แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ บ้านห้วยใหญ่ วิถีชุมชนพอเพียง ”

บ้านห้วยใหญ่ ม.8 ต.ช่องไม้แก้ว อ.ทุ่่งตะโก

หัวหน้าโครงการ
นาง ดอกอ้อ ลาหนองแคน

ชื่อโครงการ บ้านห้วยใหญ่ วิถีชุมชนพอเพียง

ที่อยู่ บ้านห้วยใหญ่ ม.8 ต.ช่องไม้แก้ว อ.ทุ่่งตะโก จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 57-02556 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0096

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2557 ถึง 15 พฤศจิกายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"บ้านห้วยใหญ่ วิถีชุมชนพอเพียง จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านห้วยใหญ่ ม.8 ต.ช่องไม้แก้ว อ.ทุ่่งตะโก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านห้วยใหญ่ วิถีชุมชนพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านห้วยใหญ่ วิถีชุมชนพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านห้วยใหญ่ ม.8 ต.ช่องไม้แก้ว อ.ทุ่่งตะโก รหัสโครงการ 57-02556 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 112,700.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 120 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดหนี้สินของประชาชน
  2. เพื่อให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. รับฟังการปฐมนิเทศ ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานของโครงการ

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ การประชุมปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 2557 รอบ 2 วันที่ 29 - 30 พฤศจิกายน 2557 ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) ชั้น 14 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ (LRC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เงื่อนไข 1. ผู้เข้าร่วม ผู้รับผิดชอบโครงการๆ ละ 2 คน (หนึ่งในสองต้องมีคนใช้งานคอมพิวเตอร์ได้) 2. ให้นำสัญญาการดำเนินงานโครงการ จาก สสส. มาด้วย 3. ให้นำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค 4. ค่าเดินทาง ค่าที่พัก เบิกจากงบประมาณโครงการ หมายเหตุ ที่พัก ผู้รับผิดชอบโครงการจองเองได้ แต่หากไม่สะดวกจะให้ทาง สจรส.จองให้ควรแจ้ง “ชื่อ-เบอร์โทรศัพท์” มาที่ สจรส. มอ. ภายในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.00 น. กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10.00 - 11.00 น        ความคาดหวัง ประสบการณ์ และแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดย คุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 11.00 - 12.00 น. - การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา โดยคุณกำไล สมรักษ์ - การบริหารการจัดการงบประมาณ  (การเก็บหลักฐาน และเอกสารการเงิน) โดยคุณสมบูรณ์ ขวัญสง และคุณจุรีย์ หนูผุด - การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน โดยคุณกัญนภัส จันทร์ทอง 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 น. การจัดทำรายงานผ่านเวบไซต์คนใต้สร้างสุข www.happynetwork.org โดยคุณภานุมาศ นนทพันธ์ 14.00 – 21.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ • การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ • การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม • การจัดทำรายงาน

    30 พฤศจิกายน 2557 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 12.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ (ต่อ) • การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ • การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม • การจัดทำรายงาน 13.00 - 15.00 น. ประชุมพี่เลี้ยงร่วมกับ สสส. เพื่อการพัฒนาระบบการติดตามประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีความรู้ ความเข้าเรื่องกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้
    • มีความรู้ ความเข้าเรื่องแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน
    • มีความรู้ ความเข้าเรื่องการบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา
    • มีความรู้ ความเข้าเรื่องการบริหารการจัดการงบประมาณ  (การเก็บหลักฐาน และเอกสารการเงิน)
    • มีความรู้เรื่องการทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน
    • ฝึกปฏิบัติการจัดทำรายงานผ่านเวบไซต์คนใต้สร้างสุข www.happynetwork.org • การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ • การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม • การจัดทำรายงาน

     

    3 3

    2. ประชุมคณะกรรมการและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 2 ธันวาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน  ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้นัดประชุมคณะกรรมการ  เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ  งบประมาณ  และมอบหมาย  แบ่งงานกันทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการรับทราบและมีความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับรายละเอียดการดำเนิน  และได้ร่วมกันวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน  โดยได้เตรียมการจัดกิจกรรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนซึ่งเป็นกิจกรรมต่อจากนี้ ซึ่งตกลงร่วมกันที่จะขอสนับสนุนบัญชีครัวเรือนจาก  ธกส.ทุ่งตะโก จำนวน 120 เล่ม  แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ  การเตรียมสถานที่  การเตรียมอาหาร

     

    15 15

    3. จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 3 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่ ที่ร้านแอ๊ดช่างศิลป์ จำนวน1แผ่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่จำนวน 1 แผ่น สำหรับติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม

     

    5 5

    4. ประชุมชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ของโครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 6 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ของโครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อ ลาหนองแคน ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงที่มา วัตถุประสงค์ งบประมาณ กิจกรรมที่ต้องดำเนินการพร้อมแผนการดำเนินงาน ให้สมาชิกทราบ  รับสมัครสมาชิกได้จำนวน 120 คน

     

    120 120

    5. ประชุมวางแผนงานการสำรวจข้อมูลและการจัดทำผังข้อมูล

    วันที่ 8 มกราคม 2558 เวลา 10.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ  นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน ดำเนินการ

    • สรุปผลการดำเนินกิจกรรมวันที่ 6 มกราคม 2558 การชี้แจงโครงการและรับสมัครสมาชิก
    • ชี้แจงกิจกรรมการสำรวจข้อมูล แผนจัดทำผังข้อมูลให้แก่คณะกรรมการได้รับทราบ  พร้อมปรึกษาหารือแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลสรุปจากการประชุมชี้แจงโครงการและรับสมัครสมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อวันที่ 6 มกราคม ได้สมาชิกทั้งหมด 120 ครัวเรือน ครบตามจำนวนเป้าหมายที่ได้วางไว้
    • มีแผนในการเก็บข้อมูล รายรับ รายจ่าย และปัญหาหนี้สินของสมาชิกทั้ง 120 ครัวเรือน โดยขอรับสมัครอาสาสมัครเพื่อการจัดเก็บข้อมูล จำนวน 30 คน เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลรวดเร็ว ทันต่อเวลา

     

    15 15

    6. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจแบบสำรวจข้อมูล และลงพื้นที่เก็บข้อมูล

    วันที่ 17 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงรายละเอียดตามแบบสอบถามของกระทรวงมหาดไทย  มีการซักถามข้อสงสัย  และชี้แจงทำความเข้าใจอย่างครบถ้วน และอาสาสมัครลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลวันที่ 18 ม.ค. 58

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำการสำรวจข้อมูลครัวเรือนมีความรู้และเข้าใจในแบบสอบถาม สามารถออกสำรวจข้อมูลได้ในวันที่ 18 ม.ค. 58

     

    30 30

    7. ให้ความรู้เชิงปฎิบัติการตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายสัมพันธ์  คนดี ซึ่งเป็นวิทยากรจาก ธนาคารธกส.สาขาทุ่งตะโกได้ให้แนวคิดเรื่องปรัชญาเศรษฐกิตพอเพียง  การดำเนินชีวิต ตามหลัก พอกิน พอเพียง พอใช้ พอประมาณ  โดยเดินตามรอยพ่อ    โดยเน้นให้ประชาชนสามารถนำความรู้ แนวคิดที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม  จากการซักถามประชาชนสามารถตอบข้อซักถามได้อย่างถูกต้อง

     

    121 121

    8. ประชุมเตรียมความพร้อมในการบันทึกฐานข้อมูล

    วันที่ 5 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้การสรุป  รวบรวม  วิเคราะห์  และการบันทึกข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ความรู้ในการรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจ ข้อมูลที่ได้ต้องเป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ก่อนการบันทึก  เพื่อได้ซึ่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

     

    15 15

    9. วิเคราะห์และจัดทำฐานข้อมูลโดยการบันทึก

    วันที่ 7 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมกันรวบรวม สรุปพร้อมวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสอบถามวิเคราะห์และจัดทำฐานข้อมูล ทำความเข้าใจการวิเคราะห์ข้อมูลและการจัดทำฐานข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการสำรวจ ข้อมูลทั่วไป มีครัวเรือนจากการสำรวจ 176 หลังคาเรือน  แบ่งเป็น ชาย 298  คน หญิง 311 คน การศึกษาระดับประถมศึกษา 379  คน คิดเป็นร้อยละ 62.25 มัธยมศึกษา218 คน คิดเป็นร้อยละ  35.79 ปริญญาตรี 10 คน คิดเป็นร้อยละ 1.64 สูงกว่าปริญญาตรี 2 คน คิดเป็นร้อยละ0.32  อาขีพส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม 541 คน คิดเป็นร้อยละ88.83  รองลงมาอาชีพรับจ้างทั่วไป68  คิดเป็นร้อยละ 11.17  หนี้สินเฉลี่ยครัวเรือนละ 53,355 บาท  รายรับ 236,430 บาท รายจ่าย 316,700 บาท

     

    33 33

    10. ให้ความรู้เชิงปฎิบัติในการทำบัญชีครัวเรือนและปฎิบัติการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 6 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่จาก ธกส.ทุ่งตะโก  ให้ความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วิทยากรจาก ธกส.ทุ่งตะโกให้ความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือนและฝึกปฏิบัติจริงสมาชิกโครงการ 120 ครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือนการบันทึกบัญชีครัวเรือนบันทึกทุกช่อง ตามความเป็นจริงว่า “รับเงิน” หรือ “จ่ายเงิน” ซึ่งแบ่งเป็น รายจ่ายประจำเช่นค่ากับข้าวบันทึกรวมๆ กันเดือนละครั้งเดียวก็ได้ทุกสิ้นเดือนให้รวมช่องรายรับ ช่องรายจ่าย แล้วมาหักลบกันนําตัวเลขที่ได้แต่ละเดือนไปสรุปไว้ด้านหน้า แยกเป็นรายเดือนโดยแยกรายรับ และรายจ่าย ออกคนละช่อง ในช่องหมายเหตุควรลงผลต่างไว้ • ข้อสาคัญต้องแยกให้ได้ว่ารายการใดคือการ “รับเงิน” หรือการ “จ่ายเงิน” • เมื่อเกิดรายการขึ้น ขอให้บันทกรายการดังกล่าวลงในบัญชีตามความเป็นจริง ว่า “รับเงิน”หรือ “จ่ายเงิน” • พิจารณาอย่างถ่องแท้ดวู่า รายจ่าย ใด “จำเป็น” หรือ “ฟุ่มเฟือย” • นํารายจ่าย “ฟุ่มเฟือย” ไปสู่กิจกรรม “ลด ละ เลิก” ในครอบครัว เพ่ื่อให้สมาชิกทุกคนในครอบครัว ทำให้สามารถรู้รายได้ รู้รายจ่าย รู้กำไร รู้ขาดทุน - มีนิสัยการใช้จ่ายเฉพาะที่จำเปํ็นและเป็นประโยชน์รู้จักเก็บออมเงินไว้ใช้จ่ายในอนาคตได้อย่างมประสิทธิภาพ หลักในการทำบัญชีครัวเรือน แยกให้ได้ว่า อะไรเป็น รายรับ อะไรเป็น รายจ่าย

     

    121 125

    11. ประชุมคณะกรรมการทำงาน วางแผนงานเรื่องการเรียนหลักเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 24 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบและผู้ใหญ่บ้าน ปรึกษาหารือคณะกรรมการ เรื่องกิจกรรมเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมปรึกษาหารือการดำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง  โดยขอความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ได้แก่  เกษตรอำเภอทุ่งตะโก  ปราชญ์ชาวบ้านที่มีในท้องถิ่น หรือพื้นที่ใกล้เคียง

     

    15 15

    12. ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมในการวางแผนงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 เวลา 11.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เชิญประชุมคณะกรรมการที่ศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน  เพื่อหารือเรื่องการเตรียมความพร้อมในการวางแผนงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีการวางแผนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

     

    15 15

    13. ส่งเสริมการเรียนรู้การปลูกข้าวไร่

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2558 เวลา 08.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน  ได้รวบรวมประชาชนที่สนใจกิจกรรมมาทำกิจกรรมปลูกข้าวไร่เพื่อบริโภคในครัวเรือน  และวางแผนกิจกรรมในพื้นที่ ม.8 บ้านห้วยใหญ่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน ชี้แจงรายละเอียดของวัตถุประสงค์ ค่าใช้จ่ายของกิจกรรม  ให้แก่ผู้เข้าร่วมทราบ  โดยให้นายไพบูลย์  ลาหนองแคน  ปราชญ์ชาวบ้านมาสอนเรื่องการปลูกข้าวไร่ ซึ่งมีข้อคิดดีๆของการปลูกข้าวเพื่อการบริโภคเองในครัวเรือน  รวมถึงการอนุรักษ์และประเพณีวัฒนธรรมของการทำข้าวไร่ ไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษา

     

    30 50

    14. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนงานและติดตามโครงการ

    วันที่ 1 มิถุนายน 2558 เวลา 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรม สรุปบัญชีครัวเรือน และหาวิธีการแก้ไขปัญหา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายไพฑูรย์  ลิสวัสดิ์  ผู้ใหญ่บ้าน  เปิดการประชุม  โดยสอบถามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ  ปัญหาอุปสรรคในการทำงาน  และร่วมกันคิดหาแนวทางแก้ไขปัญหา ลดภาระหนี้สิน

     

    15 15

    15. ส่งเสริมการรวมกลุ่มการทำดอกไม้จากรังไหม และแจกันไม้ไผ่

    วันที่ 6 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน ผู้รับผิดชอบโครงการ รับสมัครผู้สนใจ และติดต่อปราชญ์ชาวบ้าน พร้อมเตรียมอุปกรณ์ และจัดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วิทยากร นางสุวิมลกัณถาวร แนะนำ อุปกรณ์การทำ1. รังไหม2. เกสรดอกไม้3. ใบไม้พลาสติก 4. ลวด5. กระดาษกาวสีเขียว6. ด้ายและเข็ม7. กรรไกร8. ก้านดอก9. มีด10. กาว ขั้นตอนการทำดอกไม้จากรังไหม

    1. เตรียมอุปกรณ์ในการทำดอกไม้จากรังไหม เช่น รังไหม ด้าย เข็มลวด เป็นต้น
    2. นำรังไหมมาตัดเป็นกลีบดอก 3-4 กลีบ แล้วเจาะรูตรงกลางของรังไหม
    3. นำเกสรที่เตรียมไว้มามัดรวมกับลวดและนำมารวมกับกลีบดอกที่เจาะรูไว้แล้ว โดยใช้ด้ายมัดให้แน่น
    4. นำดอกไม้ที่ได้มัดแล้วนำมาประกอบใส่ก้าน พร้อมทั้งใบด้วย จากนั้นใช้กระดาษกาวสีเขียวพันให้ติดกับก้านที่เตรียมไว้
    5. จัดดอกและใบให้สวยงามเป็นระเบียบ

    การทำแจกันไม้ไผ่นายจรัญกัณถาวร ผู้ฝึกสอน ขั้นตอนการทำแจกันไม้ไผ่ 1.คัดเลือกไม้ไผ่ขนาดตามที่ต้องการ ไม่แก่และอ่อนจนเกินไป นำมาตัดที่ความยาว 35 เซนติเมตร 2. นำไม่ไผ่ที่ตัดได้ตามขนาดต้องการแล้ว มาขูดผิวออก 3.วาดรูปแบบ ลวดลายที่ต้องการลงบนกระดาษ ทากาวบนกระดาษ นำไปติดบนกระบอก ไม้ไผ่ บริเวณที่ต้องการให้เกิดลวดลาย 4. ใช้มีดฉลุลวดลายบนไม้ไผ่ ตามรูปบนกระดาษที่ติดไว้ ซึ่งขั้นตอนนี้จะใช้ทักษะ ฝีมือ ความประณีตอย่างมาก จักนั้นขัดขอบให้เรียบ 5. ลงเงาด้วยเลกเกอร์ ทิ้งไว้ให้แห้ง ประมาณ 1 วัน

     

    33 33

    16. ประชุมคณะกรรมการเตรียมความพร้อมการตรวจประเมิณเรื่องการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 2 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน  ชี้แจงกิจกรรมการสรุปบัญชีครัวเรือน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน ชี้แจงรายละเอียดแนวทางการสรุปผลการลงบันทึกการทำบัญชีครัวเรือนของประชาชน  ได้แก่  การสรุปข้อมูลทั่วไป  รายรับ-รายจ่ายโดยแบ่งประภทออกอย่างชัดเจน

     

    15 15

    17. ตรวจประเมินเรื่องการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองคน ชี้แจงกิจกรรมการออกตรวจประเมินการทำบัญชีครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อลาหนองแคนเปิดประชุมและชี้แจงวัตถุประสงค์ของการติดตามผลการดำเนินงานการจัดทำบัญชีครัวเรือนให้แก่คณะกรรมการทราบและตรวจสอบพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือและเข้าใจหลักการทำบัญชีครัวเรือน

     

    15 15

    18. ประชุมคณะกรรมการและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 6 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน  เปิดการประชุมโดยรายงานผลการดำเนินโครงการ  และความก้าวหน้าโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน  ได้ชี้แจงรายละเอียดผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา  พร้อมความก้าวหน้าของกิจกรรม  การปลูกข้าวไร่

     

    15 15

    19. ส่งเสริมการรวมกลุ่มทำไม้กวาดดอกอ้อ

    วันที่ 10 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมด้วยทีมงาน รวบรวมประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมอาชีพการทำไม้กวาดดอกอ้อ  โดยเชิญนางสาย  ลาหนองแคน ปราชญ์ชาวบ้านมาเป็นวิทยากรให้ความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนจำนวน 36 คนเข้าร่วมกิจกรรมการทำไม้กวาดดอกอ้อ โดยปราชญ์ชาวบ้าน โดยนางสายลาหนองแคนสอนวิธีการทำอุปกรณ์การทำไม้กวาดอุปกรณ์ ได้แก่ ดอกอ้อเชือกฟางเข็มขั้นตอนการทำคือนำดอกอ้อไปตากแดด ประมาณ 3-4 แดด แล้วนำดอกอ้อไปตีเพื่อให้ดอกหลุดออกจนหมดจากนั้นนำก้านมาปลิดแขนงออกให้เหลือแต่ยอดแล้วนำก้านดอกออ้อและแขนงมาเย็บติดกันอีกครั้งด้วยเชือกและเข็มที่เตรียมไว้

     

    30 36

    20. ประชุมเรื่องความมั่นคงทางสุขภาวะ วาระสร้างสุขของคนใต้ ปี 2558

    วันที่ 5 กันยายน 2558 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมกิจกรรมประชุมและจัดนิทรรศการ ที่ หอประชุมนานชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมเข้าชมนิทรรศการ  และรับฟังการนำเสนอผลการดำเนินงานจากพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จในพื้นที่ภาคใต้ 

     

    2 2

    21. ประชุมคณะกรรมการและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 6 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน  ประชุมชี้แจงผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อ ลาหนองแคน ได้ชี้แจงความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมโครงการให้แก่คณะกรรมการโครงการทราบ และสอบถามปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานในชุมชน

     

    15 15

    22. ประชุมคณะกรรมการเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

    วันที่ 2 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางดอกอ้อ  ลาหนองแคน ประชุมร่วมกับทีมคณะกรรมการโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อลาหนองแคน ร่วมกับผู้นำชุมชนคณะกรรมการกลุ่ม อสม. กรรมการหมู่บ้านวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานตลอดโครงการให้แก่ประชาชนและพี่เลี้ยงโครงการได้รับทราบและเตรียมยกย่องบุคคลต้นแบบเพื่อเป็นขวัญกำลังใจและเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่บุคคลอื่นๆได้

     

    15 15

    23. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานการต่อยอดโครงการและมอบรางวัลแก่บุคคลทำดี

    วันที่ 6 ตุลาคม 2558 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นางดอกอ้อ ลาหนองแคน ผู้รับผิดชอบโครงการ ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    • นายบัณฑูรย์ ลิสวัสดิ์ผู้ใหญ่บ้าน นำกล่าวสวดมนต์ ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และกล่าวข้อปฎิบัติของชุมชน
    • นายคำรบ เครือณรงค์ นายอำเภอทุ่งตะโก มอบประกาศนียบัตรให้แก่บุคคลต้นแบบ จำนวน 8 ท่าน และกล่าวชื่นชม
    • นางดอกอ้อ ลาหนองแคน ผู้รับผิดชอบโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน
    • นางอรวรรณ นาคเกษม พี่เลี้ยง สสส. กล่าวสรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายคำรบ เครือณรงค์ นายอำเภอทุ่งตะโก มอบประกาศนียบัตรให้แก่บุคคลต้นแบบ จำนวน 8 ท่าน และกล่าวชื่นชม ได้แก่

    1. นายจรัญกัณถาวร บุคคลต้นแบบด้านการละละเลิก ยาเสพติด ประเภท บุหรี่
    2. นายพิกุลลาหนองแคน บุคคลต้นแบบด้านการละละเลิก ยาเสพติด ประเภท สุรา
    3. นายทองพูน รุ่งรัตน์ บุคคลต้นแบบด้านการละละเลิก ยาเสพติด ประเภท กระท่อม
    4. นางพึ่งพิศ รุ่งรัตน์ บุคคลต้นแบบการจัดทำบัญชีครัวเรือน
    5. นางอุ่นใจ ฉิมนอก บุคคลต้นแบบการจัดทำบัญชีครัวเรือน
    6. นางสมจิตร สำพุด บุคคลต้นแบบการจัดทำบัญชีครัวเรือน
    7. นางสุมนต์ วักแน่ง บุคคลต้นแบบครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง
    8. นางสิริพร คงบุญ มีบุคคลต้นแบบครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง

    นายอำเภอกล่าว ชื่นชมและให้ปฏิบัติต่อไปอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ การดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยร้อยตำรวจโท ไพฑูรย์นิตย์นรา กล่าว เรื่องความสมดุล ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ การงาน และชีวิตครอบครัวการลดละเลิก ไม่เกี่ยวข้องกับอบายมุขทั้งหลาย นางดอกอ้อลาหนองแคน ผู้รับผิดชอบโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน ว่ากิจกรรมได้ดำเนินการเสร็จสิ้นเรียบร้อย กล่าวขอบคุณทีมงานคณะกรรมการที่ช่วยกันขับเคลื่อนงาน การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในชุมชนบ้านห้วยใหญ่ และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ส่วนนางอรวรรณ นาคเกษม พี่เลี้ยง สสส. กล่าวชื่มชมการดำเนินโครงการและบุคคลต้นแบบทั้ง 8 ท่าน และสรุปผลการดำเนินงานเพื่อต่อยอดโครงการ

     

    120 125

    24. จัดทำเอกสารภาพถ่ายกิจกรรมโครงการ

    วันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการร่วมกันคัดเลือกภาพกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ภาพกิจกรรมจำนวน 10 ภาพ และจัดทำเป็นเอกสารเพื่อส่งให้ กับ สสส. จำนวน 1 ชุด

     

    2 2

    25. จัดทำรูปเล่มรายงาน

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของการจัดทำรายงาน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางดอกอ้อ ลาหนองแคน ร่วมกับกรรมการ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการรายงานผลการดำเนินงาน และจัดทำเอกสารที่ร้าน

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดหนี้สินของประชาชน
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. ครัวเรือนสามารถลดภาระหนี้สิน ได้ร้อยละ 60 ของครัวเรือนที่มีหนี้สิน(120 ครัวเรือน จาก 201 ครัวเรือน) 2. มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมโดยใช้บัญชีครัวเรือนเป็นเครื่องมือ ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - ครัวเรือนมีหนี้สินลดลงและหนี้สินหมดไปในรายที่หนี้สินไม่มากหนัก

    1.จากการตรวจประเมินผลการจัดทำบัญชีครัวเรือนพบว่า ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรมจำนวน 86 ครัวเรือน มีหนี้สินลดลง จำนวน 8 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 9.30และไม่มีหนี้สินเพิ่มขึ้น จำนวน 78 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 90.70มีการน้อมนำแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ ทุกครัวเรือน ทำให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตอย่างพอกิน พอใช้ลดรายจ่ายในส่วนที่ไม่จำเป็น มีการปลูกผักบริโภคเพิ่มขึ้น จำนวน 14 ครัวเรือน 2. ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมโดยใช้บัญชีครัวเรือนเป็นเครื่องมือ จำนวน 86 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 71.67 ส่วนน้อยยังมีการลงข้อมูลยังไม่ตรงตามประเภท แต่การใช้บัญชีครัวเรือนเป็นเครื่องมือทำให้มีวินัยในการใช้จ่ายเงินมากขึ้นสามารถมองเห็นว่าส่วนไหนที่ฟุ่มเฟือยได้แก่ ค่าหวยเป็นต้น

    2 เพื่อให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปปรับใช้ในครัวเรือนร้อยละ 70 ของครัวเรือนชุมชน

    1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปปรับใช้ในครัวเรือนจำนวน 122 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ60.70

    3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้ายสถานทีนี้ปลอดบุหรี่ติดตั้งในสถานทีจัดกิจกรรม มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม และจัดทำรายงานส่งสสส.ตามระยะเวลาที่กำหนด

    1.โครงการเข้าร่วมประชุมกับ สสส.สจรส.มอ. ทุกครั้งที่จัด 2. จัดทำป้ายสถานทีนี้ปลอดบุหรี่ติดตั้งในสถานทีจัดกิจกรรม มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม และจัดทำรายงานส่งสสส.

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดหนี้สินของประชาชน (2) เพื่อให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ บ้านห้วยใหญ่ วิถีชุมชนพอเพียง

    รหัสโครงการ 57-02556 รหัสสัญญา 58-00-0096 ระยะเวลาโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การปลูกข้าวไร่ โดยใช้สารชีวภาพในชุมชน

    แปลงข้าวไร่

    ขยายพื้นที่ปลูกและหาตลาดวางจำหน่ายเพิ่อเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    การทำดอกไม้จากรังไหมและแจกันไม้ไผ่และไม้กวาดดอกอ้อ

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    ขยายผลต่อและหาตลาดเพื่อการจำหน่ายและสร้างกลุ่มให้เข้มแข็ง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ชุมชนมีกระบวนการเรียนรู้ใหม่ ไม่ว่าจะดำเนินกิจกรรมอะไรต้องเรียนรู้เรื่องนั้นให้รู้จริงถึงเริ่มดำเนินการและร่วมกันหาวิธีการแก้ไขร่วมกัน

    จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน

    จัดทำเป็นหลักสูตรให้คนในชุมชนได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องในกิจกรรมที่คนในชุมชนต้องใช้ในชีวิตประจำวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    1.กลุ่มส่งเสริมอาชีพทำดอกไม้จากรังไหมและแจกันไม้ไผ่สมาชิก จำนวน 30 คน 2.กลุ่มการทำไม้กวาดดอกอ้อสามชิกจำนวน 30 คน

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    วัสดุที่ใช้ทำให้สามารถหาได้ในท้องถิ่นทำให้ลดต้นทุนการผลิต

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    1.มีการติดป้ายห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่ประชุมและศูนย์เรียนรู้ชุมชน

    ป้ายห้ามสูบบุหรี่และบันทึกการถอดบทเรียนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม

    พัฒนาให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    ประชาชนในหมู่บ้าน มีสีหน้ายิ้มแย้มมากขึ้น เพราะกลไกการทำกิจกรรมของโครงการ ทำให้คนสุขภาพดี ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจำวัน

    บันทึกการพูดคุย สีหน้า ท่าทางที่มีความสุขมากกว่าเข้าร่วมกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ประชาชนมีส่วนร่วมกันมากขึ้น เห็นความสำคัญของการดูแลตนเอง ในเรื่องการใช้ชีวิตประจำวัน การออม การมีอาชีพเสริม การลดหนี้ครัวเรือน และการมีสัมพันธภาพที่ดีของคนในชุมชน

    ข้อมูลชุมชน และการรวมกลุ่มของชุมชนในกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นในชุมชนรวมทั้งการร่วมมือกับภายนอก

    ครัวเรือนมีอาชีพเสริมและสามารถลดหนี้ได้ และไม่มีหนี้สินเพิ่ม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการสร้างอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้ โดยมีกลุ่มทำดอกไม้จากรังไหม แจกันไม้ไผ่และไม้กวาดดอกอ้อ

    ทะเบียนสมาชิกกลุ่ม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    มีคณะกรรมการของชุมชนจัดเวทีให้ชุมชนได้ร่วมกันวิเคราะห์และประเมินปัญหาของชุมชนเพื่อร่วมกันวางแผนเสนอ กรรมการหมูบ้านนำเข้าแผนของหมู่บ้านตำบล
    ชุมชนมีการร่วมกันในการสำรวจข้อมุลครัวเรือน หลังจากนั้นนำข้อมุลมาร่วมกันวิเคราะห์และคืนข้อมูลให้กับชุมชน ทุกเดือนจะมีการนำประเด็นปัญหาในหมู่บ้านมาพูดคุย เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา

    เวทีประชุมประจำเดือนของชุมชน

    เสนอแผนสู่ อบต

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    นำพื้นที่ว่างเปล่ามาทำเป็นแปลงปลูกข้าวไร่

    มีแปลงข้าวไร่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีประชุมประจำเดือนของชุมชน

    เวที่ประชุมประเดือนบันทึกการประชุม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    ชุมชนมีข้อมูลและสามารถนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำโครงการวางแผนกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาตามข้อมูลของชุมชน

    โครงการต่างๆที่เกิดขี้นในชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    คณะกรรมการมีความภูมิใจที่สามารถช่วยให้คนในชุมชนมีความรู้และสามารถร่วมกลุ่มกันทำกิจกรรมได้

    บทสรุปจากเวทีถอดบทเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ชุมชนมีความเอื้ออาทรและแบ่งปันกันมากขึ้น คนในชุมชนมีความรักใคร่สามารถกัน ร่วมกันลงแขกในกิจกรรมต่างๆ

    สังเกตได้จากประชาชนที่มาติดต่อประสานงาน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    มีการทำประชาคมร่วมกันของประชาชนและคณะกรรมการชุมชน รวมทั้งปราชญ์ชุมชนในการทำกิจกรรมของชุมชน

    รายงานการประชุมประจำเดือน

    สามารถเพิ่มเติมความรู้ให้กับชุมชนในการจัดตั้งเป็นสภาชุมชนได้ต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    บ้านห้วยใหญ่ วิถีชุมชนพอเพียง จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 57-02556

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาง ดอกอ้อ ลาหนองแคน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด