directions_run

ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลไกขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลโครงการ อย่างมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดสภาผู้นำชุมชน จำนวน 23 คน ที่มาจากกลุ่มองค์กร และกลุ่มต่างๆในชุมชน 1.2 สภาผู้นำชุมชน มีการติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมทุกเดือน จำนวน 10 ครั้ง

 

2 เพื่อเสริมสร้างทักษะและการปรับเปลี่ยนชีวิต โดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมชุมชนมาใช้ในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : 2.1.เกิดกลุ่มกองทุนอาชีพ ไม่น้อยกว่า 4 กลุ่ม ในชุมชน เช่น กลุ่มกองทุนปุ๋ยหมักชีวภาพ,,กลุ่มกองทุนขยะรีไซร์เคิล,กลุ่มกองทุนพลังงานทางเลือก,กลุ่มกองทุนต้นกล้าเมล็ดพันธุ์/พันธุ์กล้าไม้ /ผักอินทรีย์ 2.2.ประชาชนบ้านศาลาคงจันทร์มีความตระหนักลดการใช้ขยะ เช่น ใช้ถุงผ้าซื้อของในตลาด ,ใช้ปิ่นโตในการบรรจุอาหาร ตลอดจนนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย หลังเสร็จสิ้นโครงการ มีพื้นที่เครือข่ายเพิ่มใน 5 ชุมชน 2.3.มีชุดข้อมูลสถานการณ์ขยะในชุมชนบ้านศาลาคงจันทร์ และชุมชนเครือข่ายใกล้เคียง จำนวน 1 ชุด 2.4.เกิดกลุ่มเยาวชน”เยาวชนรักษ์ถิ่น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม” ในโรงเรียนบ้านโคกค่าย จำนวน 50 คน ทำหน้าที่เป็นหู ตา รณรงค์ให้ความรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้านตลอดจนติดตามสถานการณ์ขยะทั้งของชุมชนและโรงเรียน 2.5.ในการจัดการเรียน การสอนของโรงเรียนบ้านโคกค่ายและโรงเรียนใกล้เคียงจำนวน 2 โรงเรียน มีการบรรจุเนื้อหาการบริหารและการจัดการสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยเฉพาะเรื่องการจัดการขยะ เช่น ด้านพลังงานทางเลือก,ด้านเกษตรอินทรีย์, และเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุ่มสาระวิชา 1 กลุ่มสาระ 2.6.มีข้อตกลงที่ประกาศเป็นเขตพื้นที่ลดการใช้ขยะพลาสติก จำนวน 4 เขตพื้นที่ในชุมชน คือ ตลาดนัดชุมชน,สำนักสงฆ์,โรงเรียน,ครัวเรือนในชุมชนบ้านศาลาคงจันทร์ หมู่ 2 2.7.เกิดต้นแบบครัวเรือน จำนวน 30 หลังในการทำงานร่วมกันของคนในชุมชน ในรูปแบบทำงานแบบกลุ่มซอแรงทุกเดือน

 

3 คนในชุมชนมีการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 3.1. มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำบัญชีครัวเรือน และการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมออย่างน้อย ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 10 ครั้ง 3.2. เกิดครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 50 ครัวเรือน ในการทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง 3.3. สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 100 คน มีรายได้เพิ่มขึ้น จากผลผลิตในชุมชน (ดูจากบัญชีครัวเรือน )

 

4 ประชุมติดตามการดำเนินโครงการโดย สสส.สจรส.
ตัวชี้วัด : 4.1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 4.2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2 ,ง.1 ,ง.2 ,ส.3)

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลไกขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลโครงการ อย่างมีส่วนร่วม (2) เพื่อเสริมสร้างทักษะและการปรับเปลี่ยนชีวิต โดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมชุมชนมาใช้ในการดำเนินชีวิต (3) คนในชุมชนมีการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน (4) ประชุมติดตามการดำเนินโครงการโดย สสส.สจรส.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh