directions_run

สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ”

บ้านโต๊ะบัน หมู่ที่ 8 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางนิตินัยต์ เขาบาท

ชื่อโครงการ สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

ที่อยู่ บ้านโต๊ะบัน หมู่ที่ 8 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 57-02539 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0043

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2557 ถึง 15 พฤศจิกายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านโต๊ะบัน หมู่ที่ 8 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านโต๊ะบัน หมู่ที่ 8 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 57-02539 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 174,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 250 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนักและให้ความสำคัญต่อการทำบัญชีครัวเรือน
  2. เพื่อสร้างรายได้เสริมให้แก่สตรีที่ว่างงานภายในชุมชน
  3. เพื่อให้มีสภาผู้นำที่เข้มแข็งในการขับเคลื่อนชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
  4. ติดตามสนับสนุน จากสสส สจรส และพี่เลี้ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557

    08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน

    09.00 - 10.00 น. กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    10.00 - 11.00 น ความคาดหวัง ประสบการณ์ และแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน

    โดย คุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

    11.00 - 12.00 น. - การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา โดยคุณกำไล สมรักษ์ - การบริหารการจัดการงบประมาณ  (การเก็บหลักฐาน และเอกสารการเงิน)

    12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 - 14.00 น. การจัดทำรายงานผ่านเวบไซต์คนใต้สร้างสุข www.happynetwork.org

    โดยคุณภานุมาศ นนทพันธ์ 14.00 – 21.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ • การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ • การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม • การจัดทำรายงาน

    30 พฤศจิกายน 2557 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 12.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ (ต่อ) • การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ • การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม • การจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์และการวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ  การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม การจัดทำรายงาน

     

    2 2

    2. ประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 1

    วันที่ 12 ธันวาคม 2557 เวลา 10.00-15.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำคณะทำงานเพื่อให้ สภาผู้นำทั้ง 15 คน เข้าใจในกิจกรรมของโครงการ

    เวลา 9.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม

    เวลา 9.30 น.- 12.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมมาพร้อมเพรียงกัน นางนิตินัยต์  เขาบาท ประธานโครงการได้ชี้แจงกิจกรรมของโครงการที่ได้รับงบปรภายในวงเงิน 174,000.00 บาทซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมที่ทำทั้งหมด 3 กิจกรรม ประกอบด้วย

    1. การทำบัญชีครัวเรือน
    2. การปลูกผักปลอดสารพิษ
    3. การปลูกมะนาวนอกฤดูกาล

    เวลา 12.00 น.- 13.00 น. พักรับประธานอาหารกลางวัน

    เวลา 13.00 น.- 16.00 น. เตรียมเอกสารเพื่อประชุมเปิดโครงการในวันที่ 12 มกราคม 2558 เอกสารที่ต้องจัดเตรียม ใบลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม,ใบเสร็จรับเงิน,เตรียมความพร้อมเรื่องอาคารสถานที่ โดบมอบหมายให้คณะทำงานแบ่งความรับผิดชอบไปทำตามหน้าที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานทั้ง 15 คนมีความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรมและความรับผิดชอบตามหน้าที่ของตัวเองที่ได้รับมอบหมาย

     

    15 15

    3. ประชุมชี้แจงโครงการ

    วันที่ 12 มกราคม 2558 เวลา 14.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เวลา 13.00 น. - 13.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    • เวลา 13.30 น. - 16.00 น. เมือผู้เข้าร่วมประชุมพร้อม นายสุเชาว์รัตนตรัง ประธานสภาองค์กรชุมชนตำบลบ่อหิน ไดมีการประสานงานเชิญผู้นำในชุมชนตำบลบ่อหินได้กล่าวต้อนรับ นายเสนีณ จ่าวิสูตร ซึ่งเป็นพี่เลี้ยงของโครงการสตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้าพัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และได้เชิญผู้นำชุมชนในตำบลบ่อหินดังนี้

    1.พัฒนากรประจำตำบลบ่อหิน

    2.ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหัวหิน นางฤทัย ช่วยหนู

    3.ผู้ใหญ่บ้านบ้านโต๊ะบัน นายสมปอง บุญญา

    4.สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโต๊ะบัน นายเส็น สันหยี

    5.ประธานสภาองค์กรชุมชนตำบลบ่อหิน นายสุเชาว์ รัตนตรัง

    6.ที่ปรึกษาของโครงการ นายธรรมฤทธิ์ เขาบาท

    • นายสุเชาว์ รัตนตรัง ได้เปิดประชุมและกล่าวต้อนรับพี่เลี้ยง สจรส.สองท่าน และได้เชิญนางนิตินัยต์ เขาบาท ประธานโครงการได้ชี้แจงให้ทราบถึงความเป็นมาของโครงการ วิธีการดำเนินตามโครงการและหน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ และได้ให้ นายธรรมฤทธิ์ เขาบาท ซึ่งเป็นผู้นำโครงการเข้ามาในชุมชนบ้านโต๊ะบัน และให้พี่เลี้ยงจาก สจรส. นายเสนีณและ นางจุรีรัตน์แนะนำโครงการและวิธ่ีการเบิกจ่ายงบประมาณจาก สสส. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจถึงรายละเอียดของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจในโครงการและมีการรับสมัคร เยาวชนและสตรี จำนวน 50 ครัวเรือน เพื่อดำเนินตามกิจกรรมทั้งสามกิจกรรมดังกล่าว

     

    250 250

    4. ทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 12 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ และป้ายรณรงค์โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ป้าย เกิดป้ายรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ในชุมชน 1 ป้าย

     

    250 250

    5. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 2

    วันที่ 29 มกราคม 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมแกนนำคณะทำงานเพื่อให้ สภาผู้นำทั้ง 15 คน ร่วมกันออกแบบขั้นตอนการจัดกิจกรรมอบรมการทำบัญชีครัวเรือนในวันที่ 30 มกราคม 2558 และวันที่ 31 มกราคม 2558

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการจัดประชุม สรุปว่า

    • จัดการวางแผนในการจัดอบรมการทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 2 วัน  วางแผนในการเตรียมเอกสารฝึกอบรม วางแผนในการจัดกิจกรรม เตรียมสถานที่ เตรียมอุกรณ์เครื่องเขียน โดยการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับสภาผู้นำทั้ง 15 คน มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อการฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือนในวันที่ 30-31 มกราคม  2558 ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

     

    15 15

    6. อบรมการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 30 มกราคม 2558 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เวลา 9.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    • เวลา 9.30 น.- 12.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมมาพร้อมเพรียงกัน นางนิตินัยต์เขาบาท ประธานโครงการนางนิตินัยต์เขาบาท ประธานโครงการสตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้าพัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้กล่าวเปิดการฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือน และกล่าวถึงวัฒถุประสงค์ในการฝึกอบรมในครั้งนี้ ได้เชิญนางพิกุลสิทธิศักดิ์ ผู้เชียวชาญในเรื่องบัญชีครัวเรือนมาให้ความรู้ในการทำบัญชีครัวเรือน นำเสนอผลดีในการทำบัญชีครัวเรือน ออกแบบเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูลบัญชีครัวเรือน ลงมือปฎิบัติการบันทึกรายการทำบัญชีครัวเรือน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และจัดทำรายงานข้อมูลบัญชีครัวเรือน
    • เวลา 12.00 น.- 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
    • จากนั้นนางนิตินัยต์เขาบาท ประธานโครงการสตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้าพัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้กล่าวเปิดการฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือน และกล่าวถึงวัฒถุประสงค์ในการฝึกอบรมในครั้งนี้ ได้เชิญนางพิกุลสิทธิศักดิ์ ผู้เชียวชาญในเรื่องบัญชีครัวเรือนมาให้ความรู้ในการทำบัญชีครัวเรือน นำเสนอผลดีในการทำบัญชีครัวเรือน ออกแบบเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูลบัญชีครัวเรือน ลงมือปฎิบัติการบันทึกรายการทำบัญชีครัวเรือน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และจัดทำรายงานข้อมูลบัญชีครัวเรือน ให้ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกทดลองปฎิบัติจริงในการลงรายการ รายรับ รายจ่าย ค่าใช้จ่ายของแต่ละคนและคัดเลือกผู้นำในการแนะแนวทางการทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 10 คน เพื่อเป็นพี่เลี้ยงในการลงรายการของผู้เข้าร่วมฝึกอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนและสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง

    2.กลุ่มเป้าหมายให้ความสำคัญและตระหนักถึงข้อดีของการทำบัญชีครัว

    3.กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้การดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

     

    100 100

    7. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 3

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อขับเครื่อนการดำเนินกิจกรรมโครงการตามวัตถุประสงค์โครงการ
    1. ติดตามและประเมินผลจากการลงพื้นที่ตรวจสอบการทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิก

    2.เตรียมงานอบรมการทำน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักชีวภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ติดตามการทำบัญชีครัวเรือน ซึ่งผลปรากฏว่าสมาชิกจัดทำบัญชีไดถูกต้องสามารถรู้รายรับรายจ่ายของครัวเรือนและส่งผลถึงการประมวลภาพทั้งชุนชนในการจ่ายซื้อสินค้าของชุมชน

    2.ประสานงานเพื่อจัดกิจกรรมอบรมการทำน้ำหมักชีวภาพและปุ่ยหมักชีวภาพให้แก่สตรีและเยาวชนซึ่งได้ประสานงานไปทำกิจกรรมที่บ้านขน่ำควาย ต.นาตาล่วง อ.เมือง จ.ตรัง ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558

     

    15 15

    8. คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางโครงการคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

     

    2 2

    9. ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 1

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในการประชุมในวันนี้ทางคณะทำงานกลุ่มได้ทำการตรวจสอบบัญชีของสมาชิกที่ทำบัญชีครัวเรือนเป็นรายคน โดยได้มีการคัดเลือกอาสาสมัครที่สามารถทำบัญชีได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดการทำบัญชีครัวเรือนในชุมชนได้ จำนวน 10 คนดังนี้

    1. นางนิตินัยต์  เขาบาท
    2. นางจิตรี  รัตนตรัง
    3. นส.พนิดา  เขียวสด
    4. นางเกาะเสียะ  ปูเงิน
    5. นางวรรณา  ภักดี
    6. ดญ.พิชญ์นิตา  เขาบาท
    7. ดญ.สุพัชรินทร์  รัตนตรัง
    8. ดญ.วรรณนืศา  เขาบาท
    9. ดญ.รัตติกาล  รัตนตรัง

    10.ด.ญ.กัญจภรณ์  บุญพิศ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ตัวแทนในการถ่ายทอดบัญชีครัวเรือน จำนวน 10 คน
    2. ได้แลกเรียนรู้ผลจากการบันทึกบัญชัครัวเรือนนำมาแก้ไขปัญหา รายรับ - รายจ่าย ของครัวเรือนในเดือนต่อไป

     

    100 100

    10. อบรมทำน้ำหมักชีวภาพและทำปุ๋ยหมักชีวภาพแก่สตรีและเยาวชน

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 08:00 -17.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นายวิรัตน์ กาญจนพรม ซึ่งเป็นวิทยากรที่บ้านขนำควายได้บรรยายลักษณะทั่วไปของEM ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ สาะิตการผสมEM  สาธิตวิธีการทำปุ๋ยหมัก พร้อมบรรยายสิ่งส่วนผสมต่างๆและการนำEM และปุ๋ยหมักไปใช้กับการปลูกผักปลอดสารพิษและการปลูกมะนาวนอกฤดู และมีความรู้เพิ่มเติมในการเลี้ยงปลาในบ่อพลาสติกการเลี้ยงโรงเรือนเลี้ยงแพะ การเลี้ยงไก่เนื้อไก่ไข่ ซึ่งผู้เข้ารับฟังสามารถนำมาประยุกตืใช้กับครัวเรือนของตนเองได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายสามารถทำน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักชีวภาพได้ กลุ่มเป้าหมายนำความไปทำปุ๋ยหมักเพื่อใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษและปลูกมะนาวนอกฤดู และมีความรู้เพิ่มเติมในการเลี้ยงปลาในบ่อพลาสติกการเลี้ยงโรงเรือนเลี้ยงแพะ การเลี้ยงไก่เนื้อไก่ไข่ ซึ่งผู้เข้ารับฟังสามารถนำมาประยุกตืใช้กับครัวเรือนของตนเองได้

     

    100 100

    11. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 4

    วันที่ 12 มีนาคม 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำกิจกรรมที่ผ่านมา ซึ่งเป็นเรื่องของการทำปุ๋ยหมักโดยให้ทำการทบทวนการทำปุ๋ยหมัก และเล่าให้ฟังถึงการที่ไปทดลองทำปุ๋ยของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และได้ทบทวนการใช้ยางรถยนต์ที่ไม่ใช้แล้วนำมาปรับเป็นกระถางสำหรับปลูกพืช โดยการนำปัญหาที่เกิดขึ้นมาพูดคุยและทำความเข้าใจของสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการแลกเปลี่ยนกันถึงความเห็นในการทำกิจกรรม จากการอบรมการทำน้ำหมักและปุ๋ยหมัก ให้คณะกรรมการนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในชุมชนเพื่อเป็นตัวอย่างให้กับคนอื่น

     

    15 15

    12. จัดทำส่งรายงานงวดที่ 1

    วันที่ 21 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตรวจการเขียนรายงานในเวบไซต์
    • ตรวจใบเสร็จรับเงิน
    • ตรวจสอบรายงานงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เรียนรู้การลงหมวดค่าใช้จ่ายในเวบไซต์
    • เรียนรู้การเขียนผลที่เกิดขึ้นจริง
    • ส่งรายงานทันเวลา

     

    2 5

    13. ติดตามความก้าวหน้าในการทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 2

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่นเรียนรู้ในการบันทึกรายการ รายได้ ค่าใช้จ่าย ของแต่ละคนเกิดอาสาสมัครบัญชีครัวเรือนที่คอยให้คำปรึกษาและแนะนำการทำบัญชีครัวเรือน โดยการคัดเลือกอาสาสมัครที่มีความเข้าใจในการบัญทึกบัญชีครัวเรือนจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่สามารถให้คำแนะนำและลงรายการ รายได้ ค่าใช่จ่าย ได้ถูกต้อง ตามความเป็นจริงและสามมารถถ่ายทอดความรู้ที่มีให้บุคคลอื่นที่เข้าร่วมกิจกรรมได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจในการทำบัญชีครัวเรือนของตนเอง มีการลงรายได้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ่นในครัวเรือนได้ถูกต้อง และเริ่มมีความเข้าใจถึงความจำเป็นในการลงรายการบัญชีครัวเรือนว่า สามารถทำให้ควบคุมการใช้จ่ายเงินของครัวเรือนมีความระมัดระวังเพิ่มมากขึ้น และสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นของครัวเรือนได้

     

    100 100

    14. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 5

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ที่ประชุมได้มีการรายงานผลถึงกิจกรรมที่ทำมาทั้งหมดของโครงการ เพื่อให้โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ นำผลที่ได้จากการตืดตามผลการลงบัญชีครัวเรือนของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มาพูดคุยกันว่าทุกคนสามารถเข้าใจในการลงรายการ รายรับ รายจ่าย ของครัวเรือนได้ถูกต้อง และมีอาสาสมัครที่มีความชำนาญคอยช่วยเหลือสมาชิกที่เข้าร่วมกืจกรรมอย่างทั่วถึง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง เตรียมการในการจัดทำกิจกรรมต่อไปของโครงการ โดยจะมีการติดตามบัญชีครัวเรือนครั้งที่ 3 ในวันที่ 6 มิถุนายน ซึ่งคณะทำงานทุกคนจะต้องมีความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรมของโครงการให้บรรลุตามวัฒถุประสงค์ตามที่วางไว้

     

    15 15

    15. ติตตามความก้าวหน้าในการจัดทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 3

    วันที่ 6 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามความก้าวหน้าการทำบัญชีครัวเรือน เยาวชนและสตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้มาแลกเปลียนเรียนรู้ผลจากการทำบัญชีครัวเรือน เกิดอาสาสมัครทำบัญชีครัวเรือนที่สามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้องและสามารถให้ข้อเสนออแนะและถ่ายทอดการทำบัญชีครัวเรือนภายในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดอาสาสมัครทำบัญชีครัวเรือนที่สามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้องและสามารถให้ข้อเสนอแนะและถ่ายทอดการทำบัญชีครัวเรือนภายในชุมชน สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการมีความตื่นตัวและเข้าใจในการทำกิจกรรมกับกลุ่มเป็นอย่างดี และ ทุกคนสามารถควบคุมค่าใช่จ่ายของครัวเรือนให้บรรลุตามวัฒถุประสงค์ของโครงการ

     

    100 100

    16. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 6

    วันที่ 26 มิถุนายน 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำผลที่ได้จากการดำเนินงานมาสรุปถึงความเป็นไปได้ของโครงการและมีเป้าหมายที่ชัดเจน จัดประชุมเตรียมความพร้อมในการติดตามบัญชีครัวเรือนครั้งที่ 4 และได้นำผลจากการประชุมติดตามบัญชีครัวเรือนครั้งที่ผ่านมา ซึ่งมีผู้ที่ลงรายการผิดประเภทและไม่กล้างบางรายการที่เป็นค่าใช้จ่ายจริง ทางคณะทำงานจึงแบ่งกลุ่มกันรับผิดชอบดูแลผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างทั่วถึง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้นำแต่ละคนแบ่งกันรับผิดชอบดูแลผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยการทำเป็นแบบอย่างในการลงรายการ รายรับ รายจ่าย ที่ถูกต้องและความความเป็นจริง และแนะนำถึงการลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นในชีวิตประจำวันออกไป โดยการใช้สภาผู้นำเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

     

    15 15

    17. ติดตามความก้าวหน้าในการทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 4

    วันที่ 27 มิถุนายน 2558 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามความก้าวหน้าในการทำบัญชีครัวเรือน ติดตามความก้าวหน้าการทำบัญชีครัวเรือน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลจากการทำบัญชีครัวเรือนและมีอาสาสมัครที่สามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง โดยการแบ่งกลุ่มกันในการรับผิดชอบดูแลสมาชิกซึ่งกันและกัน ตามความสามารถของ ผู้นำแต่ละคนและจะมีอาสาสมัครจากการทำบัญชีครัวเรือน คอยดูแลแนะนำให้การลงรายได้ ค่าใช้จ่ายของแต่ละคนเป็นไปตามความเป็นจริง เพื่อสามารถนำผลสรุปที่ได้ มาปรับใช้กับการดำเนินกิจกรรมต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนซึ่งกันและกัน และมีการรวมกลุ่ม ก่อให้เกิดความสามัคคีในกลุ่ม จากการช่วยเหลือ มีน้ำใจซึ่งกันและกัน ทำให้ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถพึ่งตนเองได้ในระดับที่น่าพอใจ

     

    100 0

    18. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 7

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาผู้นำซึ่งสรุปผลจากการไปศึกษาดูงานมาเรื่องการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ หลังจากได้ไปทดลองทำปุ๋ยหมักของสามชิกที่เข้าร่วมโครงการแล้ว นำผลที่ได้จากการทำจริงมาแนะนำ ปรับปรุงและบอกเล่าถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการไปทำจริงมาบอกเล่ากัน และในเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนคณะทำงานนำผลสรุปที่ได้จากการบันทึกว่ามีความเข้าใจในการบันทึกรายการดีขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการรวบรวมข้อมูลการทำปุ๋ยและการทำบัญชี มาพูดคุยในที่ประชุมถึงความก้าวหน้าและความเข้าใจของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม ว่าเข้าใจดีขึ้น สมาชิกให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมของกลุ่มเป็นอย่างดี

     

    15 15

    19. ติดตามความก้าวหน้าการทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 5

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2558 เวลา 12:00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำรายการลงบัญชีของแต่ละคนมาสรุปเป็นรายเดือน แล้วรวม รายได้ ค่าใช้จ่าย ตามรายการที่ตั้งไว้ นำผลรวมของรายได้มาประเมินกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นของแต่ละคน โดยที่สภาผู้นำเป็นพี่เลี้ยงคอยดูรายการที่ลงในแต่คนและคอยแนะนำค่าใช้จ่ายบางรายการที่ไม่จำเป็นมาปรับลดลง เพื่อให้ค่าใช้จ่ายในเดือนต่อไปลดลงทำให้มีรายได้ที่เพียงพอในการดำรงชีพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนซึ่งกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการลงรายการและการควบคุมค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นออก ได้แก่ เสื้อผ้า ผักตลาด ปุ๋ยบำรุงต้นไม้ โดยจะค่อย ๆ ลดไปเรื่อย ๆ

     

    100 100

    20. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 8

    วันที่ 7 สิงหาคม 2558 เวลา 13.00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสภาผู้นำ สรุปการทำกิจกรรมที่ได้ทำมาทั้งหมดของโครงการมาสรุปว่าเป็นไปตามวัฒถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ โดยการรวบรวมความคิดเห็นสมาชิกที่ทำกิจกรรมแต่ละครั้งมาสรุปผล ในเรื่อง
    • บัญชีครัวเรือน
    • การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • การปลูกผักปลอดสารพิษ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดกลุ่มสภาผู้นำที่เข้มแข็ง มีความสามัคคี จากการทำกิจกรรมร่วมกันของคณะทำงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบของแต่ละคนให้งานที่ทำสำเร็จ ทำให้โครงการที่ทำบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ คือ เกิดการทำบัญชีครัวเรือน และนำข้อมูลจากบัญชีครัวเรือนมาประยุกต์ใช้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

     

    15 15

    21. ติดตามความก้าวหน้าการทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 6

    วันที่ 14 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสมาชิกบัญชีครัวเรือนบ้านโต๊ะบัน ติดตามความก้าวหน้าการทำบัญชีครัวเรือน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำบัญชีร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนและสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง กลุ่มเป้าหมายให้ความสำคัญและตระหนักถึงข้อดีของการทำบัญชีครัวเรือน นำผลจากการรวมบัญชี รายรับ รายจ่าย ของครัวเรือนมาสรุปและลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นของครัวเรือนออกไป เพื่อให้ค่าใช้จ่ายของแต่ละครัวเรือนเพียงพอต่อการดำรงชีพ ไม่เป็นหนี้สินและสามารถปรับสภาพครัวเรือนของตนเองให้ดำเนินต่อไปได้

     

    100 100

    22. ศึกษาดูงานเรื่องเศรษกิจพอเพียง การปลูกมะนาวนนอกฤดูกาล และ การปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 30 สิงหาคม 2558 เวลา 07:00 -18.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กลุ่มสตรีเดินทางไปศึกษาดูงานเรียนรู้การดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ณ เทศบาลตำบลปาดังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา ซึ่งได้มีการปลูกมะนาวนอกฤดูกาล มีวิทยากรคอยให้ความรู้ตลอดการดูงาน กลุ่มสตรีที่ไปร่วมดูงาน มีความสนใจและตั้งใจว่าจะกลับมาทำที่บ้านตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษและการปลูกมะนาวนอกฤดูกาล ได้เรียนรู้ศึกษาจากวิทยากร และได้เห็นการปลูกมะนาวในท่อซิเมนต์ วิทยากรได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการให้น้ำ การควบคุมปุ๋ยในการปลูก กรรมวิธีการผสมปุ๋ยตลอดจนการบังคับออกผลในช่วงที่มะนาวขาดตลาด ตลอดจนได้เรียนรู้การปลูกดอกดาวเรืองซึ่งเป็นไม้ดอกที่ทำรายได้ให้กับชุมชนอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถส่งขายทำรายได้ให้กับครัวเรือนที่ต้องการอาชีพเสริม

     

    50 50

    23. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 9

    วันที่ 4 กันยายน 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการว่าได้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยสภาผู้นำเสนอความคิดเห็นของแต่ละคนแล้วนำผลรวมมาสรุปเพื่อให้การดำเนินกิจกรรมบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยการคัดเลือกครัวเรือนตัวอย่างที่สามารถลดค่าใช้จ่ายจากการทำกิจกรรมกับกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางสภาผู้นำเตรียมแผนงานที่จะประชุมติดตามผลในการทำบัญชีครัวเรือนในวันที่ 5 กันยายน เพื่อให้การติดตามผลการทำบัญชีครัวเรือนบรรลุตามวัฒถุประสงค์ที่วางไว้

     

    15 15

    24. ติดตามความก้าวหน้าการทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 7

    วันที่ 5 กันยายน 2558 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนซึ่งกันและกันกลุ่มเป้าหมายให้ความสำคัญและตระหนักถึงข้อดีของการทำบัญชีครัวเรือน นำผลจากการรวมบัญชี รายรับ รายจ่าย ของครัวเรือนมาสรุปและลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นของครัวเรือนออกไป เพื่อให้ค่าใช้จ่ายของแต่ละครัวเรือนเพียงพอต่อการดำรงชีพ ไม่เป็นหนี้สินและสามารถปรับสภาพครัวเรือนของตนเองให้ดำเนินต่อไปได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายที่ทำบัญชีครัวเรือนสามารถรับรู้ค่าใช้จ่ายในการดำเนินชีวิตของครัวเรือนตนเองได้ โดยคำนวณจากบันทึกครัวเรือนที่ผ่านมา ทุกครัวเรือนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จากการมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิต และสามารถดำเนินตามกิจกรรมให้บรรลุตามวัฒถุประสงค์ของโครงการได้

     

    100 100

    25. ประชุม แนวทางการหักภาษี ณ ที่จ่าย

    วันที่ 11 กันยายน 2558 เวลา 09:00-15.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเรื่องแนวทางการหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ ห้อง 201 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความรู้จากการเข้าร่วมประชุม ถึงเรื่องการหักภาษี ณ ที่จ่าย ในการรับทุน และกระทำการแทน สสส. ทุกรายการที่มีค่าใช้จ่ายเกิน 1,000 บาท ต้องหักภาษี 1 เปอร์เซ็นต์

     

    1 1

    26. ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและมะนาวนอกฤดูกาล ครั้งที่ 1

    วันที่ 18 กันยายน 2558 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการทบทวนวิธีการปลูกมะนาวนอกฤดู จากการไปศึกษาดูงานมาและนำมาเล่าประสบการณ์ที่ได้ไปเรียนรู้มา และหลังจากไดลงมือปฏิบัติจริงแล้ว ว่าผลของการเริ่มต้นปลูก การผสมปุ๋ยที่ใช้ในการปลูก การดูแลรักษา การให้น้ำ ว่าเป็นไปตามที่ไปเรียนรู้มาและได้นำมาทดลองกระทำจริงในชุมชน ซึ่งทุกคนเรียนรู้จากการทดลองทำจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลังจากได้ทดลองทำจริง ได้นำปัญหาที่เกิดขึ้น มารวบรวมและตั้งข้อสังเกต ว่ามีการปรับใช้การทำงานกันอย่างไร จากการนำข้อมูลทั้งหมดมาปรับใช้ในชุมชน เพื่อช่วยการสร้างอาชีพเสริม และสร้างรายได้ให้กับชุมชน

     

    50 50

    27. ติดตามความก้าวหน้าบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 8

    วันที่ 19 กันยายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการทำบัญชีครัวเรือนที่ผ่านมาทั้งหมดนำข้อมูลที่ได้ มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของแต่ละครอบครัวโดยการใช้ผลจากการบันทึกบัญชีครัวเรือนที่ผ่านมา เป็นภูมิคุ้มกันให้ดำเนินชีวิตอย่างมีระบบ มีการแสดงตัวอย่างครัวเรือนที่สามารถลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยจากการลงมือปฎิบัติตามโครงการทุกขั้นตอน อย่างเป็นระบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครที่จัดทำบัญชีครัวเรือนมีความเชี่ยวชาญ สามารถขยายครัวเรือนที่สนใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือนให้เพิ่มมากขึ้นและทุดครัวเรือนในชุมชนที่สนใจ และนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้กับครอบครัวของตนเอง

     

    100 100

    28. ติดตามและแลกเปลี่ยนรียนรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและมะนาวนอกฤดูกาล ครั้งที่ 2

    วันที่ 2 ตุลาคม 2558 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ทุกคนเล่าถึงประสบการที่ได้ไปศึกษาดูงานมา และได้ไปทดลองลงมือปฎิบัติจริง มาเล่าให้ฟัง ว่าหลังจากได้ทำแล้ว มีข้อดี ข้อเสีย จากการลงมือทำอย่างไรบ้าง เพื่อให้ทุกคนที่เข้าร่วมได้รับทราบปัญหาที่สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น การมีโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นของการปลูกมะนาว ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงจากการไปทดลองปลูก เพื่อให้การลงทุนปลูกในขั้นตอนต่อไป ลดความเสี่ยงลง เนื่องจากได้มีการทดลองทำมาก่อนแล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นของการปลูกมะนาว และนำมาแลกเปลี่ยนพูดคุยกัน ทำให้สามารถลดความเสี่ยงลงได้ อีกอย่างที่ได้ไปดูการปลูกดอกดาวเรือง ซึ่งเป็นการสร้างอาชีพเสริมให้ชุมชน มีสามชิกในกลุ่มให้ความสนใจ และนำไปทดลองปลูกซึ่งต่อไปคาดว่าจะเป็นรายได้เสริมอีกอย่างหนึ่งของชุมชน

     

    50 50

    29. ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 10

    วันที่ 15 ตุลาคม 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมงานการติดตามการปลูกมะนาวนอกฤดูกาลครั้งที่ 3 ในวันที่ 16 ตุลาคม ซึ่งเป็นการสรุปผลที่ได้จากการไปศึกษาดูงานมาและการทดลองปลูกจริงในพื้นที่ ให้สามชิกแต่ละคนเล่าถึงการไปทดลองทำมาว่ามีข้อดี ข้อเสีย ในการทดลองปลูกมะนาวอย่างไรบ้าง เล่าประสพการณ์จริงที่เกิดขึ้น และนำผลมาสรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานทุกคนเข้าใจในการทำให้บรรลุตามวัฒถุประสงค์ของโครงการ และทุกคนช่วยกันหาวิธีการเพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของสตรีในชุมชน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

     

    15 15

    30. ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและมะนาวนอกฤดูกาล ครั้งที่ 3

    วันที่ 16 ตุลาคม 2558 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเป้าหมายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มและได้แนวทางการพัฒนาเกษตรของตนเอง สมาชิกที่ได้ไปศึกษาดูงานจากสถานที่จริง และได้กลับมาดำเนินการทดลองปลูกมะนาวนอกฤดูกาล มารับฟังปัญหาและบอกกล่าวถึงผลที่เกิดขึ้น จากการทดลองปลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกช่วยกันเรียบเรียงวิธีการปลูกมะนาวนอกฤดูในชุมชน ที่เหมาะกับสภาพดินฟ้าอากาศชองชุมชน กลับจากที่ได้ไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ และ นำมาทดลองปลูกในพื้นที่แล้ว นำมาเขียน เรียบเรียงเป็นขั้นตอนและช่วงฤดูที่จะทำการปลูกให้เหมาะกับชุมชน เพื่อเป็นหลักสูตรให้บุคลที่สนใจในชุมชนได้เรียนรู้และสามารถนำสิ่งที่ตัวเองไปเรียนรู้มาถ่ายทอดให้กับคนในชุมชนที่สนใจ เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของครอบครัวให้ดีขึ้น

     

    50 50

    31. สานเสวนาทำปัญชีครัวเรือนแก้ปัญหาความยากจนและจำหน่าย นำเสนอและจำหน่ายผลผลิตจากการปลกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 30 ตุลาคม 2558 เวลา 08:00- 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำผลทั้งหมดของการทำกิจกรรม มาสรุปผลที่ได้ว่าในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ทำให้มีผลดีเกิดขึ้นกับชุมชนอย่างไรบ้าง โดยสรุปข้อมูลทั้งหมดจากการทำกิจกรรมตามโครงการที่ผ่านมาทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินกิจกรรมของโครงการที่ผ่านมาทั้งหมด สรุปผลของโครงการได้ตามลำดับ ดังนี้

    1.เยาวชนในชุมชน จำนวน 50 คนและกลุ่มสตรีจำนวน 50 คนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถบัญทึกบัญชีครัวเรือนได้ตามแบบกำหนดได้ถูกต้องทั้งหมด และได้นำผลจากการทำบัญชีครัวเรือนมาปรับใช้จำนวน 70 คน

    2.มีอาสาสมัครที่สามารถถ่ายทอดความรู้ในการทำบัญชีครัวเรือนให้กับผู้ที่สนใจทั้งในชุมชนและบุคคลภายนอกได้จำนวน 10 คน
    3.เกิดกลุ่มอาชีพการปลูกมะนาวนอกฤดูขึ้นมาภายในชุมชน และมีผู้ที่ทำจริงในชุมชน จำนวน 5 ราย
    4.เกิดกลุ่มอาชีพการปลูกผักปลอดสารพิษ มีผู้ที่ปลูกผักปลอดสารพิษได้ผลผลิตในชุมชนเพิ่มขึ้นจำนวน 10 ราย

     

    250 250

    32. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการเพื่อทำการปิดโครงการกับ เจ้าหน้าที่ สจรส และพี่เลี้ยงตรวจเช็ครายงานเพื่อทำการส่งรายงานไปยัง สสส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางโครงการสามารถจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการประกอบด้วย ง.1 งวด2 ส.3 รายงานการเงิน ง 2 เอกสารสรุปปิด โครงการส4 และนำส่งแก่เจ้าหน้าที่ สจรส เพื่อตรวจเช็คต่อไป

     

    2 4

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างความตระหนักและให้ความสำคัญต่อการทำบัญชีครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.1 เยาวชนและสตรีร้อยละ 50 ที่ทำบัญชีครัวเรือนสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง 1.2 เกิดอาสาสมัครบัญชีครัวเรือนที่คอยให้คำปรึกษาและแนะนำการทำบัญชีครัวเรือน อย่างน้อย 10 คน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1.3 เด็กและเยาวชนรู้และตระหนักถึงภาระค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือน 1.4 สตรีในครัวเรือนตัวอย่างสามารถรู้จัการทำบัญชีครัวเรือนและควบคุมการใช้จ่ายได้
    1. เยาวชนจำนวน 50 คนและสตรีจำนวน 50 คน สามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง
    2. เกิดอาสาสมัครในการทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 10 คน
    3. เยาวชนในชุมชนจำนวน 50 คน รู้และตระหนักถึงภาระค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือน
    4. สตรีในชุมชนจำนวน 50 คน สามารถเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนและควบคุมค่าใช่จ่ายของครัวเรือนได้
    2 เพื่อสร้างรายได้เสริมให้แก่สตรีที่ว่างงานภายในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - สตรีกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 50 มีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว - เกิดกลุ่มอาชีพอย่างน้อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ปลุกมะนาวนอกฤดูกาลและกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - กลุ่มเป้าหมายสามารถมีรายได้เลี้ยงตนเองได้ - ครัวเรือนตัวอย่างเป็นต้นแบบให้คนในชุมชนเกิดการเรียนรู้ พึ่งพาตนเองได้
    • สตรีในชุมชนจำนวน 50 คนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีรายได้เสริม
    • เกิดกลุ่มอาชีพใหม่ภายในชุมชน 2 กลุ่มคือกลุ่มปลูกผักและกลุ่มปลูกมะนาว
    • กลุ่มเป้้าหมาย สามารถเลี้ยงตนเองได้ จำนวน 50 ครัวเรือน
    • มีครัวเรือนตัวอย่่างเป็นต้นแบบของชุมชนจำนวน 10 ครัวเรือน
    3 เพื่อให้มีสภาผู้นำที่เข้มแข็งในการขับเคลื่อนชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - มีการประชุมสภาผู้นำซึ่งเป็นคณะทำงานโครงการเดือนละ 1ครั้ง ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - สภาผู้นำเป็นกลไกขับเคลื่อนการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
    • คณะทำงานสภาผู้นำ มีความเข้าใจในกิจกรรมทองกลุ่มทุกขั้นตอน
    • คณะทำงานสภาผู้นำเป็นแบบอย่างให้กับคนในชุมชนได้
    4 ติดตามสนับสนุน จากสสส สจรส และพี่เลี้ยง
    ตัวชี้วัด : 1. จัดส่งรายงานประจำงวดภายในเวลาที่กำหนด 2. จัดทำป้ายปลอดบุหรี่ และมีภาพถ่ายทุกกิจกรรมตลอดโครงการ 3. เข้าร่วมการประชุมกับสจรส.ม.อ.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
    • การส่งรายงานงวดของกลุ่ม ส่งตามวันและเวลาที่ สสส.กำหนด
    • มีป้ายปลอดบุหรี่ตลอดในการทำกิจกรรมโครงการ
    • ให้ความร่วมมือในกิจกรรมเข้าร่วมประชุมกับ สจรส.มอ.ทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและให้ความสำคัญต่อการทำบัญชีครัวเรือน (2) เพื่อสร้างรายได้เสริมให้แก่สตรีที่ว่างงานภายในชุมชน (3) เพื่อให้มีสภาผู้นำที่เข้มแข็งในการขับเคลื่อนชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง (4) ติดตามสนับสนุน จากสสส สจรส และพี่เลี้ยง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

    รหัสโครงการ 57-02539 รหัสสัญญา 58-00-0043 ระยะเวลาโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ความรู้ในการปลูกมะนาวนอกฤดูกาล

    บันทึกการไปศึกษาดูงาน/รายงานผลการดำเนินงาน

    ทำจริงสร้างกลุ่ม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การใช้เด็กในโรงเรียนช่วยในการจัดเก็บข้อมูล

    รายงานผลการดำเนินงาน

    ขยายผลอย่างต่อเนื่อง ใหเด็กเป้นผู้สอบถามและบันทึกรายวันเพื่อสร้างการเรียนรู้และตระหนักในการใช้จ่ายของครัวเรือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานและโรงเรียนในชุมชน ในการจัดประชุมเปิดโครงการ/การให้ความรู้เด็กโดยเฉพาะรดับประถมตอนปลายในการทำบญชีครัวเรือน

    รายงานผลการดำเนินงาน

    ขยายความร่วมมือไปสู่การร่วมกันแก้ไขปัญหาชุมชนในประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    มีวงวิเคราะห์ต่อเนื่องจากการทำบัญชีครัวเรือน

    รายงานผลการดำเนินงาน

    ขยายไปสู่การทำแผนครัวเรือนและแผนชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    แกนนำในการขับเคลื่อนงานคือแกนนำของกลุ่มสตรีบ้านโต๊ะบัน

    รายงานผลการดำเนินงาน/กลุ่มสตรีบ้านโต๊ะบัน

    ขยายการมีส่วนร่วมไปสู่กลุ่มองค์กรภาคีอื่นๆในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีทักษะในการพัฒนาโครงการ การจัดทำข้อมูลสุขภาวะ การวิเคราะห์ การจัดลำดับความสำคัญดของปัญหา การเขียนโครงการ การบริหารจัดการโครงการ

    โครงการสตรีโต๊ะบันก้าวหน้าฯ

    ใช้ในการจัดการประเด็ปัญหาอื่นในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ทีมสมาชิกสตรีบ้านโต๊ะบัน มีความภูิใจในการที่มความสามารถจัดทำโครงการ บริหารจัดการโครงการ

    กลุ่มสตรีบ้านโต๊ะบัน

    ขยายสู่การดำเนนการในประเด็นอื่นของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    สตรีบ้านโต๊ะบันก้าวหน้า พัฒนาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 57-02539

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิตินัยต์ เขาบาท )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด