แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ คนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่ ”

ม. 5 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ

หัวหน้าโครงการ
นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ

ชื่อโครงการ คนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่

ที่อยู่ ม. 5 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 57-02582 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0080

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2557 ถึง 15 พฤศจิกายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"คนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม. 5 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " คนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ม. 5 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ รหัสโครงการ 57-02582 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 211,500.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 165 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง โดยทำหน้าที่เป้นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน ติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
  2. 2.เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญและมีความตระหนักในปัญหาของชุมชน
  3. 3.เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์และการดูแลสุขภาพระหว่าง กลุ่มเด็กเยาวชน ผู้ปกครอง และผู้สูงอายุ
  4. การบริหารจัดการโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1.

    วันที่ 12 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00-12.30น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ยื่นเอกสาร เปิดบัญชี รับสมุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การเปิดบัญชีผ่านไปด้วยดี

     

    3 3

    2. ชี้แจงโครงการ

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รูปแบบและผลการประชุม 1. กล่าวต้อนรับและเปิดประชุมโดย นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 5 2. ชี้แจงโครงการทั้งวัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ และกิจกรรมที่จะจัดขึ้นตลอดจนกระบวนการ และวิธีการในการจัดกิจกรรมนั้นๆโดย บัณฑิตอาสา มอ. 3. ชี้แจงเรื่องงบ สจรส.โดยคุณอานัติ หวังกุหลำ พี่เลี้ยงบัณฑิตอาสา 4. เปิดเวทีระดมความคิดเห็นว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยมากน้อยเพียงใดในส่วนกิจกรรมที่จัดพร้อม ทั้งระบุวันเวลาในการจัดกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมโดยคณะกรรมกรรมผู้เข้าร่วมทุกท่าน 5. แผนต่อไป : จะเป็นการรับสมัครน้องๆเยาวชนผู้ที่มีความสนใจเข้าร่วมทำกิจกรรมในโครงการ คน สามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่ 6. ปัญหาและอุปสรรค : ยังขาดความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือท่านผู้ใหญ่ที่เกี่ยวข้อง ในท้องถิ่น เช่น กำนัน เป็นต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการประชุม : การประชุมได้บรรลุตามวัตถุประสงค์เนื่องจากว่า คณะกรรมการเข้าใจ และให้ ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมพร้อมทั้งมีความพร้อมที่จะเข้าร่วมและร่วมมือในการจัดกิจกรรม

     

    20 21

    3. การประชุมปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 2557 รอบ 2

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 29 พ.ย.57 -ช่วงเช้า เวลา 09.00 -12.00 น.การชี้แจงทำความเข้าใจในการดำเนินโครงการของผู้รับทุนโดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  และความคาดหวัง ประสบการณ์ และแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน  โดย คุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) -ช่วงบ่าย เวลา 13.00 น.-14.00 น. การจัดทำรายงานผ่านเวบไซต์คนใต้สร้างสุข www.happynetwork.org  โดยคุณภานุมาศ นนทพันธ์ -ช่วงบ่าย เวลา 14.00 – 21.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ • การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ • การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม • การจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง ดังนี้  - ใบลงทะเบียนต้องมีรายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม  - บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม  - กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด  (ถ้าเกิน 5000 บาท ต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนทุกครั้ง)  - กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน  บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง (โครงการคนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา)    - ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม    - ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร  กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ  กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน    - ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน  **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน
    2. รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จะต้องมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย มากกว่า หรือเท่ากับ 5-10 % ของเป้าหมายที่วางไว้

     

    2 2

    4. การประชุมปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 2557 รอบ 2

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน  การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ การป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. รับรู้การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน  การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์    - ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org
    2. สามารถรับรู้ถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ
    3. การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

     

    2 2

    5. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการชี้แจงรายละเอียดของโครงการ และบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบโครงการ รั้งที่ 1

    วันที่ 11 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00-10.30น.0 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. กล่าวต้อนรับและเปิดประชุมโดย นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 5
    2. ชี้แจงวัตถุประสงค์ บัณฑิตอาสา มอ.
    3. ชี้แจงเรื่องวันเวลาในการจัดกิจกรรมตลอดระยะเวลาของโครงการ โดยบัณฑิตอาสา
    4. ชี้แจงเรื่องงบ สจรส.ทั้งเรื่อง งวดเงิน การเบิกจ่ายงวดเงิน และการจัดเก็บหลักฐานต่างๆและ ลฯล
      โดยบัณฑิตอาสา
    5. เปิดเวทีระดมความคิดเห็นว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยมากน้อยเพียงใดในวันและเวลาที่ได้กำหนด ขึ้นโดยคณะกรรมกรรมผู้เข้าร่วมทุกท่าน
    6. แผนต่อไป : จะเป็นการรับสมัครน้องๆเยาวชนผู้ที่มีความสนใจเข้าร่วมทำกิจกรรมในโครงการ คน สามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่เพิ่มเติมและจัดเวทีสร้างความเข้าใจต่อคนในชุมชนตลอดจนการประชุมคณะกรรมการในเรื่องการวางแผนและการสรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการประชุม : การประชุมได้บรรลุตามวัตถุประสงค์เนื่องจากว่า คณะกรรมการหมู่บ้านเห็น ด้วยในการวางบทบาทหน้าที่และพร้อมใจกันให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมพร้อมทั้งมีความพร้อมที่จะเข้าร่วมและร่วมมือในการจัดกิจกรรมให้กับชุมชนในครั้งต่อไปด้วย

     

    20 35

    6. เวทีสร้างความเข้าใจต่อคนในชุมชน และเปิดรับสมัครเยาวชนอาสา

    วันที่ 25 มกราคม 2558 เวลา 09:00-16:00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบโครงการ)กล่าวต้อนรับและเปิดประชุมโดย

    • นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ และนางสาววันวิสาข์ สะมะแอ ชี้แจงที่มาของโครงการและรูปแบบการดำเนินงาน ร่วมกันกำหนดวันเวลาในการจัดกิจกรรมตลอดระยะเวลาของโครงการ

    • ผุสดี นพชัยยา และทีมงาน จัดกิจกรรมสันทนาการให้กับเยาวชนและเปิดรับรับสมัครเยาวชนอาสา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการประชุม : การประชุมได้บรรลุตามวัตถุประสงค์เนื่องจากว่า 1.)ผู้เข้าร่วมเข้าใจในรูปแบบ การดำเนินงานของโครงการ 2.) คนในชุมชนให้ความสำคัญในการเข้าร่วมประชุมหรือจัดกิจกรรมทุกครั้ง 3.)การรับสมัครเด็กและเยาวชนในครั้งนี้มีผู้สมัครเข้าร่วมมากกว่า 50 คน ซึ่งความเป็นจริงแล้วเราได้วางกลุ่มเป้าหมายเพียงแค่ 50 คน และที่มาสมัครในวันนี้ มีจำนวน 54 คน และยังมีจำนวนผู้สมัครที่วันนี้ไม่ได้มาเข้าร่วมเนื่องจากว่าติดเรียนเศษ ซึ่งก็คาดว่าน่าจะไม่เกินอีก 10 คน

     

    115 80

    7. สานสัมพันธ์สร้างความเป็นทีม

    วันที่ 31 มกราคม 2558 เวลา 09:00-16:00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดย นางผุสดี นพชัยยา กล่าวต้อนรับและเปิดประชุมโดย นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) ชี้แจงเรื่องวันเวลาในการจัดกิจกรรมตลอดระยะเวลาของโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ กิจกรรมสานสัมพันธ์สร้างความเป็นทีมระหว่างกล่มใหญ่ และกลุ่มย่อย โดยทีมพี่เลี้ยง กิจกรรมแนะนำตัว โดยใช้เกมส์ จำควาย เพื่อกระตุ้นให้น้องๆรู้จักสมาชิก และสามารถทำงานร่วมกันได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    : การประชุมได้บรรลุตามวัตถุประสงค์เนื่องจากว่า 1.)ผู้เข้าร่วมเข้าใจในรูปแบบ การดำเนินงานของโครงการ 2.) คนในชุมชนให้ความสำคัญในการเข้าร่วมประชุมหรือจัดกิจกรรมทุกครั้ง  2.)เด็กและเยาวชนอาสา สามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้ เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 

     

    75 80

    8. เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ทุกๆ 3 ครั้ง ครั้งที่1

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:30-10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดย นางผุสดี นพชัยยา
    2. กล่าวต้อนรับและเปิดประชุมโดย นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบโครงการ)
    3. สรุปกิจกรรมทั้งหมด ตลอดระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา โดย บัณฑิตอาสา
    4. สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมทั้งหมด ในระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา โดยให้คณะกรรมการทั้งหมดสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การประชุมในวันนี้ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ จากการสอบถามถึงการดำเนินงานที่ผ่านมาทั้งข้อดีข้อเสีย จะเห็นได้ว่าจะมีทั้งสองส่วน ในส่วนข้อดี คือการที่ทุกคนได้มีเวลามารวมตัว รวมกลุ่มกัน
      และข้อเสียคือ มีงานเพิ่มขึ้น

     

    35 35

    9. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป ครั้งที่ 3

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดย นางผุสดี นพชัยยา
    2. กล่าวต้อนรับและเปิดประชุมโดย นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบโครงการ)
    3. ชี้แจงเรื่องแผนกิจกรรมในอบรมการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในวันที่ 14- 15 มีนาคม 2558 โดย บัณฑิตอาสา
    4. สรุปกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การประชุมในวันนี้ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เนื่องจากว่าผู้เข้าร่วมประชุม เข้าใจ และมีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรรมในครั้งนี้
    • แผนงานในครั้งนี้ บัณฑิตได้วางไว้ ก็จะมีดังนี้ คือ วันแรกจะให้มีการอบรม และวันที่สอง จะให้ลงสถานที่จริง โดยวันแรกบัณฑิตได้ออกแบบกิจกรรม ดังนี้ วิธีการที่หนึ่ง 1.รู้จักคน โดยการแนะนำตัว ซึ่งก็จะให้แนะนำทั้งเด็ก พี่เลี้ยง และผู้นำชุมชน เพื่อให้รู้จักกันมากขึ้น 2. คือรู้จักชุมชน โดยให้เล่าถึงความประวัติศาสตร์ชุมชน อาณาเขต ภูมิศาสตร์ เรื่องเล่า สถานที่สำคัญ และประเพณีวัฒนธรรม เป็นต้น วิธีการที่ 2 ฝึกทักษะการเก็บข้อมูล โดยการวาดแผนที่ และวิธีการที่ 3 คือ อบรมให้ความรู้ และสอนทักษะการเก็บข้อมูลในชุมชน ส่วนวันที่ 2 ก็จะนำน้องลงพื้นที่เก็บข้อมูล โดยเก็บภาพ พูดคุย สังเกต และรวมกันเล่าเรื่องราวที่ได้พบเจอในวันนี้ และสุดท้ายสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ ทั้งนี้ทั้งนั้นผลการประชุมก็ยังได้ข้อเสนอแนะจากทีมโครงการบัณฑิตอาสาในเรื่องการใช้วิธีการโดยการเล่นเกมส์ ซึ่งมีชื่อว่าวิตามิน A

     

    20 20

    10. อบรมทักษะการเก็บข้อมูล

    วันที่ 14 มีนาคม 2558 เวลา 08:30-16:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ช่วงเช้า

    • เปิดพิธีโดย ผู้ใหญ่บ้าน
    • ให้ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์ชุมชน โดยวิทยากร อ.อุทัยวรรณ์ เหล่าทอง
    • ฝึกทักษะการเก็บข้อมูล เขียน เยาวชนอาสาแบ่งกลุ่ม วาดแผนที่ชุมชน พร้อมทั้งนำเสนอ โดยมีคณะกรรมการเป็นพี่เลี้ยง

    ช่วงบ่าย

    • สันทนาการเตรยมความพร้อม โดย ทีมพี่เลี้ยง
    • เกมส์รู้จักคน เช่น แนะนำตัวเอง แนะะนำพี่เลี้ยง และคณะจารย์จากโครงการบัณฑิตอาสา อาจารย์จากอาเจ๊ะ และสำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง
    • อาจารย์จาก อาเจ๊ะ แลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง Photo Novella
    • อบรมการใช้เครื่องมือ Photo Novella
    • สรุปกิจกรรม
    • ปิดพิธี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการดำเนินงาน

    • กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุตามวัตถุประสงค์เนื่องจากว่าเยาวชนอาสา และผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้ และ ได้ฝึกทักษะการเก็บข้อมูลอย่างมีส่วนร่วม พร้อมทั้งนี้เยาวชนอาสามารถทำงานเป็นทีมโดยไม่เกิดปัญหา เยาวชนอาสามีความพร้อมที่จะเรียนรู้ จกการสังเกตพบว่าเยาวชนอาสามีความสนุกสนานจากที่ไม่เคยได้ทำกิจกรรมไม่ค่อยมีเพื่อน แต่กิจกรรมในวันนี้ทำให้เยาวชนเหล่านั้นมีความรู้สึกอยากร่วมและไม่มีคำบ่น แถมยังเพลินไปกับกิจกรรมที่ทำด้วย  ด้านคณะกรรมการและผู้เข้ารวมอบรมก็ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม อยากมีส่วนร่วมในกิจกรรมครั้งต่อไป

     

    77 77

    11. เด็กและเยาวชนรวมกลุ่มถ่ายภาพ พูดคุย สังเกต โดยมีพี่เลี้ยงคอยดู ครั้งที่1

    วันที่ 15 มีนาคม 2558 เวลา 09:00-16:00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียน
    • สันทนาการเตรียมความพร้อม
    • ทวนความรู้
    • แยกกลุ่มประชุมเตรียมความพร้อม
    • ตั้งโจทย์ให้ลงชุมชนเพื่อค้นหาข้อมูล โดยจะให้พี่เลี้ยงแต่กลุ่มพาเยาวชนอาสาลงเยี่ยมบ้านเพื่อถ่ายภาพและค้นหาข้อมูลในชุมชน ดังนี้

      • กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มภูมิปัญญญา
      • กลุ่มที่ 2 ประเพณีวัฒนธรรม
      • กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส
      • กลุ่มที่ 4 ประวัติศาสตร์ชุมชน
    • เยาวชนอาสาแต่ละกลุ่มสรุปลงในฟริปชาร์ตและนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู และมีวิทยากรตั้งคำถามจากภาพให้เยาวชนตอบ

    • สันทนาการ
    • สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนอาสาได้รับข้อมูลจากเรื่องราวที่ได้ลงไปค้นด้วยตัวเอง และได้รับรู้เรื่องราวทั้งที่เป็นปัจจุบันและอดีตชาติ สะท้อนความรู้สึก กลุ่มผู้สูงวัยและผู้ด้อยโอกาส ได้เรียนรูเกี่ยวกับคนในชุมชน เกิดความรู้สึกสงสาร อยากช่วยเหลือ รู้สึกดีใจที่ได้ลงไปเยี่ยม อยากทำขนมให้กับท่านทา ด้านกลุ่มภูมิปัญญา ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ การทำกรงนก ว่ามีวิธีการทำอย่างไร และได้รับรู้ว่ากรงนกที่ทำไว้ใส่นกเขาและนกชนิดอื่นๆ แต่ที่เด่นก็คือ ที่นี้ ยังมีคำขวัญ เกี่ยวกับนกเขาชวา ที่เป็นที่เลื่องลือไกล กลุ่มประวัติศาสตร์ชุมชน ได้รับรู้เกี่ยวกับความเป็นมาในชุมชนว่าเป็นมาอย่างไร กลุ่มสุดท้ายกลุ่มประเพณีวัฒนธรรม ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประเพณีไทย ในชุมชน เช่น ประเพณีรับเทพญดา เป็นต้น
    • กิจกรรมครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์เนื่องจากว่าเยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติจริงและได้ข้อมูลที่เป็นจริงด้วย

     

    60 61

    12. คณะกรรมการ วางแผนเตรียมงานครั้งที่ 3

    วันที่ 29 มีนาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดกิจกรรม ประชุมคณะกรรมการวางแผนเตรียมงาน -กล่าวต้อนรับโดย นายอนันต์ ประทุมสินธ์ุ ผู้ใหญ่บ้าน
      -กล่าวชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดกำหนดการกิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ โดย นางสาวณฐกานต์เพชรสุวรรณ ผู้รับผิดชอบโครงการ -ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม และสรุปผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนได้จัดประชุมคณะกรรมการ ในวันที่ 29 มีนาคม 2558 เวลา 13.00 - 16.00 น ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 5 ต. บ้านนา อ. จะนะ จ.สงขลา

    -13.00 น ลงทะเบียนพร้อมกัน -13.30 น นายอนันต์ประทุมสินธ์ุ กล่าวต้อนรับทุกคน และชี้แจงวัตถุประสงค์ และรายละเอียดของกิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ
    -15.00 น สรุปผลการประชุมและมอบหมายให้รับผิดชอบตามหน้าที่

     

    20 23

    13. เยาวชนอาสาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและผู้พิการ

    วันที่ 4 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดกิจกรรม รู้จักบ้านฉันผ่านการค้นหาด้วยภาพ ครั้งที่ 2 โดยกิจกรรม รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ ในวันที่ 4 เมษายน 2558 เวลา 08.00-16.00 น.หมู่ที่ 5 ต. บ้านนาอ. จะนะ จ.สงขลา

    -ลงทะเบียน -เยาวชนอาสาทำบุญบังสุกุลบัว(ทำบุญว่าง) -รับประทานอาหารว่าง -เยาวชนอาสาทำบุญบังสุกุลบัว(ทำบุญว่าง)
    -รับประทานอาหารกลางวัน
    -เยาวชนอาสารดน้ำผู้สูงอายุ
    -รับประทานอาหารว่าง
    -เยาวชนอาสารดน้ำผู้สูงอายุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    .- ชุมชนได้จัดกิจกรรม รู้จักบ้านฉันผ่านการค้นหาด้วยภาพ ครั้งที่ 2 โดยกิจกรรม รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ ในวันที่ 4 เมษายน 2558 เวลา 08.00-16.00 น.หมู่ที่ 5 ต. บ้านนาอ. จะนะ จ.สงขลา

    08.00 น.ลงทะเบียนพร้อมกัน 09.00 น. เยาวชนอาสาทำบุญบังสุกุลบัว(ทำบุญว่าง) 10.30 น. รับประทานอาหารว่าง 11.00 น. เยาวชนอาสาทำบุญบังสุกุลบัว(ทำบุญว่าง)
    12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
    13.00 น. เยาวชนอาสารดน้ำผู้สูงอายุ
    14.00 น.รับประทานอาหารว่าง
    **กิจกรรมนี้ เนื่องจากเป็นพิธีทางศาสนา และเป็นพิธีการ เด็กๆจึงค่อยปฏิบัติและสังเกตุการณ์

     

    60 75

    14. เยาวชนรวมกลุ่ม เตรียมความพร้อม และสรุปเรื่องราวจากภาพ

    วันที่ 18 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดกิจกรรม ภาพถ่าย Contestในวันที่ 18 เมษายน 2558ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 5 ต. บ้านนา อ. จะนะ จ. สงขลา โดยมีรายละเอียดและุกิจกรรมดังนี้

    -ชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรม -แยกกลุ่มเพื่อเตรียมงานของแต่ละกลุ่ม -รับประทานอาหารว่างและกลางวัน -รวมกลุ่มเพื่อนำเสนอผลงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนได้จัดกิจกรรม ภาพถ่าย Contestในวันที่ 18 เมษายน 2558ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 5 ต. บ้านนา อ. จะนะ จ. สงขลา

    • ชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบ โดยนางสาววันวิสาข์ สะมะแอ บัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และกล่าวต้อนรับโดย นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา

    -เวลา 10.45น. เด็กแบ่งกลุ่มเพื่อเตรียมผลงานของแต่ละกลุ่ม

    -เวลา 11.00น. รับประทานอาหารว่างและรับประทานอาหารกลางวัน

    -เวลา 13.00น. ร่วมกันนำเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม
    จากการเข้าร่วมกิจกรรมนี้ เด็กเยาวชนคณะกรรมการและผูสูงอายุ ผู้ปกครอง

    • คนในชุมชนได้มีการพบปะมากยิ่งขึ้น ได้มาร่วมทำกิจกรรมสานสัมพันธ์ และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีในครัวเรือนและชุมชน ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้ร่วมกันมองภาพในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน

    • ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรม กับคนในชุมชนทำให้เกิดความสามัคคีเเละชุมชนเข้มเเข็

     

    60 61

    15. ประชุมวางแผนกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน และกิจกรรมถอดบทเรียนครั้งที่ 1

    วันที่ 19 เมษายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดการประชุมกลุ่ม ในวันที่ 19 เมษายน 2558 ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 5 ต. บ้านนา อ. จะนะ จ. สงขลา

    • วาระที่ 1 ชี้แจง วัตถุประสงค์

    • วาระที่ 2 ระดมความคิดเห็น พร้อมทั้งชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมที่ได้ร่วมกันคิด ดังนี้

    -ลงทะเบียน ชี้แจงกำหนดการ โดย บอ.มอ.

    -กล่าวต้อนรับโดยผู้ใหญ่บ้าน

    • วาระที่ 3 สรุปผลการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดการประชุมกลุ่ม ในวันที่ 19 เมษายน 2558 ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 5 ต. บ้านนา อ. จะนะ จ. สงขลา

    -วาระที่ 1 นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา ชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบ

    -วาระที่ 2 นางสาววันวิสาข์ สามะเเอ บัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรมที่ผ่านมาซึ่งจากการสอบถามถึงการดำเนินงานที่ผ่านมาทุกฝ่ายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี กลุ่มเป้าหมายพึงพอใจในกิจกรรมที่จัดขึ้น
    -วาระที่ 3 สรุปผลในการจัดเวทีคืนข้อมูลครั้งที่ 1 คณะกรรมการได้แบ่งหน้าที่ในการดำเนินงาน เช่น ฝ่ายอาหาร ฝ่ายโสต ฝ่าย สถานที่ เป็นต้น ได้เข้าใจรูปแบบการจัดกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลครั้งที่ 1

     

    20 20

    16. -นิทรรศการภาพถ่าย Contest /ประกวดภาพถ่ายชีวิตลิขิตเรื่องราว /ประกวดภาพถ่ายชีวิตลิขิตเรื่องราว/ประกวดร้องเพลง ครั้งที่ 1/เยาวชนลงเยี่ยมบ้าน

    วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน จัดขึ้นในวันที่ 23 เดือน เมษายน 2558 เวลา 08.00 - 16.00 น. มีรายละเอียด ดังนี้
    - ชี้แจงกำหนดการและกล่าวต้อนรับ

    • คนในชุมชนร่วมกันชมนิทรรศการภาพถ่ายของเด็กๆ

    • แสดงภาพถ่ายของแต่ละกลุ่มพร้อมเล่าเรื่องราวของภาพ และรับชมการแสดงของแต่ละกลุ่ม

    • เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง

    • รับชม VDO และร่วมถอดบทเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -- ชุมชนได้จัดกิจกรรมนิทรรศการภาพถ่าย contest/ประกวดภาพถ่ายชีวิตลิขิตเรื่องราว/ประกวดร้องเพลง/สรุปผลการดำเนินงานโครงการและถอดบทเรียน วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 8.30-15.30 น. ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่ หมู่5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รายละเอียดการดำเนินงาน ดังนี้ิน

    • ชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบ โดยนางสาววันวิสาข์ สะมะแอ บํณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และกล่าวต้อนรับโดย นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา ผู้ใหญ่บ้านเชิญผู้เข้าร่วมกิจกรรมชมนิทรรศการภาพถ่าย contest ซึ่งกิจกรรมของโครงการทีได้จัดขึ้นก่อนหน้านี้

    -เวลา 10.45น. เด็กรวมกลุ่มกันเล่าเรื่องราวจากภาพของเเต่ละกลุ่มหลังจากนั้นได้แบ่งกลุ่มเพื่อเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเเละเเจกของที่ระลึก

    -เวลา 11.00น. รับชม VDO การดำเนินโครงการที่ผ่านมา โดย บอ.มอ.และร่วมถอดบทเรียน บอ.มอ.และรับประทานอาหารกลางวัน

    -เวลา 13.00น. ลงพื้นที่ตามกลุ่มเพื่อเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเเละเเจกของที่ระลึก
    จากการเข้าร่วมกิจกรรมนี้ เด็กเยาวชนคณะกรรมการและผูสูงอายุ ผู้ปกครอง

    • คนในชุมชนได้มีการพบปะมากยิ่งขึ้น ได้มาร่วมทำกิจกรรมสานสัมพันธ์ และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีในครัวเรือนและชุมชน ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้ร่วมกันมองภาพในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน
    • ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรม กับคนในชุมชนทำให้เกิดความสามัคคีเเละชุมชนเข้มเเข็ง

     

    165 165

    17. จัดประชุมกลุ่มผู้นำชุมชนเพื่อรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 4 และเตรียมงานในกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน

    วันที่ 6 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้จัดการประชุมกลุ่ม ในวันที่ 6 มิถุนายน 2558 ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 5 ต. บ้านนา อ. จะนะ จ. สงขลา

    -ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    -นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบโครงการ)สรุปกิจกรรมทั้งหมด ตลอดระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา และชี้แจงรายละเอียดถึงโครงการครั้งต่อไป

    -โดย บัณฑิตอาสา สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมทั้งหมด ในระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา โดยให้คณะกรรมการทั้งหมดสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การประชุมในวันที่ 6 มิถุนายน 2558 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 35 คน
    • กล่าวต้อนรับในที่ประชุมโดย นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา และได้ชี้แจงสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาให้ที่ประชุมได้รับทราบ
    • นางสาวนูรมา มะลี บัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รายงานสรุปกิจกรรมที่ผ่านมาให้ที่ประชุมทราบ จากการสอบถามถึงการดำเนินงานที่ผ่านมาทุกฝ่ายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี กลุ่มเป้าหมายพึงพอใจในกิจกรรมที่จัดขึ้นและบางครั้งบางคนอาจจะเข้าร่วมกิจกรรมไม่ได้ เพราะ วัน เวลา ไม่ตรงกัน แต่จะพยายามเข้าร่วมและให้ความร่วมมือทุกกิจกรรม

     

    20 35

    18. ประชุมสภาผู้นำชุมชนเดือนละครั้งเพื่อรายงานความก้าวหน้าและวางเเผนการดำเนินงานครั้งที่5

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมกลุ่มผู้นำ ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2558ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่ 5บ้านทุ่งใหญ่ต. บ้านนา อ. จะนะ จ. สงขลา

    • ลงทะเบียน และชี้แจงกำหนดการ โดญ บอ.มอ.

    • กล่าวต้อนรับ ผู้ใหญ่บ้านเเละทีมงานสื่่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

    • รับชมนิทรรศการ และการนำเสนอภาพถ่ายจากน้องๆเยาวชนอาสา

    • แยกกลุ่มให้สัมภาษณ์สื่่อ (สสส.) พร้อมลงพื้นที่แต่ละกลุ่ม

    • รับประทานอาหารเที่ยง

    • นายอานัติ หวังกุหลำ เเนะนำบัณฑิตอาสาคนใหม่ชื่อนางสาวนูรมา มะลี เเละประชุมคณะกรรมการโครงการคนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนเพื่อทำกิจกรรมครั้งต่อไป โดยร่วมกับทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาและร่วมวางแผนทิศทางการดำเนินงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2558 ณ อาคารอเนกประสงค์ บ้านทุ่งใหญ่ หมู่ที่ 5ตำบลบ้านนาอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
    • ผู้นำชุมชนกล่าวต้อนรับ ทีมงานสื่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส)และแนะนำผู้รับผิดชอบโครงการให้รู้จัก
    • ทีมงาน สื่อ สสส. แบ่งกลุ่มให้สัมภาษณ์ ซึ่งให้สัมภาษณ์ โดย นายอนันต์ ประทุมสินธ์ุผู้นำชุมชนน.ส. ณฐกานต์เพชรสุวรรณผู้รับผิดชอบโครงการและ นางผุสดี นพชัยยาผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ และนายอานัติ หวังกุหลำผู้ดูแลบัณฑิตอาสาในโครงการ
    • ลงพื้นที่เพื่อพาทีมงานสื่อ สสส. เยี่ยมชมหมู่บ้าน และร่วมสัมภาษณ์คนในชุมชนเช่น สัมภาษณ์คุณตาใช้เขาแก้วซึ่งเป็นผู้สูงอายุในชุมชนและได้สอบถามถึงประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน และขนบธรรมเนียมประเพณีอาชีพของคนในชุมชนเป็นต้น
    • ลงพื้นที่ในบ้านโคกนุ่น ซึ่งเป็นกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลามและทำอาชีพ กรงนก
    • ร่วมประชุมคณะกรรมโครงการ โดยสรุปดังนี้ เป้าหมายของชุมชนที่ต้องการพัฒนาคือ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนในชุมชนและยังคงรักษาประเพณีวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบไป กิจกรรมต่อไปในโครงการ ได้แก่ เด็กๆรวมกลุ่มถ่ายภาพ พูดคุย และ ร่วมทำกิจกรรมแห่เทียนพรรษา

     

    20 26

    19. เด็กเยาวชนรวมกลุ่มถ่ายภาพพูดคุย สังเกต โดยมีพี่เลี้ยงคอยดูเเล ครั้งที่2

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชุมชนได้จัดกิจกรรมรู้จักบ้านฉันผ่านการค้นหาด้วยภาพถ่ายในวันที่ 30 กรกฎาคม 2558 เวลา 08:30-15.30น. ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่ หมู่ 5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รายละเอียดการดำเนินงานมีดังนี้ -08:30-09:00น.ลงทะเบียน

    -09:00-10:00น.ชี้เเจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบโดยนางสาวนูรมา มะลี บัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เเละกล่าวต้อนรับโดย นายอนันต์ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้านทุ่งใหญ่ หมู่5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จากนั้นได้กล่าวชี้แจงรายละเอียดการลงพื้นที่ของน้องๆเยาวชนโดยการแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้เเก่ -กลุ่มประเพณีและวัฒนธรรม -กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส -กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่น -กลุ่มประวัติชุมชน

    10:00-12:00 น.เริ่มออกเยี่ยมบ้านเพื่อถ่ายภาพจากการลงเยี่ยมบ้านทำให้น้องๆเยาวชนอาสาได้รู้จักบริบทของชุมชน และทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชนมากยิ่งขึ้น

    13:00-14:00 น.เตรียมขบวนพาเรดเตรียมความพร้อม

    14:00-16:00 น.เริ่มรำขบวนแห่เทียนพรรษาโดยรำจากหน้าศาลาอเนกประสงค์ ไปวัดโรจนาราม และไปยังวัดในตลาดสด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กิจกรรมรู้จักบ้านฉันผ่านการค้นหาด้วยภาพถ่าย ในวันที่ 30 กรกฎาคม 2558 ซึ่งจัดขึ้น ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่ หมู่ 5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา มีผู้เข้าร่วม 60 คน

    • น้องๆเยาวชนอาสาได้ไปเยี่ยมบ้านเเละถ่ายภาพตามพื้นที่ที่ได้รับมอบหมายตัวอย่างเช่น นายนวมชูบำรุง อายุ 84 ปี ป่วยเป็นโรคหอบ อาศัออยู่กับลูกสาว ซึ่งมีอาชีพรับราชการครูลุงนวมได้อวยพรเเก่เด็กๆเเละเยาวชนให้มีสุขภาพเเข็งเเรง ตั้งใจเรียนหนังสือ เเละเป็นเด็กดีของพ่อเเม่

    • การจัดกิจกรรมในครั้งนี้บรรลุผลสำเร็จ เนื่องจากว่าเยาวชนและคณะทำงานมีความพร้อมและให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับบริบทชุมชนมากยิ่งขึ้น ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประเพณีที่สำคัญในชุมชน คณะกรรมการและผู้เข้าร่วมให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

     

    60 71

    20. ประชุุุมวางเเผนคณะกรรมการครั้งที่6

    วันที่ 12 สิงหาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะกรรมการเข้าร่วมประชุมครั้งที่ 6 ในวันที่ 12 สิงหาคม 2558 เวลา 13.00น. ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่ หมู่ 5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 20 คน
      โดยนางสาวนูรมา มะลี บัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบ เพื่อวางเเผนการดำเนินงานโครงการในกิจกรรมต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 6 ณ อาคารอเนกประสงค์ มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน
    • เริ่มประชุมตั้งเเต่เวลา 13.00น. นางสาวนูรมามะลีบัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กล่าวต้อนรับ นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ผู้นำชุมชน และได้ชี้เเจงเกี่ยวกับการวางเเผนการดำเนินกิจกรรมตามเเผนงานที่ได้วางไว้ ซึ่งจะมีขึ้นในวันที่ 15 สิงหาคม 2558 ในกิจกรรมรู้จักบ้านฉันผ่านการค้นหาด้วยภาพถ่าย ครั้งที่4
    • น.ส. ณฐกานต์ เพชรสุวรรณผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้เเจงวัตถุประสงค์ให้คณะกรรมการรับทราบโดย และวางแผนการดำเนินงานในวันที่ 15 สิงหาคม 2558 กิจกรรมปั่นเพื่อเเม่เยี่ยมผู้สูงอายุในกิจกรรมจะมีการปั่นจักรยานเริ่มตั้งเเต่อาคารอเนกประสงค์เวียนไปถึงรอบตลาดจากนั้นจะมีการปลูกต้นไม้ร่วมกันเนื่องในวโรกาส 12 สิงหาคม 2558 วันเเม่เเห่งชาติ
    • คณะทำงานได้แบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ ได้แก่ 1.เส้นทางการปั่นรอบตลาด ซึ่งเป็นหน้าที่ของ คุณสมพงษ์แก้วสุขใส ซึ่งได้ประสานกับกับตำรวจจราจร2.เตรียมสถานที่ไว้ปลูกต้นไม้ ซึ่งได้มอบหมายให้ นายธีระพลรัตนรังษี รับผิดชอบ3. ด้านอาหารกลางวันและอาหารว่าง กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มขนม และทีมงาน อสม. รับผิดชอบในนี้4. ส่วนของการดูแลเด็กๆ ให้พี่เลี้ยงแต่ละกลุ่มดูแล

     

    20 20

    21. เวทีคืนข้อมููลสู่ชุมชนครั้งที่2

    วันที่ 15 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมปั่นเพื่อแม่ จัดขึ้นในวันพุทธ ที่ 15 เดือน สิงหาคม 2558 เวลา 08.00 - 16.00 น. มีรายละเอียด ดังนี้

    • ชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบ โดยนางสาวนูรมา มะลีบัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และกล่าวต้อนรับโดย นายอนันต์ ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา ผู้ใหญ่บ้านเชิญผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันลงนามถวายพระพรเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และร่วมมนิทรรศการภาพถ่าย contest ซึ่งกิจกรรมของโครงการทีได้จัดขึ้นก่อนหน้านี้

    • คนในชุมชนร่วมปั่นเพื่อแม่พร้อมกัน(รอบตลาด)ระยะทาง 10 กิโลเมตร

    • ปลูกต้นไม้ร่วมกัน ในพื้นที่บริเวณชุมชน

    • ปั่นเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง โดยเด็กรวมกลุ่มกันเล่าเรื่องราวจากภาพของเเต่ละกลุ่มหลังจากนั้นได้แบ่งกลุ่มเพื่อเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเเละเเจกของที่ระลึก

    • สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ให้ผู้เข้าร่วมได้สะท้อนว่ารู้สึกอย่างไรและได้อะไรบ้างจากกิจกรรมครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนได้จัดกิจกรรมนิทรรศการภาพถ่าย contest/ประกวดภาพถ่ายชีวิตลิขิตเรื่องราว/ประกวดร้องเพลง/สรุปผลการดำเนินงานโครงการและถอดบทเรียน วันที่ 15 สิงหาคม2558 เวลา 8.30-15.30 น. ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่ หมู่5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รายละเอียดการดำเนินงาน จากการเข้าร่วมกิจกรรมนี้ เด็กเยาวชนคณะกรรมการและผูสูงอายุ ผู้ปกครอง

    • คนในชุมชนร่วมปลูกต้นไม้ ประมาณ50ต้น ในพื้นที่สาธารณประโยชน์และร่วมกันดูแลรักษา

    • คนในชุมชนได้มีการพบปะมากยิ่งขึ้น ได้มาร่วมทำกิจกรรมสานสัมพันธ์ และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีในครัวเรือนและชุมชน ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้ร่วมกันมองภาพในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน

    • ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรม ไบค์ ฟอร์ มัม กับคนในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงทำให้เกิดความสามัคคีเเละชุมชนเข้มเเข็ง

    • สิ่งที่ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ในกิจกรรมครั้งนี้ ทุกคนมีความรักความสามัคคีมีน้ำหนึ่งใจเดียวกันและเด็กๆ รู้จักกฎกติกามารยาทมีความเป็นระเบียบวินัย ในการเข้าร่วมกิจกรรม

     

    60 167

    22. เด็กเยาวชนรวมกลุ่มถ่ายภาพพูดคุย สังเกต โดยมีพี่เลี้ยงคอยดูเเล ครั้งที่3

    วันที่ 15 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กิจกรรม รู้จักบ้านฉันผ่านการค้นหาด้วยภาพถ่าย ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2558 เวลา 08:30-15.30น. ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่หมู่5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รายละเอียดการดำเนินงานมีดังนี้

    -08:30-09:00น.ลงทะเบียน

    -09:00-10:00 น.ชี้เเจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบโดยนางสาวนูรมา มะลี บัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เเละกล่าวต้อนรับโดย นายอนันต์ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้านทุ่งใหญ่ หมู่5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลาจากนั้นได้กล่าวชี้แจงรายละเอียดการลงพื้นที่ของน้องๆเยาวชนโดยการแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้เเก่

    -กลุ่มประเพณีและวัฒนธรรม

    -กลุ่มผู้ด้อยโอกาสเเละผู้สูงอายุ

    -กลุ่มภูมิปัญญาชาวบ้าน

    -กลุ่มประวัติชุมชน

    • เยาวชนนำภาพถ่ายมารวบรวมเพื่อให้กับพี่เลี้ยงนำรูปภาพไปปริ้น เพื่อนำไปเขียนเรื่องราวใต้ภาพพร้อมทั้งจัดบอร์ดตกแต่งตามความสามารถและความชอบของแต่ละกลุ่มและเตรียมการแสดงแต่ละกลุ่มเพื่อมาแสดงในวันงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กิจกรรมรู้จักบ้านฉันผ่านการค้นหาด้วยภาพถ่ายในวันที่ 26 กรกฎาคม 2558มีผู้ร่วมงาน 60 คน ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่หมู่5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

    • เด็กๆและเยาวชนได้นำภาพถ่ายของแต่กลุ่มมาถ่ายทอดเรื่องราวให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับรู้

    • เยาวชนสามารถทำงานเป็นทีมได้ รู้จักอดทน มีความสามัคคีกัน

    • เด็กๆและเยาวชนมีความรู้เพิ่มมากขึ้น

    • เด็กๆมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง

     

    60 167

    23. ประชุมกลุ่ม/เครือข่ายเพื่อดำเนินกิจกรรมโครงการ ทุก 3 เดือน

    วันที่ 17 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมในวันที่ 17 ตุลาคม 2558 ณ อาคารอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้านทุ่งใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนาอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

    • ชี้เเจงวัตถุประสงค์ให้คณะกรรมการรับทราบโดย นางสาวนูรมา มะลี บัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และกล่าวต้อนรับโดยนายอนันต์ประทุมสินธุ์

    • วาระการประชุมที่1 :รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมตามแผนงานที่ได้ดำเนินไปแล้ว 2 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมปั่นเพื่อเเม่และเยี่ยมผู้สูงอายุ และเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน

    • วาระการประชุมที่2 :วางเเผนการดำเนินครั้งต่อไปตามเเผนงานที่ได้กำหนดไว้กิจกรรมนิทรรศการภาพถ่าย contest/ประกวดภาพถ่ายชีวิตลิขิตเรื่องราว/ประกวดร้องเพลง/สรุปผลการดำเนินงานโครงการและถอดบทเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการฯเข้าประชุมเพื่่อวางเเผนการดำเนินงานตามเเผนงานโครงการฯ เดือนสิงหาคมเเละสรุปผลการดำเนินกิจกรรมที่ได้ทำไปเเล้วเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานและหาเเนวทางในการเเก้ไขปัญหา

    • วาระการประชุมที่1 : ผลการดำเนินงานกิจกรรมตามเเผนที่ได้ดำเนินงานไปแล้ว 2 กิจกรรม ได้แก่ 1. กิจกรรมปั่นเพื่อแม่ ในวันที่ 15 สิงหาคม 2558 สรุปว่า มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 165 คน เกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้เข้าร่วมได้ออกกำลังกายและทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนสามวัย 2. กิจกรรมคืนข้อมูลสู่ชุมชน ครั้งที่ 2 จากการดำเนินกิจกรรมมีคนในชุมชนเเละชุมชนใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมากเกินกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเยาวชน ครอบครัวรวมไปถึงผู้สูงอายุ

    • วาระการประชุมที่2 : วางเเผนการดำเนินกิจกรรมตามเเผนงาน เดือนตุลาคม 2558 โดยร่วมกันกำหนดวันจัดกิจกรรมกิจกรรมนิทรรศการภาพถ่าย contest สรุปผลการดำเนินงานโครงการเเละถอดบทเรียน ในวันที่ 24 ตุลาคม 2558โดยกิจกรรมจะมีการเเสดงภาพถ่ายกิจกรรมต่างๆ ในโครงการที่ดำเนินมาเเละการเเสดงจากเด็กๆ เเละเยาวชนในโครงการฯ และร่วมถอดบทเรียนการดำเนินงาน

     

    35 35

    24. สรุปผลการดำเนินงานโครงการและถอดบทเรียน /นิทรรศการภาพถ่าย contest/ประกวดภาพถ่ายชีวิตลิขิตเรื่องราว/ประกวดร้องเพลง/

    วันที่ 24 ตุลาคม 2558 เวลา 08.30-15.30น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนได้จัดกิจกรรมนิทรรศการภาพถ่าย contest/ประกวดภาพถ่ายชีวิตลิขิตเรื่องราว/ประกวดร้องเพลง/สรุปผลการดำเนินงานโครงการและถอดบทเรียน วันที่ 24 ตุลาคม 2558 เวลา 8.30-15.30 น. ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่ หมู่5 ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รายละเอียดการดำเนินงาน ดังนี้ิน

    • ชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมได้รับทราบ โดยนางสาวนูรมามะลีบัณฑิตอาสามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และกล่าวต้อนรับโดย นายอนันต์ประทุมสินธุ์ ผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.บ้านนา อ.จะนะจ.สงขลา

    • ผู้เข้่าร่วมรับชมนิทรรศการภาพถ่ายผลการดำเนินงานที่ผ่านมาจากน้องๆ เยาวชนอาสา โดยมีภาพถ่ายกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ ปั่นเพื่อเเม่เยี่ยมผู้สูงอายุรู้จักบ้านฉันผ่านค้นหาด้วยภาพภาพถ่ายประเพณีวัฒนธรรมในชุมชนภาพกิจกรรมการเข้ากลุ่มของเยาวชนในโครงการเป็นต้น

    • รับชมการแสดงจากน้องๆ เยาวชนอาสา มีทั้งหมด 4 ชุด ได้แก่ รำสี่ภาคเต้นประกอบเพลงดิเกฮูลู ร้องเพลงตัดยางสร้างอนาคตซึ่งแต่งเองโดยเยาวชนในชุมชนบ้านทุ่งใหญ่ ร้องโดยวงลูกหันเยาวชนในชุมชน ซึ่งได้รับความสนใจจากคนในชุมชนเป็นอย่างมาก

    • รับชม VDO การดำเนินโครงการที่ผ่านมา และสะท้อนความรู้สึกและความคิดเห็น

    • กิจกรรมถอดบทเรียน โดยแบ่งกลุ่ม 2 กลุ่ม กลุ่มเด็ก/เยาวชน และกลุ่มคณะทำงาน ผู้ปกครองและผู้สูงอายุ โดยมีคำถามในการถอดบทเรียน ดังนี้ 1.กลุ่มเด็กเเละเยาวชนเกิดการเปลี่ยนเเปลงอย่างไรในชุมชน? -มีความเป็นกันเองมีความสนุกสนาน กล้าเเสดงออกมากขึ้น -ภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในโครงการนี้ เรียนรู็ในการคบหาเพื่อน ได้รู้ข้้อมูลความเปลี่ยนเเปลงในชุมชน มีความรับผิดชอบเเละใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2.รู้สึกอย่างไรกับโครงการ -มีความสุขมากขึ้น ประทับใจในโครงการที่จัด ประทับใจในการเยี่ยมผู้สูงอายุ มีความสามัคคีเเละกล้าเเสดงออก 3.ทำอะไรต่อหลังจากนี้้ อยากให้มีโครงการสอนทำขนม อยากให้มีการฝึกการปฐมพยาบาลผู้สูงอายุเบื้องต้น อยากให้การรวมกลุ่มเยาวชนเพื่อฝึกซ้อมดนตรี(ทุนสนับสนุน) อยากให้มีกาารจัดค่ายสามว 1.กลุ่มคณะทำงาน ผู้ปกครองและผู้สูงอายุ ความรู้สึกต่อโครงการคน? -มีความภาคภูมิใจ -ทำให้เด็กมีความกล้าเเสดงออก -ทำให้พบปะเพื่อนใหม่ๆ -เด็กๆมีความเป็นระเบียบวินัยมากขึ้น -มีการเเลกเปลี่ยนกันระหว่างสองศาสนา -ทำให้รู้ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านเพิ่มขึ้น 2.การเปลี่ยนเเปลงของกลุ่มคณะทำงาน ผู้ปกครองและผู้สูงอายุ -มีความภูมิใจที่เข้าร่วมกิจกรรม -มีการติดต่อกันทางกลุ่มไลน์ -มีความสุขเเละดีใจเวลาเด็กๆไปเยี่ยมที่บ้าน -ชุมชนเกิดความเข้มเเข็ง -เด็กๆมีการเปลี่ยนเเปลง มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมีภาวะผู้นำมากขึ้นตรงต่อเวลามากขึ้นมีความรับผิดชอบและกล้าเเสดงออก 3.กลุ่มคณะทำงาน ผู้ปกครองและผู้สูงอายุ โครงการต่อหลังจากนี้ -อสม.น้อยสำหรับผู้พิการ/ผู้ป่วยติดเตียงเเละผู้สูงอายุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการเเละถอดบทเรียนในวันที่ 24 ตุลาคม2558 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านทุ่งใหญ่มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 153 คน

    • จัดนิทรรศการเผยเเพร่ข้อมูลผลการดำงานที่ผ่านมาของโครงการมีการจัดนิทรรศการภาพถ่ายเเละการเเสดงจากน้องๆเยาวชนอาสาและการฉาย VDO ประมวลภาพกิจกรรมต่างๆ ทำให้คนในชุมชนได้รับรู้เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมต่างๆที่ผ่านมาของโครงการ

    • กิจกรรมถอดบทเรียน กลุ่มเด็กและเยาวชนได้ร่วมสะท้อนเเนวคิดและเกิดการเปลี่ยนเเปลงดังนี้ -มีความเป็นกันเองมีความสนุกสนาน กล้าเเสดงออกมากขึ้น -ภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในโครงการนี้ -เรียนรู็ในการคบหาเพื่อน -ได้รู้ข้้อมูลความเปลี่ยนเเปลงในชุมชน -มีความรับผิดชอบเเละใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ -มีความสุขมากขึ้น -ประทับใจในโครงการที่จัด -ประทับใจในการเยี่ยมผู้สูงอายุ -มีความสามัคคีเเละกล้าเเสดงออก

    • กลุ่มคณะทำงาน ผู้ปกครองและผู้สูงอายุ ได้ร่วมสะท้อนเเนวคิดจากโครงการดังนี้
      -มีความภูมิใจที่เข้าร่วมกิจกรรม -มีการติดต่อกันทางกลุ่มไลน์ -มีความสุขเเละดีใจเวลาเด็กๆไปเยี่ยมที่บ้าน -ชุมชนเกิดความเข้มเเข็ง -เด็กๆมีการเปลี่ยนเเปลง มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมีภาวะผู้นำมากขึ้นตรงต่อเวลามากขึ้นมีความรับผิดชอบและกล้าเเสดงออก

    • ผลการระดมความคิดเห็น สรุปว่า ต้องการโครงการต่อเนื่อง มีเเนวคิดจะทำโครงการอสม.น้อยสำหรับผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสเเละผู้สูงอายุซึ่งเป็นโครงการที่ทำให้กลุ่มของเยาวชนเเละคนในชุมชนเกิดความเข้มเเข็งเรียนรู็ซึ่งกันเเละกันทำให้ผู้สูงอายุรู้คุณค่าของตัวเอง มีการจัดการเเละรู้ทักษะในการดูเเลตัวเองมากขึ้น

     

    153 153

    25. ปรึกษาพี่เลี้ยงเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2558 เวลา - 10.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้เเจงรายละเอียดการทำรายงานโครงการโดยพี่ลี้ยง นายอานัติ หวังกุหลำ ให้ผู้รับผิดชอบโครงการได้รับทราบมีดังนี้
      • ง.1
      • ง.2
      • บันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์
      • ส.3
      • ส.4
      • เอกสารการเงิน
      • สมุดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการประชุมหารือกับพี่เลี้ยงโครงการมีการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่ใช้ในการทำกิจกรรมในโครงการเเละการบันทึกกิจกรรมลงเว็บไซต์ทั้งนี้พี่เลี้ยงได้บอกเเนวทางในการเขียนข้อมูลลงเว็บไซต์และการเเก้ไขเอกสารให้ถูกต้อง

     

    4 4

    26. ตรวจสอบรายงานความก้าวหน้าเเละการเงิน

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการส่งเอกสารให้พี่เลี้ยงเเละทีมงานสจรส. มอ. ตรวจสอบเพื่อปิดงวดโครงการมีดังนี้
      • ง.1
      • ง.2
      • บันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์
      • ส.3
      • ส.4
      • เอกสารการเงิน
      • สมุดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการตรวจสอบเอกสารเพื่อปิดงวดโครงการโดยทีมงาน สจรส. มอ.เเละพี่เลี้ยงพบว่าเอกสารที่ส่งปิดงวดโครงการยังมีบางส่วนที่ต้องเเก้ไข เช่น เอกสารการเงินการบันทึกข้อมูลลงเว็บไซต์ ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการได้ทำการเเก้ไข และสามารถส่งเอกสารปิดงวดโครงการได้อย่างถูกต้อง

     

    7 7

    27. ค่าจัดทำรายงานส่ง สสส.

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม คณะทำงาน เจ้าหน้าที่โครงการ ผู้รับผิดชอบฝ่ายต่างๆ รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง ดำเนินการด้านเอกสาร เพื่อจัดส่งรายงานสสส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เอกสารครบถ้วนสมบูรณ์

     

    2 2

    28. ค่าภาพถ่ายกิจกรรม

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการติดภาพถ่ายในชุมชนเพื่อเล่าเรื่องกิจกรรมที่ได้จัดทำและเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ให้ผู้อื่นได้เรียนรู้และทำความเข้าใจต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ทราบผลงานของกลุ่มเยาวชนและหลักฐานในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ  เป็นการทำให้เด็กๆเกิดความภาคภูมิใจในกิจกรรมที่ทำ  และสร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้พบเห็นต่อไป

     

    60 60

    29. ค่าจัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการจัดทำป้ายไวนิลเขตปลอดบุหรี่ เพื่อติดตั้งในบริเวณพื้นที่จัดกิจกรรม หลักเกณฑ์ที่ สสส กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนได้ติดป้ายปลอดบุหรี่ สร้างสถานที่สุขภาวะ ทำให้ปลอดมลพิษในพื้นที่จัดกิจกรรม

     

    60 60

    30. คืนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

     

    2 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง โดยทำหน้าที่เป้นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน ติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - เกิดสภาเด็กและเยาวชน มีสมาชิกอย่างน้อย 20 คน - มีสภาผู้นำชุมชนผู้ใหญ่ที่ขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนและสนับสนุนกิจกรรมของเด็กและเยาวชน - สภาผู้นำชุมชนผู้ใหญ่ สภาเด็กและเยาวชน ติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง - ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน - เด็กและเยาวชนสามารถดำเนินกิจกรรมที่สร้างสรรค์ - เด็กและเยาวชนดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง - สามารถทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม
    • เกิดกลุ่มเยาวชนมีสมาชิก 50 คน
    • เกิดสภาผู้นำชุมชน จำนวน 35 คน ในการขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนและสนับสนุนโครงการกิจกรรมของเด็กและเยาวชน
    • มีการประชุมกลุ่มผู้ใหญ่ เด็กและเยาวชนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งและมีบางช่วงมีการประชุม2 เดือนครั้ง
    • เกิดการทำงานอย่างมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
    • เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของเด็กเเละเยาวชน
    • มีการดำเนินกิจกรรมโดยเด็กเเละเยาวชนเช่น การเก็บขยะบำเพ็ญประโยชน์
    • มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องสำหรับเด็กเเละเยาวชน
    • เกิดการทำงานเป็นทีมของเด็กเเละเยาวชน
    • ประมาณ 15 % ของจำนวนประชากร ที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้ เพราะ บ้านทุ่งใหญ่เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ การรวมตัวของคนหมู่มากจึงเป็นไปอย่างยาก ซึ่งเนื่องจากเวลา และกิจธุระของแต่ละคนไม่ตรงกัน
    2 2.เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญและมีความตระหนักในปัญหาของชุมชน
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เด็กและเยาวชนรู้และเข้าใจทุนและสภาพปัญหาของชุมชน - เด็กและเยาวชนมีความสามารถในการจัดกิจกรรม การสื่อสารที่สร้างสรรค์ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ร้อยละ 60 ของเยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนามีศักยภาพ
    • เกิดการเรียนรู้ของเด็กเเละเยาวชนในบริบทของชุมชน
    • มีการจัดกิจกรรมนิทรรศการภาพถ่าย contest การเเสดงจากเด็กๆเเละเยาวชน เช่น การเเสดงสี่ภาคเต้นประกอบเพลง ดิเกฮูลู
    • 100 %ของจำนวนเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งได้รับการพัฒนาในการเข้าร่วมโครงการคนสามวัยใส่ใจสุขภาวะฯ
    3 3.เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์และการดูแลสุขภาพระหว่าง กลุ่มเด็กเยาวชน ผู้ปกครอง และผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงประมาณ - ร้อยละ 50 ของเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย มีสัมพันธ์ภาพที่ดีต่อกัน คนในชุมชน ผู้นำชุมชน และผู้นำกลุ่มต่างๆ - ร้อยละ 50 คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกกรรมต่างๆ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - คนในชุมชนมีทัศนคติที่ดีต่อกัน - คนในชุมชนยอมรับฟัง ความคิดเห็นของคนอื่นมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ในชุมชน
    • เยาวชนในโครงการนี้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในสัมพันธภาพที่ดี มีมิตรไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน เเละมีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเยาวชน คนในชุมชนผู้นำชุมชนและกลุ่มต่างๆ
    • ประมาณ 15 % ของจำนวนประชากร ที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้ เพราะ บ้านทุ่งใหญ่เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ การรวมตัวของคนหมู่มากจึงเป็นไปอย่างยาก ซึ่งเนื่องจากเวลา และกิจธุระของแต่ละคนไม่ตรงกัน
    4 การบริหารจัดการโครงการ
    ตัวชี้วัด : สามารถบริหารจัดการโครงการได้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ตามระบบ pdca โดยมีการทำ ARR อยู่เป็นระยะเพื่อพัฒนาการบริหารโครงการอย่างต่อเนื่อง
    • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน
    • เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในกระบวนการทำงานของคนในชุมชน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง โดยทำหน้าที่เป้นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน ติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง (2) 2.เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญและมีความตระหนักในปัญหาของชุมชน (3) 3.เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์และการดูแลสุขภาพระหว่าง กลุ่มเด็กเยาวชน ผู้ปกครอง และผู้สูงอายุ (4) การบริหารจัดการโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ คนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่

    รหัสโครงการ 57-02582 รหัสสัญญา 58-00-0080 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การศึกษาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม ใช้เครื่องมือภาพถ่ายเล่าเรื่อง โดยให้เด็กและเยาวชนได้ลงชุมชนและถ่ายภาพที่ตัวเองสนใจ จากนั้นทีมพี่เลี้ยงตั้งคำถามว่า รู้สึกอย่างไรกับภาพ ทำไมถึงถ่าย ภาพนี้สื่อถึงอะไร คิดอย่างไร ให้เด็กและเยาวชนไปสัมภาษณ์เพื่อมาเขียนเป็นเรื่องราว สุดท้ายทุกคนได้หนึ่งภาพกับหนึ่งเรื่องราวในชุมชน

    นิทรรศการภาพถ่ายในชุมชน

    การเจาะลึกเรื่องราวที่น่าสนใจและมีผลกระทบต่อชุมชนในด้านบวกและลบ เพื่อได้แก้ปัญหาชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การสื่อสารด้วยระบบไลน์กลุ่มของคนสามวัย เป็นการสื่อสารที่ไดผลรวดเร็ว และสามารถรับรู้ความคิดของเยาวชน

    คณะทำงานโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มเด็กและเยาวชน ที่รวมตัวเพื่อทำกิจกรรมส่วนรวม

    บันทึกกิจกรรม

    การพัฒนาแกนนำเยาวชนให้สามารถเป็นผู้นำกลุ่มได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

    การรวมกลุ่มเด็กเยาวชนมาทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์อย่างสม่ำเสมอและมีผู้ใหญ่คอยดูแล ช่วยลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้ เช่น ลดการเล่นเกม การขับมอเตอไซ เป็นต้น

    บันทึกกิจกรรม

    การให้โอกาสเด็กเยาวชนมาร่วมกิจกรรมของชุมชนสม่ำเสมอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีพื้นที่สาธารณะ ศาลาเอนกประสงค์และลานออกกำลังกาย เป็นพื้นที่ให้เด็กเยาวชน รวมถึงคนในชุมชนมาทำกิจกรรมร่วมกัน

     

    จัดสถานที่ศาลาเอนกประสงค์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้เพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    กลุ่มสภาผู้นำชุมชนมีการประชุม 1-2 เดือน/ครั้ง

    รายงานการประชุมของชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    การใช้ทุนของชุมชนในการขับเคลื่อนงาน โดยเฉพาะด้านประเพณีวัฒนธรรม โดยให้เด็กเยาวชนเข้ามาเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน

    บันทึกกิจกรรม

    สามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่องได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ชุมชนมีความภูมิใจที่สามารถสร้างกลุ่มคนสามวัยและดำเนินงานมาได้อย่างต่อเนื่อง สร้างบรรยากาศที่ดีให้เกิดขึ้นในชุมชน

    บันทึกกิจกรรมและกิจกรรมในชุมชน

    ดำเนินงานต่อ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    คณะทำงานมีความเสียสละและจัดการเวลามาร่วมกิจกรรมในโครงการสม่ำเสมอ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการเยี่ยมเยียนกันสม่ำเสมอ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    คนสามวัยใส่ใจสุขภาวะชุมชนบ้านทุ่งใหญ่ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 57-02582

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวณฐกานต์ เพชรสุวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด