้านฟีกรียะฮ์/พัฒนาการด้านสติปัญญา ความรู้ความเข้าใจ การรับรู้ การแก้ปัญหา
  3. ด้านรูฮียะฮ์/การพัฒนาการด้านจิตวิญญาณ,จิตใจ,อารมณ์,ความรู้สึก
  4. ด้านอิชตีมาอียะฮ์/พัฒนาการด้านสังคม,การอยู๋ร่วมกันในสังคม,ความสามารถสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นและการช่วยเหลือ
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำเสนอผู้ปกครองควรปฏิบัติให้ลูกดังนี้
    • ให้ลูกละหมาดฟัรฏูวันละ 5 เวลา
    • การแต่งกายตามหลักศาสนาอิสลาม
    • การถือศิลอดในเดือนรอมาฏอน
    • การเรียนรู้คัมภีร์อัลกุรอาน
    • การปฏิบัติตนในกิจกรรมต่างตามแบบอย่างที่ท่านรอซูลได้ชี้นำ
    • การดูแลสุขภาพของตนเองและการป้องการโรคทั้งตนเองและสังคม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

  • ผู้นำสี่เสาหลัก 3 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 11 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 12 คน - สท.ต.ยี่งอ 2 คน - ผู้สูงอายุ 15 คน - วัยทำงาน 15 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 13 คน - เยาวชนจิตอาสา 10 คน - ตัวแทนครอบครัว 35 คน
9,000.00 9,000.00 100 116 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สมาชิกสภาซูรอครอบครัวได้รับการยอมรับและให้ความร่วมมือจากชุมชนมากขึ้น(ประเมินจากการสังเกตุ)
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทมัสยิดเป็นศูนย์กลางจัดตั้งสภาซูรอครอบครัว (ประเมินจากการพูดคุย)
  • ได้รับความร่วมมือกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 และแกนนำต่างๆในชุมชน (ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม)
  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโองการจากคัมภีร์อัลกุรอาน อัซซูรอ:38 ความว่าและกิจการของพวกเขามีการปรึกษาหารือระหว่างพวกเขา
  • เกิดการปรับเปลียนพฤติกรรมของคนในชุมชนจากพฤติกรรมต่างคนต่างอยู่ไม่มีเวลาพูดคุยซึ่งกันและกันมากขึ้น เมื่อจัดกิจกรรมนี้ได้มีโอกาสพูดคุยซึ่งกันและกันมากขึ้น มีความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว
  • ผู้เข้าร่วมกิจพึงพอใจกับกิจกรรมที่จัดในครั้งนี้และได้เสนอแนะให้คณะทำงานจัดในลักษณะนี้อีกในโอกาศหน้า
  • ผู้นำสี่เสาหลัก 3 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 13 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คน - สท.ต.ยี่งอ 2 คน - ผู้สูงอายุ 15 คน - วัยทำงาน 15 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 13 คน - เยาวชนจิตอาสา 10 คน - ตัวแทนครอบครัว 35 คน
9,000.00 9,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดในชุมชน
  • ได้รับข้อแนะนำจากผู้่อวุโสในการดูแลเด็กและเยาวชนในชุมชน ได้รับทราบข้อเปรียบเทียบเด็กสมัยเก่ากับเด็กปัจจุบันซึ่่งมีพฤติกรรมแตกต่างกันมาก
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่องการดูแลลูกให้ปลอดภัยจากยาเสพติด
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบว่ายาเสพติดเป็นมหันตภัยร้ายใกล้ตัว
  • ผู้นำสี่เสาหลัก 4 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 8 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คน - สท.ต.ยี่งอ 5 คน - ผู้สูงอายุ 12 คน - วัยทำงาน 15 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 10 คน - เยาวชนจิตอาสา 10 คน - ตัวแทนครอบครัว 26 คน
9,000.00 9,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ณ.ศูนย์การเรียนรู้อิสลามประจำมัสยิดยาเมร์ยี่งอจำนวน 100 คน
  • ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานในพิธีพร้อมกับกล่าวต้อนรับและให้โอวาส
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนแนวทางการดูแลลูก ได้นำเสนอวิธีการของตนเองในการดูแลลูกบางคนบอกเขาพยายามให้เวลาทุกวันอาทิตย์จะอยู่กับลูก กินเข้าวร่วมกัน ไปเยี่ยมญาติด้วยกัน บางคนบอกว่าเขาฝึกลูกให้ช่วยงานบ้านเขาคิดพ่อแม่ปัจจุบันเลี้ยงลูกแบบให้ลูกสบายเกินไปโดยไม่ต้องทำอะไรเลยพ่อแม่ช่วยทำทุกอย่างสุดท้ายลูกทำอะไรไม่เป็น บางคนบอกว่าวิธีการดูแลลูกเน้นหลักการศาสนามาให้ลูกได้ปฏิบัติเขาพาลูกไปละหมาดที่มัสยิดทุกเวลา เขาให้ลูกท่องจำอัลกุรอาน.ท่องจำบทดูอาอ์(บทขอพรต่างๆ)ยามเช้ายามเย็น เป็นต้น
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้กำหนดแนวทางการดูแลเด็กและเยาวชนให้ถูกวิธีตามทรรศนะอิสลาม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้นำเรื่องราวของท่านลุกมานเป็นบทเรียนที่อัลลอฮฺ ซุบฮานะฮุ วะ ตะอาลา ได้เปิดเผยไว้ในคัมภีร์ของพระองค์ ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการสอนลูกของท่าน สำหรับพ่อแม่ผู้ปกครองจึงมิอาจมองข้ามประเด็นเหล่านี้ไปได้เลย เนื้อหาการสอนลูกของท่านลุกมานนั้น มีประเด็นสำคัญดังต่อไปนี้

สรุปเนื้อหาคำสั่งเสีย

“โอ้ลูกเอ๋ย เจ้าอย่าได้ตั้งภาคีใดๆต่ออัลลอฮฺ เพราะแท้จริงการตั้งภาคีนั้นเป็นการอธรรมอันมหันต์ " ......

  • คำสั่งเสียที่ 1 เรื่องเตาฮีด (ยึดมั่นในอะกีดะฮฺ ไม่ทำชิริก/ยึดมั่นในหลักศรัทธาต่ออัลลอฮโดยไม่ตั้งภาคีใดๆ)

  • คำสั่งเสียที่ 2 การทำความดีต่อพ่อแม่ (คุณธรรมที่ถูกกล่าว ถัดจากการไม่ตั้งภาคีต่อพระเจ้า)“และเราได้สั่งการมนุษย์เกี่ยวกับบิดามารดาของเขา โดยมีมารดาของเขาได้อุ้มครรภ์เขาอ่อนเพลียลงครั้งแล้วครั้งเล่า และการหย่านมของเขาในระยะเวลาสองปี เจ้าจงขอบคุณข้า และบิดามารดาของเจ้า ยังข้านั้นคือการกลับคืนสู่”

  • การปฏิบัติดีที่ลูกมีต่อบิดามารดา เป็นผลของความตักวาต่ออัลลอฮฺ และเป็นผลจากการที่บ่าวรักษาการละหมาด สิ่งทั้งหมดจะเกี่ยวข้องกัน ผู้ที่ฝ่าฝืนคำสั่งของอัลลอฮฺเป็นอาจิณ และเป็นคนทิ้งละหมาดฟัรฎู จะบกพร่องในด้านคุณธรรมต่อพ่อแม่อย่างแน่นอน

  • คำสั่งเสียที่ 3 การรู้สึกถึงการเฝ้ามองของอัลลอฮฺ (ความตักวา ) “โอ้ลูกเอ๋ย แท้จริง (หากว่าความผิดนั้น) มันจะหนักเท่าเมล็ดผักสักเมล็ดหนึ่ง มันจะซ่อนอยู่ในหิน หรืออยู่ในชั้นฟ้าทั้งหลายหรืออยู่ในแผ่นดิน อัลลอฮฺก็จะทรงนำมันออกมาแท้จริง อัลลอฮฺเป็นผู้ทรงเมตตา ผู้ทรงรอบรู้ยิ่ง”
    คุณธรรมของอิสลามอันสูงส่งคือ การที่บ่าวรู้สึกได้ถึงการเฝ้ามองของอัลลอฮฺ การตระหนักว่าพระองค์รอบรู้ทุกสิ่งที่ซ่อนเร้นแม้แต่ในหัวอก ไม่มีสิ่งใดในชั้นฟ้าและแผ่นดินที่เป็นความลับต่อพระองค์ คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้บ่าวยับยั้งตนจากการทำบาปได้เสมอ

  • คำสั่งเสียที่ 4 การรักษาการละหมาดฟัรฎู ห้าเวลา (เสาหลักของศาสนา อิบาดะฮฺที่ท่านนบีกำชับอุมมะฮฺนี้ เมื่อนาทีสุดท้ายของชีวิตมาถึง และเป็นสิ่งแรกที่จะถูกสอบสวนในวันกิยามะฮฺ) “โอ้ลูกเอ๋ย เจ้าจงดำรงไว้ซึ่งการละหมาด” ละหมาดเป็นสิ่งแรกที่จะถูกสอบสวนในวันกิยามะฮฺ ละหมาดเป็นสิ่งแยกระหว่างมุสลิมกับผู้ที่มิใช่มุสลิม มันสามารถกำหนดสภาพการตกศาสนาให้กับคนบางคนได้ท่านนบี ศอลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้กล่าวว่า

  • คำสั่งเสียที่ 5 การกำชับความดี การห้ามปราบความชั่ว (ร่วมดูแลสังคม ไม่ปลีกตัวหนีปัญหา อดทนเมื่อเผชิญหน้ากับการทดสอบในสนามงานดะอฺวะฮฺ)และจงใช้กันให้กระทำความดี และจงห้ามปรามกันให้ละเว้นการทำความชั่ว และจงอดทนต่อสิ่งที่ประสบกับเจ้า แท้จริง นั่นคือส่วนหนึ่งจากงานที่หนักแน่น มั่นคง” การกำชับกันให้ธำรงไว้ซึ่งความดี และการกำชับกันให้ละทิ้งความชั่ว เป็นเอกลักษณ์และคุณสมบัติของประชาชาติที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาบนดุนยานี้ หากประชาชาตินี้ละทิ้งหน้าที่นี้เสีย พวกเขาจะถูกปลดออกจากตำแหน่งประชาชาติตัวอย่าง สิ่งที่ยังเหลืออยู่กับพวกเขาคือ การไร้เกียรติและการถูกข่มเหง

  • คำสั่งเสียที่ 6 รักษามารยาทในการปฏิสัมพันธ์กับผู้คน (ไม่หยิ่งยะโส ไม่ว่าชนชาติใดก็รังเกียจพฤติกรรมดังกล่าว) “และเจ้าอย่าหันแก้ม (ใบหน้า) ของเจ้าให้แก่ผู้คนอย่างยะโส และอย่าเดินไปตามแผ่นดินอย่างไร้มารยาท แท้จริง อัลลอฮฺ มิทรงชอบทุกผู้หยิ่งจองหอง และผู้คุยโวโอ้อวด และเจ้าจงก้าวเท้าของเจ้าพอประมาณและจงลดเสียงของเจ้าลง แท้จริง เสียงที่น่าเกลียดยิ่งคือเสียง (ร้อง) ของลา” ธรรมชาติของหัวใจมนุษย์นั้น โน้มเอียงเข้าหาความสุภาพอ่อนน้อม และไม่ตอบรับความเย่อหยิ่งจองหอง ด้วยเหตุนี้มุสลิมจึงต้องขจัดลักษณะของคนโอหังหรือคนตะกับโบรให้หมดสิ้นไม่ว่าบุคลิกในการสนทนาท่าทางการเดิน และระดับเสียงในการพูดคุย

  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้นำเสนอแนวทางการเลี้ยงดูและการอบรมลูกตามหลักการพัฒนาเด็กดังนี้ 1. ด้านจัสมานียะฮ์/พัฒนาการด้านร่างกาย 2. ด้านฟีกรียะฮ์/พัฒนาการด้านสติปัญญา ความรู้ความเข้าใจ การรับรู้ การแก้ปัญหา 3. ด้านรูฮียะฮ์/การพัฒนาการด้านจิตวิญญาณ,จิตใจ,อารมณ์,ความรู้สึก 4. ด้านอิชตีมาอียะฮ์/พัฒนาการด้านสังคม,การอยู๋ร่วมกันในสังคม,ความสามารถสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นและการช่วยเหลือ -ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำเสนอผู้ปกครองควรปฏิบัติให้ลูกดังนี้
  1. ให้ลูกละหมาดฟัรฏูวันละ 5 เวลา
  2. การแต่งกายตามหลักศาสนาอิสลาม
  3. การถือศิลอดในเดือนรอมาฏอน
  4. การเรียนรู้คัมภีร์อัลกุรอาน
  5. การปฏิบัติตนในกิจกรรมต่างตามแบบอย่างที่ท่านรอซูลได้ชี้นำ
  6. การดูแลสุขภาพของตนเองและการป้องการโรคทั้งตนเองและสังคม
  7. อย่าคิดว่าลูกผิด พ่อแม่ที่ดีจะเชื่อมั่นว่าลูกเป็นคนดี มีเจตนาดี ไม่ได้มีสิ่งใดผิดปกติ และเข้าใจว่าพฤติกรรมดื้อรั้นเกเรเป็นเพียงสิ่งที่สะท้อนออกมาจากความพยายามที่จะให้ได้สิ่งที่ตัวเองต้องการ เราจำเป็นต้องยอมรับในตัวเด็กและค่อย ๆ ให้โอกาสเขาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  8. เข้าใจมุมมองที่แตกต่างของลูก. เข้าใจว่าเด็กมองโลกต่างจากผู้ใหญ่ พวกเขาพูดคนละภาษากับเรา คุณอาจจะคิดว่าคุณกำลังให้คำแนะนำแต่เด็กอาจจะเห็นว่าคุณกำลังบ่น การแสดงความเป็นห่วงในแบบของคุณอาจจะเป็นการบังคับในสายตาของพวกเขาก็เป็นได้
  9. เคารพในความคิดของลูก. เด็กส่วนใหญ่มักเก็บเรื่องหลาย ๆ เรื่องไว้ในใจ ไม่บอกพ่อแม่ และบางครั้งก็แสดงท่าทีต่อต้านคำแนะนำและความคิดของพ่อแม่อย่างชัดเจน ถ้าคุณอยากให้ลูกพูดคุยอย่างเปิดเผย และฟังคุณ คุณต้องสร้างความเชื่อใจเสียก่อน พยายามใช้ประโยคเช่น “แม่เห็นด้วยว่า…..” “พ่อเข้าใจว่า…..” เมื่อคุยกับลูก เพื่อให้ลูกรู้สึกว่าคุณฟังเขา 10.รู้จักยืดหยุ่น. ผู้ปกครองส่วนใหญ่รู้วิธีการสื่อสารแค่หนึ่งหรือสองวิธี นั่นคือการพูดดี ๆ หรือไม่ก็ใช้น้ำเสียงข่มขู่ เมื่อทั้งสองวิธีนี้ไม่ได้ผล พวกเขาก็ไม่รู้ว่าต้องทำยังไงต่อ การจะเลี้ยงลูกให้ประสบความสำเร็จนั้น คุณต้องรู้จักผ่อนปรนและปรับเปลี่ยนวิธีรับมือให้เข้ากับสถานการณ์

กิจกรรมหลัก : ให้ความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาอิสลามi

18,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก4คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน ตัวแทนครอบครัว26คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนใช้วิธีการแลกเปลี่ยร่วมกับการให้ความรู้ให้เยาวชน นอกจากนอกได้ประประเด็นปัญหาอื่นๆของชุมชนมาร่วมกันพิจารณา ทำให้ชุมชนเกินความสัมพันธ์กักมากขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  • ผู้นำสี่เสาหลัก 3 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 13 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คน - สท.ต.ยี่งอ 2 คน - ผู้สูงอายุ 15 คน - วัยทำงาน 15 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 13 คน - เยาวชนจิตอาสา 10 คน - ตัวแทนครอบครัว 35 คน
9,000.00 9,000.00 100 104 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยน/พูดคุยประเด็นปัญหาในครอบครัวและพร้อมจะร่วมมือกับคณะทำงานโครงการครอบครัวสร้างสุขฯ
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยน/พูดคุยประเด็นแหล่งน้ำจาเราะกาแรโดยปกติแล้วน้ำจะแห้ง
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เสนอให้จัดทำฝายน้ำลน
  • ผู้ใหญ่บ้านสัญญา อาบูบาการรับเรื่องเพื่อเข้าที่ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน
  • ผู้นำสี่เสาหลัก 3 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 13 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คน - สท.ต.ยี่งอ 2 คน - ผู้สูงอายุ 15 คน - วัยทำงาน 15 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 13 คน - เยาวชนจิตอาสา 10 คน - ตัวแทนครอบครัว 35 คน
9,000.00 9,000.00 106 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ณ.ศูนย์พัฒนาสถาบันครอบครัวจำนวน 100 คน
  • ผู้ใหญ่บ้านนายสัญญา อาบูบากาเป็นประธานในพิธีพร้อมกับกล่าวต้อนรับและให้โอวาส
  • นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาดนำเสนอองค์ความรู้การดูแลเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนแนวทางการจัดตั้งสมาคมครอบครัวสร้างสุข
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำฝายน้ำล้นที่แหล่งน้ำจาเราะกาแร หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

กิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมศาสนบำบัดพร้อมปฏิบัติศาสนกิจร่วมกันและจัดกิจกรรมรณรงค์พัฒนาสิ่งสาธารณะประโยชน์i

69,000.00 60 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 10 ครั้ง จำนวน 60 - 113 คน จำนวนประกอบด้วย เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คนกลุ่มเสพ 18 คนเยาวชนทั่วไปทีสนใจ 53 คน รวม 113 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 8 คนร้อยละ 87.5 สามารถเลิกสารเสพติดได้ โดยไปบำบัดที่ จ.กระบี รอบแรก3คน รอบที่สอง 4คน
  • เด็กและเยาวชนที่เลิกสารเสพติดแล้วไม่กลับติดสารเสพติดซ้ำและสามารถกลับตัวเป็นคนดีของสังคมทำให้สังคมยอมรับ จำนวน 7คน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

-เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คน เด็กและเยาวชนที่สนใจ 45 คน

6,900.00 6,860.00 60 87 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนได้เดินรณรงค์ต้านสิ่งเสพติดทุกประเภท
  • ได้ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  • เด็ก เยาวชนได้มีความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่/คนในชุมชนมากขึ้น ได้พูดคุย ผู้ใหญ่ได้ให้กำลังใจให้ห่างไกลจากยาเสพติด
  • มีตำรวจและทหารมาช่วยดูแลความปลอดภัยในช่่วงดำเนินกิจกรรม
  • เด็ก เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจิตอาสาชุมชนมากขึ้น
  • เด็กและเยาวชนจำนวน 65 คน กลุ่มผู้เสพ 3 คน กลุ่มเสี่ยง30คน เด็กเยาวชนทั่วไป 32 คน
6,900.00 5,900.00 60 65 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ในช่วงเดือนรอมฏอมซึ่งเป็นเดือนการถือศิลอดของชาวมุสลิมคณะทำงานได้นำหลักคำสอนทางศาสนามาดำเนินกิจกรรมให้กับเยาวชน โดยมีกิจกรรมเอี๊ยะตีกาฟสิบวันสุดท้ายของเดือนรอมฏอน นอนพร้อมกันที่มัสยิด กิจกรรมให้ความรู้ กิจกรรมช่วยเหลือผู้ยากจน บริจาค ละหมาดตารอเวี๊ยะ วีตีร กียามุลลัย กิจกรรมตักเตือนซึ่งกันและกัน
  • มีเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้เสพ 3 คน กลุ่มเสี่ยง30คน เด็กเยาวชนทั่วไป 32 คน รวม  65 คน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมรักการปฏิบัติศานกิจละหมาดญามาอะห์ร่วมกัน
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำหลักการทางศาสนามาใช้ในชีวิประจำวัน
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ขัดเกลาจิตใจกับการปฏิบัติศาสนกิจ
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณธรรมและจริยธรรม ปฏิบัติตามหลักศาสนาได้ถูกต้อง

-เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คน กลุ่มเสพ 8 คนทั่วไป 10 คน  รวม 60 คน 

6,900.00 5,900.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในการทำงานเพื่อชุมชนและผลบุญที่จะได้รับ
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทำกิจกรรมเพื่อชุมชน
  • เยาวชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพได้ปรับเปลียนพฤติกรรมเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อชุมชนมากขึ้น
  • เยาวชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพได้ใช้เวลาว่างทำประโยชน์เพือชุมชน 

-เยาวชนกลุ่มเสี่ยง42 คน - กลุ่มเสพ 18 คน - เยาวชนทั่วไปทีสนใจ 53 คน รวม 113 คน

6,900.00 6,860.00 60 113 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในการต้านภัยยาเสพติด
  • ได้รับความร่วมเป็นอย่างดีกับผู้อำนวยการโรงเรียนร่มเกล้าและคณะอาจารย์
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เพื่อนๆใหม่ผ่านกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
  • เกิดการปรับเปลียนพฤติกรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยจากการสังเกตขณะดำเนินกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เกิดความรักความสามัคคี การช่วยเหลือเพื่อนๆด้วยจิตอาสา บริการและให้ความสะดวกซึ่งกันและกันพร้อมให้คำหมั่นสัญญาว่าจะอยู่ร่วมกันในการต้านภัยสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้และได้เสนอแนะให้คณะทำงานเพิ่มจำนวนวันในการจัดกิจกรรม2-3วัน เพื่อให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างเพื่อนๆให้มากกว่านี้
  • เด็กและเยาวชนชาย(กลุ่มปกติ)จำนวน 28 คน
  • เด็กและเยาวชนชาย(กลุ่มเสี่ยง)จำนวน 23 คน
  • เยาวชนหญิงจำนวน 33 คน
6,900.00 5,670.00 60 84 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับรู้ เข้าใจและเกิดอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติดตามหลักคำสอนของศาสนามาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทำกิจกรรมเพื่อสร้างอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติดตามหลักคำสอนของศาสนาร่วมกัน
  • เกิดกลุ่มเยาวชนทีมีอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติดหนึ่งกลุ่ม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยพฤติกรรมร่วมกันสร้างอุดมการณ์ต้านภัยสิ่งเสพติด โดยมีอุดมการณ์ว่าทุกสิ่งที่มึนเมานั้นเป็นบาป ซึ่งยึดหลักข้อบัญญัติที่กล่าวไว้ในคัมภีร์อัลกุรอ่านและอัลฮาดิษ
  • เด็กและเยาวชนชายกลุ่มปกติจำนวน 37 คน
  • เยาวชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 25 คน
  • เยาวชนกลุ่มเสrจำนวน 8 คน
6,900.00 6,900.00 60 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจความสำคัญการขัดเกลาจิตใจ จากการปฏิบัติศาสนกิจละมาดร่วมกัน โดยมานอนร่วมกันที่มัสยิด ทุกหลังละมาดจะมีการตักเตือนซึ่งกันและกัน และเน้นหลักศาสนา บุญ บาป และการปฏิบัติตามหลักคำสอนอิสลาม
  • ผู้เข้าร่วมเข้าใจไปปรับเปลียนพฤติกรรมทำให้จิตใจสงบ ใจเย็น สงบและมีสมาธิในช่วงการปฏิบัติศาสนกิจกียามูลัย (ละมาดช่วงดึก)
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาหลักธรรมเพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน และได้ศึกษาวิธีการอ่านคัมภีร์อัลกุรอานแบ่งกลุ่มฝึกอ่านแบบพี่สอนน้อง เกิดความรักความสามัคคีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ 35 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 29 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสพ 6 คน
6,900.00 6,900.00 60 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนต้องช่วยกันต้านภัยสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับเปลียนพฤติกรรมคุณลักษณะนิสัยการสร้างวินัยตนเองในการทำงานเป็นทีม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ปฏิบัติศาสนกิจและได้รับคำตักเตือนจากพี่ตักเตือนน้อง
  • ผู้เข้าร่วมเข้าใจไปปรับเปลียนพฤติกรรมสร้างวินัยตนเองปรับตนเองสามารถเข้ากับคนอื่นได้
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาหลักธรรมบทขอพรเพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน และได้ศึกษาวิธีการอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน เกิดความรักความสามัคคีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ 40 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 21 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสพ 9 คน
6,900.00 6,900.00 60 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ก่อนละหมาดมัฆริบกลุ่มเยาวชนเป้าหมายได้ร่วมตัวกัน ณ.มัสยิดยาเมร์ยี่งอเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดยามาอี (ละมาดร่วมกันหลายคน) ร่วมกันภายใต้หลักคิด "ติดละหมาดไม่ติดยา"
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ 30 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 30 คน
  • เด็กและเยาวชนกลุ่มเสพ 10 คน
6,900.00 6,900.00 60 74 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตนเองและชุมขช่วยกันต้านภัยสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการขัดเกลาจิตใจด้วยการปฏิบัติศาสนกิจและได้รับคำตักเตือนตามหลักการศาสนา
  • ผู้เข้าร่วมเข้าใจไปปรับเปลียนพฤติกรรม พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ทำให้จิตใจสงบ ใจเย็น สงบและมีสมาธิในช่วงการปฏิบัติศาสนกิจกียามูลัย
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาหลักธรรมเพื่อการดำเนินชีวิตประจำวัน และได้ศึกษาวิธีการอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน เกิดความรักความสามัคคีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กลุ่มเสพ 7 คน กลุ่มเสยง 33 คน กลุ่มปกติ 20 คน

10,500.00 10,500.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความรักความสามัคคี(สังเกตจากการทำงานกลุ่มมีความร่วมมือกันได้ดีมาก) ซึ่งจากสถานการณ์สมมุติที่พี่เลี้ยงทะเลาะกันเรื่องอาหารมาช้า แต่ทีมเยาวชนที่เข้าร่วมคิดไม่ถึงว่าจะเป็นเรื่องล้อเล่น คิดว่าเป็นเรื่องจริง มีการร้องไห้ และเด็กบางคนก็ลุกไปช่วยแม่ครัวเตรียมอาหารเพื่อให้เสร็จเร็วขึ้น ทำให้เด็กได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม และเกิดความสามัคคีกัน เมื่อพี่เลี้ยงในทีมเฉลยว่าคือฉากสมมุติ
  • เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีเครือข่ายร่วมต้านสิ่งเสพติดและอบายมุขทุกประเภท

กิจกรรมหลัก : ประกาศใช้ฮู่ก่มพากัต ข้อตกลงชุมชนi

9,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน ประกอบด้วย ผู้นำ4เสาหลัก4คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ10 คน สมาชิกสท.ยี่งอ10คน ตัวแทนผู้สูงอายุ10คน ตัวแทนวัยทำงาน10คน ตัวแทนกลุ่มสตรี10คน แกนนำเด็กและเยาวชนจืตอาสา10คน ตัวแทนครอบครัว26คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนร่วมกันพิจารณาและยอมรับในข้อตกลงร่วมของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้นำสี่เสาหลัก 4 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คน - สท.ต.ยี่งอ 6 คน - ผู้สูงอายุ 10 คน - วัยทำงาน 10 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 10 คน - เยาวชนจิตอาสา 10 คน - ตัวแทนครอบครัว 30 คน
9,000.00 9,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อตกลงร่วมของชุมชน (ฉบับร่าง) เพื่อเสนอให้สมาชิกในชุมชนพิจารณาและลงมติรับรองต่อไป

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมปิดโครงการi

9,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้ร่วมกิจกรรม 5000 คน ประกอบด้วย ด็กและเยาวชนจิตอาสา 150 คน ผู้นำสี่เสาหลัก 4 คนคณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คนคณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คนสท.ต.ยี่งอ 10 คนผู้สูงอายุ 10 คนวัยทำงาน 10 คน-ตัวแทนกลุ่มสตรี 10 คนตัวแทนสภาซูรอครอบครัวสร้างสุข 50 คน ประชาชนผู้สนใจทั่่วไป 4,736 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ใช้เวทีวิชาการของชุมชนสรุปผลารดำเนินงานโครงการร่วมกับการให้ความรู้จากวิทยากรนอกพื้นที่ ผลที่เกิดขึ้นกับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ได้แสดงความสามารถและศักยภาพของตนเองในรวมตัวกันจัดต้ังกลุ่ม "รวมใจเยาวชนยี่งอเป็นหนึ่ง(กอลบุล วาฮีด)" เพื่อทำประโยชน์ให้กับชุมชน เยาวชนได้รับการยอมรับมากขึ้น ส่วนผลที่เกิดกับชุมชน ชุมชนมีกลุ่มเยาวชนจิตอาสา เพิ่มจำนวนเยาวชนดี ลดจำนวนเยาวชนที่เกเรที่ก่อปัญหาต่างๆในชุมชน เพิ่มสัดส่วนของครอบครัวอบอุ่น เข้มแข็งสามารถป้องกันปัญหาสิ่งเสพติดและอื่นๆ ชุมชนยี่งอเข้มแข็งขึ้นโดยเกิดความร่วมมือในการแก้ปัญหาสังคมในทุกมิติ มีความเป็นพี่เป็นน้อง มีความรักความเอื้ออาทร มีความสามัคคีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เสียสละมุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเองและผู้อื่น/ชุมชน ผลที่เกิดกับองค์กรและหน่าย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • เด็กและเยาวชนจิตอาสา 150 คน- ผู้นำสี่เสาหลัก 4 คน - คณะกรรมการหมู่บ้าน 10 คน - คณะกรรมการมัสยิดยาเมร์ยี่งอ 10 คน - สท.ต.ยี่งอ 10 คน - ผู้สูงอายุ 10 คน - วัยทำงาน 10 คน -ตัวแทนกลุ่มสตรี 10 คน - ตัวแทนสภาซูรอครอบครัวสร้างสุข 50 คน
  • ประชาชนผู้สนใจทั่่วไป 4,736 คน (นับจากจำนวนเก้าอี้ที่เตรียมไว้/หรือมากกว่า)
9,000.00 9,000.00 2,000 5,000 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลที่เกิดกับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย

  • เยาวได้แสดงความสามารถและศักยภาพของตนเอง
  • เยาวชนได้รวมตัวกันจัดต้ังกลุ่ม "รวมใจเยาวชนยี่งอเป็นหนึ่ง(กอลบุล วาฮีด)"
  • เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทำประโยชน์ให้กับชุมชน
  • เยาวชนได้ประสบการณ์การทำงานเป็นทีม
  • เยาวชนกลุ่มนี้ได้รับการยอมรับจากชุมชนและองค์ต่างๆในอำเภอยี่งอ

ผลที่เกิดกับชุมชน

  • ชุมชนมีกลุ่มเยาวชนจิตอาสา
  • เพิ่มจำนวนเยาวชนดี ลดจำนวนเยาวชนที่เกเรที่ก่อปัญหาต่างๆในชุมชน = ชุมชนสบายใจ
  • เพิ่มสัดส่วนของคนในชุมชนที่มีความสุขในการดำรงชีวิต(ไม่กังวลกับปัญหาลูก/เยาวชน)
  • เพิ่มสัดส่วนของครอบครัวอบอุ่น เข้มแข็งสามารถป้องกันปัญหาสิ่งเสพติดและอื่นๆ
  • ชุมชนยี่งอเข้มแข็งขึ้นโดยเกิดความร่วมมือในการแก้ปัญหาสังคมในทุกมิติ
  • ชุมชนเกิดการร่วมตัวกัน มีความเป็นพี่เป็นน้อง มีความรักความเอื้ออาทร มีความสามัคคีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เสียสละมุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเองและผู้อื่น/ชุมชน ผลที่เกิดกับองค์กรและหน่ายงาน
  • มีเครือข่ายเฝ้าระวังสิ่งเสพติดและเกิดคณะทำงานอย่างเป็นระบบ
  • เกิดสภาซูรอครอบครัวเพื่อร่วมคิด ร่วมทำ เป็นภูมิคุ้มกันที่ดีและมีกลไกทางสังคมที่เข้มแข็งและยั่งยืน
  • กลไกหน่วยงานของรัฐในชุมชนมีการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
  • หลักฐานการเบิกจ่ายเก็บไว้หลายคน ทำไห้ไม่สามารถตรวจสอบได้ทัน การบันทึกรายงานในเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน
  • มีการมอบหมายให้มีผู้ทำหน้าที่บันทึกกิจกรรมผ่านเวปไซด์และผู้ที่ทำหน้าที่จัดเก็บหลักฐานการเบิกจ่ายไว้ชัดเจน

-จัดกลุ่มการหลักฐานการเบิกจ่ายเงินโครงการหมวดงบประมาณโครงการ และงบสนับสนุนดำเนินการ มอบหมายให้มีผู้รับชอบรวบรวมการจัดเก็บหลักฐานการเบิกจ่ายเงินโครงการให้ชัดเจน อาจเป็นในลักษณะหลัก รอง กรณีที่ผู้รับผิดชอบหลักไม่อยู่ผูรับผิดชอบรองสามารถนำหลักฐานการเบิกจ่ายต้องพร้อมในการตรวจสอบ ติดตาม

  • เปลี่ยนสถานที่จัดกิจกรรมจากชุมชนเป็นการจัดที่โรงแรมไม่แจ้งให้ทราบ ทำให้เกิดปัญหาด้านค่าใช้จ่ายที่ไม่เหมาะสม
  • กิจกรรมครั่งต่อๆได้จัดในชุมชนเป็นหลัก
  • แนะนำให้จัดกิจกรรมในชุมชนเป็นหลัก หลีกเลี่ยงการจัดนอกสถานที่โดยไม่จำเป็น เน้นประหยัดและชุมชนมีส่วนร่วม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

การบันทึกเวปไซด์ไม่เป็นปัจจุบัน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • ภาพรวมการติดตามพบว่า สามารถดำเนินกิจกรรมโครงการตามแผนงานที่กำหนดไว้ หลักฐานการเบิกจ่าย ครบถ้วนเหมาะสมกับกิจกรรมและเป็นปัจจุบัน แต่การบันทึกในหน้าเวป จะต้องติดตามและกระตุ้นเป็นบางครั้ง
  • ข้อพึงระวัง กรณีการเปลี่ยนแปลงสถานที่จัดกิจกรรมให้ปรึกษาพี่เลี้ยงก่อนทุกครั้ง เพื่อร่วมกันค้นหารูปแบบและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมต่อไป

สร้างรายงานโดย gentlen05