directions_run

เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน ”

หมู่ที่5 ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสอีด เพ็ชร์เนียม

ชื่อโครงการ เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน

ที่อยู่ หมู่ที่5 ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 57-02621 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0068

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2557 ถึง 15 พฤศจิกายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่5 ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่5 ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 57-02621 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 147,950.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และมีภูมิต้านต่อปัญหายาเสพติด
  2. เพื่อสร้างแบบแผนกิจกรรมสร้างสรรค์ สร้างความสุขให้เด็กและผู้ปกครอง ลดช่องว่างระหว่างผู้ปกครองกับเด็กร่วมถึงลดความเสี่ยงที่เยาวชนจะเข้าหายาเสพติด
  3. เพื่อการบริหารจัดการ และการติดตามประเมิณผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เปิดบัญชีใหม่

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินเปิดบัญชีในนามโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เปิดบัญชีใหม่ โดยคืนเงินค่าเปิดให้แก่ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นที่เรียบร้อย

     

    2 2

    2. ปฐมนิเทศน์โครงการ

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2558

    09.00 - 10.00 น. กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ โดย ผศ. ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    10.00 - 11.00 น. ความคาดหวัง ประสบการณ์ และแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดย คุณปรีดารัตน์ ศรัทธคุณานนท์กุล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

    11.00 - 12.00 น. การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา โดยคุณกำไล สมรักษ์ - การบริหารการจัดการงบประมาณ (การเก็บหลักฐาน และเอกสารการเงิน) โดยคุุุณสมบูรณ์ ขวัญสงค์ และคุณจุรีย์ หนูผุด - การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน โดยคุณกัญนภัส จันทร์ทอง

    12.00 - 13.00 รับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 - 14.00 น. การจัดการทำการรายงานผ่านเวบไซต์คนใต้สร้างสุข www.haypynetwork.0rg โดยคุณภานุมาศ นนทพันธ์

    14.00 - 21.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ . การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ . ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ . การงานแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ . การรายงานผลการจัดการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม . การจัดทำรายงาน

    30 พฤศจิกายน 2557 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 12.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ (ต่อ). การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์. ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ . การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ. การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม การจัดทำรายงาน 13.00-15.00 น. ประชุมพี่เลี้ยงร่วมกับ สสส. เพื่อการพัฒนาระบบการติดตามประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง ดังนี้   - ใบลงทะเบียนต้องมีรายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม  - บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม  - กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด  (ถ้าเกิน 5000 บาท ต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนทุกครั้ง)  - กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน  บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง (โครงการประกายฝันผู้สูงวัยบ้านควนโพธิ์ หมู่ที่ 2 ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล )    - ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม    - ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร  กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ  กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน    - ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน  **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จะต้องมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย มากกว่า หรือเท่ากับ 5-10 % ของเป้าหมายที่วางไว้ รับรู้การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน  การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์

    - ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org สามารถรับรู้ถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

     

    2 2

    3. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และป้ายโครงการ

    วันที่ 23 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี บริเวณสถานที่จัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้มีคนที่เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักถึงการสูบบุหรีที่เป็นที่ระเกียจของสังคม

     

    1 1

    4. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 เพื่อทำความเข้าใจคณะทำงานพร้อมทั้งปรับเปลี่ยนปฏินโครงการ

    วันที่ 24 มกราคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม

    13.30-14.00 น. พบประประธานโครงการ

    14.00-14.15 น. แนะนำพี่เลี้ยง
    

    14.15-15.45 น. ชี้แจ้งวัตถุประสงค์โดยผู้รับผิดชอบและรายละเอียดต่างในการทำโครงการนี้ ร่วมถึงการทำงานเป็นทีม

    15.45-16.00 น. ประธานโครงการฯสรุปหลังเสร็จเวทีการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เข้าใจถึงวิธีการทำงานอย่างเป็นระบบ
    2. ทราบแนวทางในการแก้ปัญหาของการทำงานเป็นทีม
    3. เอาใจเขามาใส่ใจเราในการทำงานแต่ละครั้ง
    4. ก่อนการทำงานแต่ละกิจกรรมควรมีการประชุมย่อยก่อนการประชุมใหญ่ เพือ่ประโยชน์ในการทำงานร่วมกันอย่างมีระบบ

     

    10 11

    5. ประชุมชี้แจงโครงการและหากลุ่มเป้าหมาย ตรวจคัดกรองเยาวชนเป้าหมาย

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00-16:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    13:30 พบปะประธานโครงการ 13:45 แนะนำพี่เลี้ยง 14:00 ชี้แจ้งวัตถุประสงค์โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 14:15 วิทยากรบรรยายให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายด้านการดำเนินชีวิต เพื่อให้รู้เท่าทันพิษภัยยาเสพติด 15:15 พักเบรก 1ุ5:30 ผู้นำศาสนาปิดเวทีสร้างความเข้าใจ 16:00 คณะทำงานประชุมสรุปบทเรียนหลังเสร็จเวทีประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ตรวจคัดกรองเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเพื่อการติดตามและประเมินผลของกลุ่มเสี่ยง
    • วิทยากรให้ความรู้เรื่องผลกระทบของเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มทั่วไป สรุปได้ว่าการที่เยาวชนใช้สื่อโซเชียลมีเดียเดียวนี้มักใช้ไปในทางทางที่ไม่ดี มีการขายยาเสพติดผ่านโซเชียลต่างๆ ซึ่งทำให้เป็นเรื่องยากมากที่ผู้ปกครองหรือพ่อแม่จะรู้ว่าลูกตัวเองได้ทำสิ่งที่ผิด รู้แต่เพียงว่าลูกอยู่ในห้อง
    • ให้รู้จักการหลีกเลี่ยง และปฏิเสธการเข้าหากลุ่มเยาวชนที่ติดยาเสพติด
    • บทเรียนจากเวทีประชุม พบว่าเยาวชนมีความสุขสนุกสนานกับการได้ฟังวิทยากรบรรยาย และได้ข้อคิดจากการฟังการบรรยาย ร่วมถึงการรู้เท่าทันในโลกโซเชียลมีเดียต่างๆ

     

    102 115

    6. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 2 เพื่อสรุปเวทีคัดเลือกเยาวชนและเตรียมจัดเวทีถัดไป

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00-16:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 - 13.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 13.30 - 15.45 น. ชี้แจ้งวัตถุประสงค์โดยผู้รับผิดชอบ และสรุปผลการดำเนินงานในกิจกรรมที่ผ่านมา 15.45 - 16.00 น. ประธานโครงการฯสรุปหลังเสร็จเวทีการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ทำให้คณะทำงานรู้จักการทำงานเป็นทีม
    2. ทำให้เกิดการประสานงานที่มีประสิทธิภาพนำไปสู่การสร้างสรรค์กิจกรรมในครั้งต่อไป
    3. เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพจากการทำงานเป็นทีม

     

    10 12

    7. ประชุมทีมคณะทำงานและอาสาสมัครเยาวชนจำนวน 30 คนเพื่อกำหนดโซนในการปฎิบัติการ

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00-16:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 - 13.30น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 13.30 - 14.30น. วิทยากรบรรยายให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายในเรื่องการใช้เวาลาว่างให้เกิดประโยชน์ จากนางสาวจรัญญา รังสรรค์
    14.30 - 15.45น. คณะทำงานร่วมกันทำกิจกรรมกับเยาวชนกลุ่มเป้าหมายที่มาเข้าร่วมในกิจกรรมครั้งนี้ 15.45 - 16.00น. ประธานโครงการประชุมสรุปกิจกรรมและรายงานผลการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประธานโครงการกล่าวต้อนรับกลุ่มเยาวชนเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
    2. วิทยากรบรรยายเรื่องการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
    3. ให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายแสดงความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพิษภัยยาเสพติด

     

    30 31

    8. เดินทางมาพบพี่เลี้ยงเพื่อปรับปฏิทินโครงการ

    วันที่ 14 มีนาคม 2558 เวลา 10:00:16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00-16.00 น. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงปฏิทินโครงการ ให้สอดรับกับตัวโครงการ เพื่อให้งบประมาณที่ สสส ให้มาให้ได้ใช้ประโยชน์ทุกบาททุกสตางค์อย่างคุ้มค่าที่สุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่ข้อมูลได้ความรู้เพิ่มจากการไปพบพี่เลี้ยง ร่วมถึงสามารถลงข้อมูลเป็น

     

    2 1

    9. เดินทางมาพบพี่เลี้ยงเคลียร์เอกสารการเงินเพื่อปิดงวดที่ 1

    วันที่ 18 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มาทำความเข้าใจการทำเอกสารโครงการ จัดการเอกสารการเงิน และรับคำแนะนำจากพี่เลี้ยง จำนวน 2 วัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถแก้ไขเอกสาร และรายงานให้มีความถูกต้อง สมบูรณ์มากขึ้น และเข้าใจหลักการทำเอกสารทางการเงิน

     

    2 1

    10. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 3 เพื่อสรุปเวทีที่ผ่านมาและวางแผนการทำงานในกิจกรรมต่อไป

    วันที่ 20 มีนาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 15:00 – 18:00 น นายสอีด เพ็ชร์เนียม กล่าวรายงานที่ประชุมถึงสาเหตุการประชุมเร่งด่วน เนื่องจากงบประมาณที่ทางโครงการได้รับจาก สสส. ทางเราได้ใช้จ่ายงบประมาณไปแล้ว ไม่ถึงครึ่ง ทางเราจึงจำเป็นต้องประชุมเร่งด่วนเพื่อเลื่อนการจัดกิจกรรมให้เร็วขึ้น เพื่อทำการปิดงวดที่1 ให้ทันก่อนถึงวันที่ 25 มีนาคม 2558 เพราะว่าทาง สสส. จะมาตรวจเอกสารการปิดงวดที่1  ในวันดังกล่าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีการแบ่งงานกันทำอย่างชัดเจน
    2. ทางคณะทำงานมีความเข้าใจในการทำงานในกิจกรรมที่จะถึง

     

    10 12

    11. ร่วมปฎิบัติการทีมคณะทำงานและอาสาสมัครเยาวชนจำนวน 30 คนลงพื้นที่ปฎิบัติการทำการตรวจสุขภาพและพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยว

    วันที่ 23 มีนาคม 2558 เวลา 08:00 - 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 08:00 ลงทะเบียน เวลา 09:00 ลงมือทำกิจกรรม เวลา 11:00 พักทานอาหาร เวลา 13:00 ลงมือทำกิจกรรมต่อ เวลา 15:00 ประธานโครงการฯ กล่าวขอบคุณเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ที่ร่วมกันทำกิจกรรม ให้แล้วเสร็จและสำเร็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ทำให้เยาวชนเกิดการใช้เวลาว่างไปในทางที่ดี
    2. ลดช่องว่างระหว่างเยาวชนกับคนชุมชนให้มีความคิดที่ดีต่อกัน
    3. เยาวชนเกิดการรวมกลุ่มกันเป็นหนึ่งเดียวจากการทำกิจกรรม

     

    30 30

    12. มาพบพี่เลี้ยงเพื่อสรุปปิดโครงการงวดที่ 1

    วันที่ 25 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 - 16:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 10:00 ตรวจเอกสารการปิดงวดที่1(ตามคิว)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดความเข้าใจในการทำงานโครงการมากขึ้น
    • ทำให้เข้าใจในการทำเอกสารการเงินมากขึ้น

     

    2 2

    13. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 4 เพื่อเตรียมเวทีติดตามผลเยาวชนในการลงพื้นที่

    วันที่ 12 เมษายน 2558 เวลา 13:00 - 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13:00 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมเพื่อจัดกิจกรรมติดตามผลกลุ่มเป้าหมาย 14:00 แบ่งภาระหน้าที่ในกิจกรรมติดตามผล 14:30 คณะทำงานสอบถามรายละเอียดกิจกรรม 15:30 คณะทำงานรับทราบหน้าที่ของตนเอง 1ุ6:00 ประธานกล่าวปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้กิจกรรมที่จะมาถึงมีความคืบหน้าไปมาก อีกทั้งทำให้คณะทำงานเข้าใจวิธีการทำงานในกิจกรรมมากขึ้น

     

    10 10

    14. ติดตามผลเยาวชนกลุ่มเป้าหมายตามบ้านโดยทีมอาสาสมัครท้องถิ่นในชุมชนเป็นผู้นำทีม ร่วมกันเสนอแนะ ร่วมกันแก้ปัญหา ติดขัดช่วยกันแก้ไข

    วันที่ 16 เมษายน 2558 เวลา 13:00 - 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 16 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ้13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 17 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:30 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 18 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ้13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 15:30 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 19 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ้13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 14:00 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:30 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 20 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 21 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชน 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 15:30 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 22 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 23 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 24 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 25 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 26 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 27 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 28 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 29 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่ วันที่ 30 เมษายน  2558 13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงพื้นที่ 13:30 ประธานกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 13:45 ประธานกล่าวรายงานวาระการประชุมในกิจกรรมการลงพื้นที่ 14:00 แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานในการลงพื้นที่หาข้อมูล 14:10 ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามบ้านที่ได้ตั้งไว้ 15:10 ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่และรายงานปัญหาที่ได้พบเจอในการลงพื้นที่ตามบ้านกลุ่มเป้าหมาย 15:40 พักรับประทานอาหาร 16:00 ประธานกล่าวปิดการประชุมกิจกรรมการลงพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ทำให้ได้รับรู้สภาพการเป็นอยู่และการอยู่บ้านของเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 2.ทำให้คณะทำงานได้รับรู้ปัญหาเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 3.ได้รับรู้ว่าเยาวชนกลุ่มเป้าหมายพร้อมหรือไม่กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีสาระและไม่ทำให้ใครเดือดร้อน 4.ทำให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้สึกดีเมื่อคณะทำงานมาเยี่ยมเยียนที่บ้านตัวเองและมีกำลังใจในการใช้ชีวิตในสภาพสังคมที่เต็มไปด้วยความเสี่ยงจากยาเสพติด

     

    30 30

    15. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 5 เพื่อสรุปการจัดกิจกรรมครั้งที่ผ่านมาและวางแผนจัดทำปฎิทินให้เยาวชนและอาสาสมัครอสม.ร่วมเรียนรู้และนำไปปฎิบัติ

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00: ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    13.30: ประธานโครงการกล่าวเปิดประชุม 14.30: เจ้าหน้าที่ข้อมูลกล่าวสรุปผลการลงพื้นที่ จากการลงพื้นพอที่จะสรุปได้พอสังเขปได้ดังนี้ -คนในชุมชนรู้จักยาเสพติดเกือบทุกชนิดและเกือบทุกคน -บางครัวรู้ว่าสมาชิกในครอบครัวติดยาเสพติด -50เปอร์เซ็นต์คิดว่าคนในครอบครัวเสี่ยงต่อการติดยาเสพติด -บุตรหลานใช้เวลาว่างส่วนใหญ่ไปกับการดูทีวี เล่นเกมส์ เล่นเฟส 15.30: คณะทำงานร่วมกันเสนอแผนการบูรณการ การจัดกิจกรรมให้เข้ากับยุคสมัย 16.00:ประธานโครงการสรุป อีกทั้งบอกสิ่งที่ต้องเตรียมในกิจกรรมถัดไปคือ -จอก ภาชนะใส่บัตร -กระดาษแผ่นชาต -ปากกาเคมี -น้ำดื่ม -ขนมคบเคี้ยว -เลข1จำนวน10ชิ้น -เลข2จำนวน10ชิ้น และกล่าวปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้คณะทำงานได้รู้ข้อมูลที่จะวางแผนการจัดกิจกรรมในการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 1

     

    10 10

    16. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหมู่บ้านเพื่อนำปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติ มาพูดคุยและนำไปปฏิบัติ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ สาเหตุครั้งที่ 1

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00: ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13.30: ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13.45 :ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้โดย นายอัดนาน หลังย่าหน่าย เจ้าหน้าที่ข้อมูลโดยให้เยาวชนแบ่งกลุ่มออกเป็น2กลุ่ม
    15.15 : ตัวแทนกลุ่มสรุปผลการแสดงความคิดเห็น 15.30: พี่เลี้ยงสรุปบทเรียนที่เยาวชนได้แสดงความคิดเห็น 15.45: ประธานโครงการกล่าวปิดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนครั้งที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เยาวชนได้เสนอความคิดเห็นอย่างเต็มที่โดยใช้เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่1นี้ เป็นบันใดไปสู่การจัดกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่2

    กลุ่มที่1ได้หัวข้อ ‘เยาวชนใช้เวลาว่างไปกับการทำอะไรดังนี้’ 1.เล่นเกมส์ 2.เล่นเฟส 3.ทำการบ้าน 4.เล่นไลน์ 5.ดูโทรทัศน์
    6.เที่ยว 7.ฟังเพลง 8.ซักผ้า 9.ล้างจ่าน 10.ถูพื้น 11.ทำอาหาร 12.อ่านหนังสือ 13.ตัดปาล์ม 14.เก็บยาง 15.เล่นฟุตบอล 16.อ่านหนังสือการ์ตูน 17.นินทาเพื่อน 18.เล่นแบตมินตัน 19.ออกกำลังกาย 20.ล้างรถ 21.นอน 22.กินข้าว 23.อาบน้ำ 24.ตกปลา 25.ขี่รถเที่ยว 26.ดำนา 27.รถน้ำต้นไม้ 28.อาบน้ำชลประทาน 29.ปลูกต้นไม้ 30.เก็บขยะ 31.กวาดขยะ 32.เช็ดกระจก 33.ตัดหญ้า 34.แต่งตัว 35.กินน้ำชา 36.ดูบอล 37.ขอเงินพ่อแม่ 38.รีดเสื้อ 39.เก็บขี้ยาง 40.เก็บเห็ด 41.จ่ายตลาด 42.หาหน่อไม้ขาย 43.เก็บทุเรียนขาย 44.เก็บเงาะขาย 45.เก็บลองกองขาย 46.เก็บจำปาดะขาย 47.ร้องเพลง 48.งมหอย 49.หาไข่มดแดง 50.หาของเก่าขาย 51.หากุ้งนาขาย 52.ดักนก 53.หาปลีกล้วย 54.เช็ดโต๊ะกับข้าว 55.ช่วยเหลือคนชรา 56.ช่วยเหลือผู้ประสบภัย 57.ให้อาหารแก่เด็กกำพร้า 58.ทำงานก่อสร้าง 59.ดูหลาน 60.ดูน้อง 61.ให้อาหารแมว 62.เรียนพิเศษ 63.ดูยูทูป 64.ซักผ้า 65.ล้างจาน 66.เก็บยาง 67.ฟังเพลง 68.รดน้ำต้นไม้ 69.ทำกับข้าว กลุ่มที่ 2 ได้หัวข้อ “กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ห่างไกลจากยาเสพติด” 1.ไปเที่ยวต่างจังหวัดกับครอบครัวในวันหยุด 2.เล่นกีฬา 3.ฝึกทำอาหาร 4.ฝึกทักษะภาษาจากยูทูป 5.เต้น 6.วาดภาพ 7.ร้องเพลง 8.เล่นดนตรี 9.ช่วยพัฒนามัสยิด 10.ปั่นจักรยาน 11.จีบสาว 12.เล่นน้ำคลอง 13.เรียนแต่งหน้าทำผม 14.ถ่ายรูปเล่น 15.เล่นโซเชียลพอสมควร 16.ทำการบ้าน 17.ช้อปปิ้ง 18.ดูหนังโรงภาพยนตร์กับครอบครัว 19.ขายของผ่านเน็ต 20.เล่นเกมส์ 21.ต่อนก 22.ตกเบ็ด 23.ไปเที่ยวกับแฟน 24.นั่งคุยเรื่องเพื่อน 25.แชทกับแฟนทางไลน์ 26.อ่านกุรอ่าน 27.ละหมาด 28.ไปดะวะฮ. 29.พักผ่อน

     

    30 32

    17. ประชุมคณะทำงานครั้งที่่ 6 และสรุปผลการดำเนินงานในกิจกรรม ประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหมู่บ้านครั้งที่1 พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมในกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหมู่บ้านครั้งที่2

    วันที่ 14 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    19.00: ลงทะเบียน 19.30 : ประธานกล่าววัตถุประสงค์ในการประชุม 20.00: คณะทำงานที่รับผิดชอบแต่ละกลุ่มกล่าวเพิ่มเติม ในการแสดงความคิดเห็นของเยาชนของกลุ่มตนเอง และร่วมกันวิเคราะห์ และจัดเป็นกิจกรรมในครั้งถัดไป ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ -จัดให้เด็กมีละครสะท้อนความคิดจากการทำกิจกรรมที่ผ่านมา -โดยมีหัวข้อว่า “สังคมก้มหน้าเกิดปัญหาอย่างไร?” -ร่วมกันแก้ปัญหาเด็กบางคนที่ไม่กล้าออกความคิดเห็น อีกทั้งการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นสิ่งที่หายากในเด็กยุคปัจจุบัน แต่ก็มีเด็กส่วนน้อยที่ใช้เวลาว่างที่มีให้เกิดประโยชน์ และคุ้มค่าที่สุด เด็กสมัยนี้ส่วนใหญ่มีกิจกรรมหลากหลายในแต่ละวัน เช่น
    -ทำการบ้าน -อ่านหนังสือเรียน -ทำงานบ้าน -ช่วยทำงานพ่อแม่ ตรงกันข้ามกับเด็กส่วนใหญ่ก็ใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ ในบางครั้ง ก็ส่งผลกระทบต่อการเรียน การเข้าสังคมสิ่งที่เด็กๆชอบปฏิบัติหลายอย่างเช่นกัน -เล่นเน็ต -เล่นเกมส์ -ไปเที่ยว -อ่านหนังสือการ์ตูนที่ไม่มีสาระ -เล่นเฟส -จับกลุ่มมัวสุมยาเสพติด สุดท้ายประธานก็ขอฝากว่า ทุกคนมี 24 ชั่วโมงเท่ากัน อยู่ที่ตัวเราจะใช้มันหมดไปกับอะไร 20.30 ประธานโครงการกล่าวเสนอความเห็นเพิ่มเติมโดยให้เยาวชนร่วมกันทำกิจกรรมนอกสถานที่โดยการนำเยาวชนไปทัศนศึกษา ซึ่งในการทัศนศึกษา จะทำให้เยาวชนรู้คุณค่าของตัวเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตัวเอง และการใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุขโดยไม่พึ่งพายาเสพติด อีกทั้งสรุปมติคณะทำงานดังนี้
    21.00: ประธานโครงการกล่าวปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้คณะกรรมการได้รู้ถึงกิจกรรมที่เยาวชนชอบทำยามว่าง เช่น การเที่ยวเตร่ การเล่นเกมส์ การช่วยพ่อแม่ การฟังเพลง การขายขนม การตกปลา ฯลฯ

     

    10 10

    18. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหมู่บ้านเพื่อนำปัญหามาแก้ไขและนำไปสู่การปฎิบัติครั้งที่2

    วันที่ 21 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00:ลงทะเบียน 13.30 :ประธานโครงการกล่าวต้อนรับเยาวชน และกล่าววัตถุประสงค์ของกิจกรรมในครั้งนี้ 14.00: ให้เยาวชนได้แสดงละครโดยให้คณะทำงานร่วมกันวิเคราะห์ว่าควรเพิ่มเติมอะไรอีกบ้างจากการแสดงของเยาวชน 15.30: คณะทำงานร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าควรให้เยาวชนแสดงอย่างไรเพื่อให้เข้ากับโครงการได้ 16.00 : ประธานกล่าวปิดการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานและเยาวชนมีความเข้าใจมากขึ้นหลังจากที่ทำกิจกรรมก่อนหน้านี้ ในเรื่องเดียวกันนี้ เพื่อนำไปต่อยอดกิจกรรม โดยการแสดง เยาวชนแสดงเรื่อง "เฟสบุ๊ค จุกเบย" ทำให้เยาวชนรูจักการใช้โซเชียลอย่างรู้เท่าทันคนในโลกโซเชียล และการใช้เวลาว่างอย่างเหมาะสมไม่มกมุ่นกลับโลกโซเชียลจนมากเกินไป

     

    30 32

    19. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 7 สรุปผลการดำเนินงานในกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหมู่บ้านครั้งที่3

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 :ลงทะเบียน 13.30 : ประธานโครงการกล่าววัตถุประสงค์ในการประชุมพร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา 14.00: คณะทำงานร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการจัดเวทีประเมินผลว่าควรมีรูปแบบอย่างไร ซึ่งมติของคณะทำงานตกลงกันว่าจะให้ เยาวชนกลุ่มเป้าหมายแสดงความคิดบนเวทีประเมินผล และร่วมกันกำหนดวันประชุมซึ่งมีมติในเรื่องปฏิทินการจัดกิจกรรมดังนี้ 1 สิงหาคม 2558 9สิงหาคม 2558 23สิงหาคม 2558 30สิงหาคม 2558 6กันยายน 2558 13กันยายน 2558 27กันยายน 2558 4ตุลาคม 2558 11ตุลาคม 2558 18ตุลาคม 2558 25ตุลาคม 2558 1พฤศจิกายน 2558 8พฤศจิกายน 2558
    15.30 ประธานโครงการกล่าวสรุปผลการประชุมและลงมติจากการแสดงความคิดเห็นของคณะทำงาน ว่าควรจัดในแบบ เวทีบ้านๆ โดยมีพี่เลี้ยงคอยให้คำแนะนำ 16.00: ประธานโครงการกล่าวปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีความเข้าใจเรื่องพิษภัยของยาเสพติดมากขึ้น จนสามารถมาใส่เสริมเพิ่มเติมในบทละคร เพื่อให้เข้าถึงบทบาทได้ดียิ่งขึ้น

     

    10 10

    20. เวทีประเมินผลเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงและพัฒนางานต่อ ครั้งที่ 1

    วันที่ 26 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 :ลงทะเบียน 13.45: ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมโครงการ และชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ 14.15: พี่เลี้ยงโครงการคืนข้อมูลแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีรายเอียดดังนี้ 1.ยาเสพติดที่ท่านรู้จักมีอะไรบ้าง?
    100%ของผู้ตอบแบบสอบถามรู้จักบุหรี่
    2.ท่านคิดว่าในครอบครัวของท่านมีผู้ติดยาเสพติดหรือไม่? 60%ของผู้ตอบแบบสอบถามมีสมาชิกในครอบครัวผู้ติดยาเสพติด
    3.ท่านคิดว่าสมาชิกในครอบครัวของท่านมีความเสี่ยงติดยาเสพติดหรือไม่? 50%ของผู้ตอบแบบสอบถามมีสมาชิกในครอบครัวเสี่ยงต่อการติดยาเสพติด 4.บุตรหลานของท่านได้ใช้เวลาว่างไปกับการทำอะไร?
    80%ของผู้ตอบแบบสอบถามใช้เวลาว่างไปกับการดูทีวี
    5.บุตรหลานของท่านออกเที่ยวในเวลากลางคืนหรือไม่? 85%ของผู้ตอบแบบสอบถามไม่ออกเที่ยว
    6.ท่านคิดว่ามีสาเหตุใดบ้างที่ทำให้บุตรหลานของท่านติดยาเสพติด?
    85%ของผู้ตอบแบบสอบถามมีสาเหตุมาจากการอยากรู้ อยากลอง
    7.ท่านคิดว่าบุตรหลานของท่านรู้ถึงโทษของยาเสพติดหรือไม่? 80%ของผู้ตอบแบบสอบถามรู้ 8.บุตรหลานของท่านมีเพื่อนติดยาเสพติดหรือไม่ 50%ของผู้ตอบแบบสอบถามไม่มี 9.ท่านคิดว่าวัยรุ่นสมัยนี้ มีแนวโน้มติดยาเสพติดมากขึ้นหรือไม่? 100%ของผู้ตอบแบบสอบถามมีแนวโน้มติดยาเสพติดมาก
    10.ท่านคิดว่าปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ควรรีบแก้ไขหรือไม่? 100%ของผู้ตอบแบบสอบถามคิดว่าปัญหายาเสพติดควรรีบแก้ไข 11.ท่านคิดว่ากิจกรรมใดมีส่วนส่งเสริมในการป้องกันยาเสพติด
    85%ของผู้ตอบแบบสอบถามคิดว่ากิจกรรมทางกีฬา
    12.ท่านคิดว่ายาเสพติดเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาทางสังคมอะไรบ้าง? 90%ของผู้ตอบแบบสอบถามคิดว่ายาเสพติดเป็นสาเหตุให้เกิดการลักขโมย 13.ชุมชน ภาครัฐมีส่วนช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหาได้หรือไม่? 65%ของผู้ตอบแบบสอบถามมี 14.ครอบครัวมีส่วนช่วยป้องกันปัญหายาเสพติดได้หรือไม่? 60%ของผู้ตอบแบบสอบถามได้
    15.ท่านมีเวลาอบรมตักเตือนบุตรหลานและให้ความรู้บุตรหลานท่านได้หรือไม่ 95%ของผู้ตอบแบบสอบถามมีเวลาและให้ความรู้ได้
    16.โครงการของ สสส. ที่มาให้ความรู้แก่บุตรหลานของท่าน ท่านเห็นด้วยหรือไม่? 95%ของผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วย เพราะพ่อแม่เด็กและตัวเด็กเองจะได้ตระหนักถึงพิษยาเสพติด 17.ท่านคิดว่าบุตรหลานของท่านได้รับความรู้จากโครงการของ สสส. หรือไม่ มากน้อยเพียงใด? 70%ของผู้ตอบแบบสอบถามคิดว่าบุตรหลานได้รับความรู้มาก 18.เมื่อบุตรหลานของท่านถูกจับข้อหาเกี่ยวข้องกับติดยาเสพติดท่านจะทำอย่างไร?
    95%ของผู้ตอบแบบสอบถามคิดว่าปล่อยให้โดนจับ จะได้สำนึก 19.ท่านคิดว่าการที่บุตรหลานของท่านติดยาเสพติดท่านควรทำอย่างไร?
    95%ของผู้ตอบแบบสอบถามคิดว่าอบรมบุตรหลานให้รู้จักหลีกเลี่ยงและเลือกคบเพื่อนที่ดี
    20.ท่านมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการช่วยกันป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างไรบ้าง? 1.อยากให้หน่วยงานของรัฐจริงจังและจริงใจกับการปราบยาเสพติด ไม่ใช่จับแล้วปล่อยแบบนี้ 2.พาเยาวชนไปทำกิจกรรมนอกสถานที่เช่นการทำสาธารณะประโยชน์ในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆของจังหวัดสตูลในทุกๆวันอาทิตย์ 3.ขอความกรุณาผู้ใหญ่ควรทำแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นบ้าง 4.เด็กเยาวชนที่ติดยาเสพติดไปแล้วควรพาไปบำบัด และตระหนักถึงอนาคตว่าหากวันนี้เราไม่เปลี่ยนแปลงตัวเองแน่นอนว่าปัญหายาเสพติดในชุมชนบ้านเราก็จะแก้ยากมาก โดยมีรายละเอียดดังนี้ -เยาวชนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ -เยาวชนมีภาวะความเป็นผู้นำมากขึ้น -เยาวชนเชื่อฟังผู้ใหญ่มากขึ้น -เยาวชนมีการร่วมกันเป็นหนึ่งร่วมถึงบรรยายในหัวข้อ “วิถีอิสลามทำให้สังคมสงบสุขได้อย่างไร” โดยนายตรา เหมโคกน้อย 15.30 :ประธานโครงการกล่าวสรุปผลการคืนข้อมูล และกล่าวเสริมเพิ่มเติมจากการบรรยายของพี่เลี้ยงโครงการ 16.00: ประธานโครงการกล่าวปิดกิจกรรมเวทีประเมินผลในครั้งที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เยาวชน มีความเข้าใจถึงสภาพปัญหายาเสพติดมากขึ้นจากการคืนข้อมูล

     

    90 90

    21. พบพี่เลี้ยงเพื่อปรึกษาการประชุมงวดและตรวจสอบเอกสาร

    วันที่ 1 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 09:00 ปรับปรุงปฏิทินกิจกรรม เวลา10:00 ทำความเข้าใจในการทำเอกสารงวดที่2 เวลา 11:00 พี่เลี้ยงตรวจเอกสารงวดที่1 โดยพี่เลี้ยงมีคำแนะนำดังนี้ -รูป 3-6รูป -ความคิดเห็นพี่เลี้ยงถ้าไม่มีห้ามลงชื่อ -หากให้เงินจ่ายแล้วให้ลงในช่องอื่นๆ -หากแก้ไขทำใบใหม่ -ลงรายละเอียดตามแผน -หากทำงานลงใกล้กันให้ทำใบเดียวในใบสำคัญรับเงิน
    12:00 กลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ได้รู้การจัดทำเอกสารในงวดที่2

     

    2 1

    22. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 8 สรุปผลการดำเนินงานในการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนการทำงานในระยะถัดไป

    วันที่ 7 สิงหาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 :ลงทะเบียน 13.30 : ประธานกล่าววัตถุประสงค์ในการประชุมครั้งนี้ โดยได้บอกถึงกระบวนการทำงานโครงการดังนี้ -การบำเพ็ญประโยชน์ -อบรมให้ความรู้ -ศึกษาดูงาน -เรียนรู้ต้นแบบด้านเยาวชน 14.00: คณะทำงานร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานที่ที่จะให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายทำกิจกรรมนอกสถานที่ร่วมถึงการรูปแบบในการจัดกิจกรรมนอกสถานที่ในครั้งนี้ด้วย 15.30 ประธานโครงการกล่าวสรุปมติรูปแบบการจัดกิจกรรม 16.00: ประธานโครงการกล่าวปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีการเสนอแนะรูปแบบการจัดกิจกรรมนอกสถานที่ได้หลายรูปแบบ จึงต้องมีการโหวต ทำให้การทำงานร่วมกันมีทางเลือกในการจัดกิจกรรมนอกสถานที่มากขึ้น และได้เห็นความร่วมไม้ร่วมมือของคณะทำงานมากขึ้น

     

    10 10

    23. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหมู่บ้านเพื่อนำปัญหามาแก้ไขและนำไปสู่การปฎิบัติครั้งที่ 3

    วันที่ 8 สิงหาคม 2558 เวลา 08.30-12.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 : ออกเดินทาง ณ มัสยิดบ้านใหม่ หมู่ที่5 ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังสตูล 09.30: ถึง ณ มัสยิดบ้านเหนือหมู่ที่7 ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังสงขลา 09.45: ลงทะเบียนเยาวชนกลุม่เป้าหมาย และคณะทำงาน 10.00: ชมวีดิทัศน์มัสยิดบ้านเหนือ 10.30: ตัวแทนเยาวชนบ้านเหนือกล่าวต้อนรับคณะและบรรยายเกี่ยวกับ “เยาวชนกับบทบาทในชุมชน” 11.00: ประธานเยาวชนกลุ่มเป้าหมายโครงการฯกล่าวขอบคุณตัวแทนเยาวชนบ้านเหนือ 11.30: รับประทานอาหารว่าง 11.45: ผู้ใหญ่บ้านในฐานะประธานโครงการพบปะเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 12.00: ดร.วิสุทธิ์ บินลาเต๊ะ กล่าวต้อนรับเยาวชนและคณะทำงานโครงการฯ พร้อมทั้งบรรยายพิเศษ “การอยู่อย่างไร ให้อัลลอฮ.รัก” 12.30: เดินทางกลับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เยาวชนเกิดจิตสำนึกรักบ้านเกิด จากการที่ได้ไปทัศนศึกษา และรักตัวเองมากขึ้น ในการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

     

    30 37

    24. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่9 เพื่ิ่อวางแผนการทำงานโครงการในการจัดกิจกรรมถัดไป

    วันที่ 14 สิงหาคม 2558 เวลา 13.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00: คณะทำงานลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม 13.15:พี่เลี้ยงโครงการ กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม พร้อมทั้งสรุปการศึกษาดูงาน ณ มัสยิดบ้านเหนือ และสิ่งที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน 14.15: ผู้ใหญ่บ่านในฐานะประโครงการกล่าวเพิ่มเติ่มจากข้อมูลที่พี่เลี้ยงได้กล่าวมาแล้ว 14.45: คณะทำงานร่วมกันวางแผนกาจัดกิจกรรมในกิจกรรมประชุมประเมินผลการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาต่อแต่ละบ้านครั้งที่2 15.45: ประธานโครงการกล่าวปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีความตระหนักถึงผลกระทบของยาเสพติด หากปล่อยให้ปัญหาเรื้อรังจนทำให้ลูกหลานของตกเป็นทาสของยาเสพติดโดยไม่รู้ตัว ทำให้มีการสร้างแนวร่วมในการจัดกิจกรรมทางด้านกีฬาบริเวณล้านข้างมัสยิด เพื่อให้เยาวชนใกล้ชิดมัสยิดมากขึ้น

     

    10 12

    25. ประชุมประเมินผลการเปลี่ยนแปลงและพัฒนางานต่อแต่ละบ้าน ครั้งที่ 2

    วันที่ 23 สิงหาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13:30 พี่เลี้ยงโครงการกล่าวต้อนรับเยาวชนกลุ่มเป้าหมายและผู้เข้าร่วมกิจกรรม 14:00 ตัวแทนเยาวชนกลุ่มเป้าหมายกล่าวความรู้สึกหลังจากที่ได้ไปทัศนศึกษา ณ มัสยิดบ้านเหนือ จังหวัดสงขลา 14:15 นักวิชาการอิสระบรรยายในหัวข้อ ปัญหาวัยรุ่นกับโลกโซเชียล โดย อาจารย์ อับดุลลอฮ์ อิสมาแอล -การรู้จักใช้โลกโซเชียลอย่างชาญฉลาด เช่น การขายของผ่านโซเชียล ฯลฯ -การรู้เท่าทันสังคมโลกโซเชียล -เยาวชนไม่ควรแชร์หรือโพสและไลค์รูปภาพที่เกี่ยวกับยาเสพติด 15:30 พี่เลี้ยงกล่าวขอบคุณผู้เข้าร่วมกิจกรรม 16:00 ประธานกล่าวปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เยาวชนมีความกล้าพูดกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องและการใช้โซเชียลอย่างชาญฉลาด

     

    90 102

    26. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 30 สิงหาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    19:00 พี่เลี้ยงตรวจเอกสาร ซึ่งสิ่งที่พี่เลี้ยงให้แก้ไขดังนี้ -วันที่ 21 มิถุนายน 2558 คนมาแต่ไม่ลงทะเบียนให้เขาได้เซ็นชื่อด้วย -วันที่26กรกฎาคม 2558 คนมามากแต่ไม่ลงทะเบียนให้เขาได้เซ็นชื่อด้วย 20:30 พี่เลี้ยงให้คำแนะนำในการจัดเอกสารการเงิน 21:00 กลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เจ้าหน้าที่ข้อมูลเกิดความใจมากขึ้นในการทำเอกสาร ร่วมถึงการใช้คำในเอกสารได้อย่างถูกต้อง

     

    1 1

    27. ประชุมเวทีสานงานเสริมพลังร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่

    วันที่ 4 กันยายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 :การแสดงศิลปวัฒนธรรม :กีปัสเรนัง 13.30 : พิธีเปิด ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์ ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 14.00: การเสวนา เรื่อง พลังเครื่อข่ายสุขภาพภาคใต้ เพื่อการขับเคลื่อนประเทศไทย โดย นายประยงค์ รณรงค์ ผศ.ดร.สุกรี หลังปูเต๊ะ ผศ.จำนงค์ แรกพินิจ ดำเนินรายการโดย นพ. บัญชา พงษ์พานิช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เกิดการวางเป้าหมาย การคิดอย่างมีระบบ การวางแผนป้องกันปัญหา

     

    2 1

    28. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 10 เพื่อสรุปผลการทำงานที่ผ่านมาและวางแผนเวทีประเมินผลการทำงาน

    วันที่ 8 กันยายน 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    19:00 ลงทะเบียนคณะทำงาน 19:30 ประธานโครงการกล่าววาระการประชุม
    20:00 คณะทำงานร่วมปรึกษาหารือถึงการจัดกิจกรรมในครั้งหน้า ซึ่งมีมติว่าจะจัดเสวนาโดยให้ผู้ร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการตั้งคำถาม เกี่ยวกับแนวทางการแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน 1.นำเสนอปัญหาด้านเยาวชน -การใช้เวลาว่างโดยไร้ประโยชน์ -เอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่ -ติดเพื่อน -ไม่ชอบอยู่กับครอบครัว -ทะเลาะวิวาท 2.ตกผลึกปัญหา -ติดเพื่อนตามเพื่อน -12-15ปี ทำตัวเป็นใหญ่ 3.หาแนวทางแก้ไข -เล่นกีฬา ณ ลานข้างมัสยิด เพื่อให้เยาวชนผูกพันกับมัสยิดถึงแม้แรกๆเยาวชนจะไม่ละหมาดก็ตาม แต่นานๆไปเยาวชนอาจจะเกิดจิตสำนึกเข้ามัสยิดก็เป็นได้ -เวลามีปัญหาให้หันหน้าเข้ากลุ่ม 4.ลงแผนปฏิบัติโดยการหาอุปกรณ์ในการเล่นกีฬา -ตาข่าย -เหล็กประตู -ไฟส่องสว่างในสนาม -เน็ตวอลเล่ย์ -ลูกวอลเลย์ -เสาเหล็ก 21:00 ประธานกล่าวขอบคุณคณะทำงานและปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีแนวคิดที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กิจกรรมได้อย่างเหมาะสม โดยการบูรณาการกิจกรรม ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ -กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในครั้งถัดไปควรจัดเวทีแบบบ้านๆ เพื่อให้คนในชุมชนได้เข้าใจถึงการจัดกิจกรรม -นำเสนอปัญหาด้านเยาวชน -ตกผลึกปัญหา -หาแนวทางแก้ไข -ลงแผนปฏิบัติ

     

    10 11

    29. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 9 กันยายน 2558 เวลา 13:00-15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    19:00 พี่เลี้ยงตรวจเอสารการเงิน 19:30 พี่เลี้ยงตรวจข้อมูลในการทำกิจกรรมที่ผ่านมา 20:00 พี่เลี้ยงให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสาร ซึ่งสิ่งที่พี่เลี้ยงโครงการแนะนำ -วันที่23 พฤษภาคม 2558 ให้แก้กลุ่มตามแผน ซึ่งแตกต่างกับความเป็นจริง -วันที่21มิถุนายน 2558 ให้แก้กลุ่มให้ตรงกันกับในแผน แต่ความเป็นจริงจะแตกต่างกันก็ได้ แต่ควรเท่ากับหรือมากกว่าในแผนก็ได้ -วันที่26กรกฎาคม 2558 ให้แก้วันจริง เป็น 90 คน หรือมากกว่า เพราะได้มาจริงแต่ไม่ได้ลงทะเบียน 20:30 เจ้าหน้าที่การเงินตรวจความถูกต้องของเอกสารการเงินและตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 21:00 กลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เกิดความพร้อมก่อนการจัดกิจกรรมเวทีถอดบทเรียน ทำให้รู้ข้อบกพร่องที่เกิดจากการพิมข้อมูล และทำให้รู้ว่าจะวางแผนกิจกรรมต่อไปอย่างไร

     

    1 1

    30. เวทีประเมินเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงและพัฒนางานต่อครั้งที่ 3

    วันที่ 10 กันยายน 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00:ลงทะเบียน 13.30 :ประธานโครงการกล่าวต้อนรับเยาวชน และกล่าววัตถุประสงค์ของกิจกรรมในครั้งนี้ 14.00:คณะทำงานร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าควรมีการจัดกิจกรรมวันฮารีรายาเพื่อสร้างความสามัคคีภายในชุมชน ซึ่งเยาวชนมีความเห็นว่า สมควรจัดกิจกรรมวันฮารีรายาในทุกๆปี ซึ่งครั้งนี้ เป็นครั้งที่1 โดยในกิจกรรม มีการจัดทั้งกีฬา และการแสดงออกของเยาวชนในทางที่ถูกต้อง อีกทั้งทำให้คนในชุมชนมีความสามัคคี จากการร่วมตัวของเยาวชนและคนในชุมชน อีกทั้งลอดช่องว่างระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก 15.30: พี่เลี้ยงกล่าวสรุปผลการลงมติว่า เราควรจัดกิจกรรมวันฮารีรายาทุกๆปี โดยปีนี้กำหนดให้เป็นครั้งแรก 16.00 : ประธานกล่าวปิดการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เกิดการจัดกิจกรรมขึ้นในวันฮารีรายา ซึ่งมีการแสดงของเยาวชน รวมถึงเกิดการออกกำลังกายของคนในชุมชน อีกทั้งทำให้เกิดประเพณีนิยมขึ้นในการจัดกิจรรมขึ้นในว้นฮารีรายาฮัจยี จนทำให้เกิดเป็นกิจกรรมประจำปี ซึ่งปีนี้เป็นครั้งที่1

     

    96 90

    31. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหมู่บ้านเพื่อนำปัญหามาแก้ไขและนำไปสู่การปฎิบัติครั้งที่ 4

    วันที่ 12 กันยายน 2558 เวลา 19:00-21:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    19.00 :ลงทะเบียน 19.30 : ประธานกล่าววัตถุประสงค์ในการประชุมครั้งนี้ 20.00: คณะทำงานและเยาวชนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เวลาว่างของเยาวชนพร้อมทั้งแนะแนวทางการใช้เวลาที่ถูกต้อง อีกทั้งเยาวชนมีปัญหาเดิมอยู่เช่น -เรื่องการใช้เวลาว่าง -ติดเพื่อน -เชื่อคนง่าย(บางคน) -รังเกียจครอบครัว(บางคน) -ทะเลาะวิวาท -ติดเกมส์ -ติดเฟส ซึ่งมีแนวทางแก้ไขดังนี้ -เล่นกีฬา ณ ลานข้างมัสยิด -มีปัญหาเข้าหากลุ่มโครงการ เยาวชนเสนอ สิ่งที่อยากได้
    -ตาข่าย -เหล็กเสาประตู -สปรอทต์ไลเวลาเล่นตอนกลางคืน -เน็ตวอลเลย์ -เสาเหล็ก อีกทั้งเยาวชนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าปีหน้าจะทำโครงการเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง ซึ่งมีการแสดงความคิดเห็นดังนี้ -โครงการบัญชีครัวเรือนแม่บ้านบ้านใหม่ -โครงการแก้ปัญหาเบาหวานระดับชุมชน -โครงการเศรษฐกิจพอเพียงกับเยาวชนบ้านใหม่ -โครงการเรียนรู้เพื่อรู้เท่าทันโลกภายนอก -โครงการเยาวชนบ้านใหม่อนุรักษ์วิถีชุมชนสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนั้นเมื่อมีการเสนอมาหลายโครงการจึงมีการโหวต ซึ่งโครงการที่เยาวชนและคณะทำงานเห็นว่าเป็นโครงการที่สามารถต่อยอดได้ดีกับโครงการในปีนี้คือ โครงการเยาวชนบ้านใหม่อนุรักษ์วิถีชุมชนสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
    ฉะนั้นแล้วในปีหน้าทางคณะทำงานจึงเลือกโครงการดังกล่าวเพื่อต่อยอด 20.30 ประธานโครงการกล่าวสรุป 21.00: ประธานโครงการกล่าวปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เยาวชนตระหนักถึงการใช้เวลาว่างอย่างถูกต้องเป็นอย่างไร โดยมีรายละเอียดดังนี้ -เยาวชนควรเล่นเฟสให้น้อยลง -เยาวชนควรช่วยงานพ่อแม่บ้าง -เยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ควรทำตัวอย่างที่ดีให้น้องๆได้เห็นบ้าง -เยาวชนควรรู้จักหน้าที่และบทบาทของตัวเองในครอบครัว -ในแต่ละครั้งที่มีการประชุมตัวแทนเยาวชนควรเข้าประชุมด้วย

     

    30 30

    32. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 11 เพื่อสรุปผลการทำงานที่ผ่านมา พร้อมทั้งวางแผนการจัดกิจกรรม ถอดบทเรียนโครงการ ในระยะเวลา 1 ปี มีอะไร เปลี่ยนแปลงไปในทางใดบ้าง

    วันที่ 18 กันยายน 2558 เวลา 18:00-21:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    18.00 :ลงทะเบียน 18.30 : ประธานกล่าววัตถุประสงค์ในการประชุมครั้งนี้ 19.00: คณะทำงานร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการจัดกิจกรรมถอดบทเรียน ซึ่งมีหัวข้อดังนี้ 1.ที่ผ่านมาทำอะไรบ้าง -ประชุมคณะทำงานทีมกลไกในการขับเคลื่อนฯจำนวน 10 คนจำนวน 12 ครั้ง โดยคณะทำงานประชุมร่วมกันทุกเดือนและร่วมสรุปผลการจัดกิจกรรม -การสืบค้นข้อมูลวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์พื้นที่ ทำให้ได้รู้ว่าชุมชนบ้านใหม่เป็นพื้นที่สีแดงในเรื่องของยาเสพติดโดยเฉพาะน้ำกระท่อม -การคืนข้อมูลชุมชน -การอบรมยาเสพติดพร้อมทั้งประชุมชี้แจงโครงการ หากลุ่มเป้าหมายในเวทีประชาคมหมู่บ้านรับสมัคร 30 คน
    อีกทั้งวิทยากรให้ความรู้เรื่องผลกระทบของเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มทั่วไป ให้รู้จักการหลีกเลี่ยง และปฏิเสธการเข้าหากลุ่มเยาวชนที่ติดยาเสพติด -การทำกิจกรรมสาธารณะประโยชน์โดยการทาสีโดมมัสยิด -ลงพื้นที่ติดตามผลเยาวชนกลุ่มเป้าหมายตามบ้านโดยทีมอาสาสมัครท้องถิ่นในชุมชนเป็นผู้นำทีม ร่วมกันเสนอแนะ ร่วมกันแก้ปัญหา
    -การทัศนศึกษาและการดูงาน ณ มัสยิดบ้านเหนือ จังหวัดสงขลา -เยาวชนเล่าประสบการณ์การใช้เวลาว่าง -เยาวชนแสดงละครสะท้อนปัญหาสังคมในวันฮารีรายาอีดิ้ลอัฏฮา -การถอดบทเรียนการทำงาน 2.มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง -เยาวชนมีการร่วมกลุ่มเป็นกิจจะลักษณะ -ทำให้เยาวชนรู้จักบทบาทหน้าที่ของตัวเอง -ทำให้เยาวชนมีความกล้าแสดงออก -ทำให้เยาวชนรู้จักคุณค่าของตัวเอง 3.เด็กเยาวชนเปลี่ยนแปลงอย่างไร -เยาวชนมีภาวะความเป็นผู้นำสูงขึ้น -เยาวชนเชื่อฟังผู้ใหญ่มากขึ้น -เยาวชนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการเล่นกีฬา ณ ลานมัสยิด -เยาวชนมีการร่วมกลุ่มเป็นหนึ่ง 4.มีกิจกรรมอะไรที่ทำร่วมกัน -ทาสีโดมมัสยิด -ศึกษาดูงาน ณ มัสยิดบ้านเหนือ จังหวัดสงขลา -ร่วมกันคิดบทละครสะท้อนสังคมเพื่อที่ได้แสดงในวันฮารีรายาอีดิ้ลอัฏฮา ซึ่งข้อมูลทั้งหมดได้มาจากคณะทำงานร่วมกันออกความคิดเห็น แสดง ผลงานที่ผ่านมา นำข้อมูลที่ได้เพื่อนำไปสรุปผลการดำเนินโครงการ 20.30 ประธานโครงการกล่าวสรุป 21.00: ประธานโครงการกล่าวปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเสนอรูปแบบที่หลากหลายทำให้ได้รูปแบบที่มากขึ้นแล้วมาบูรณการกิจกรรมให้เป็นแบบเดียวกัน

     

    10 10

    33. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 19 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13:00 พี่เลี้ยงตรวจเอสารการเงิน 13:30 พี่เลี้ยงตรวจข้อมูลในการทำกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งในเวปไซต์และเอกสารการเงิน 14:00 พี่เลี้ยงให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสาร เช่นการลงข้อมูล 14:30 เจ้าหน้าที่การเงินตรวจความถูกต้องของเอกสารการเงินและตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 15:00 กลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เจ้าหน้าที่เข้าใจการทำเอกสารมากขึ้น

     

    2 1

    34. ถอดบทเรียนโครงการ ในระยะเวลา 1 ปี มีอะไร เปลี่ยนแปลงไปในทางใดบ้าง

    วันที่ 27 กันยายน 2558 เวลา 13:00-20:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13:00 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13:30 ประธานกล่าวต้นรับวิทยากรและผูเข้าร่วมกิจกรรมพร้อมทั้งเล่าประวัติความเป็นมาของโครงการนี้ 14:30 พี่เลี้ยงแนะนำชื่อวิทยากรและเยาวชนแนะนำตัวเอง 15:30 วิทยากรจัดให้มีการแยกกลุ่ม 3 กลุ่ม แล้วแสดงความคิดเห็นจากหัวข้อต่างๆ
    วิทยากร มยุรี จุ้ยพริกได้สรุป 18:00 แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาพูดในหัวข้อต่างๆที่ได้รับ ซึ่งบางกลุ่มพรีเซนต์ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป 18:30 ประธานโครงการกล่าวขอบคุณวิทยากรและกล่าวสรุปผลการถอดบทเรียน 18:45 ตัวแทนเยาวชนกล่าวความรู้สึกหลังจากได้ทำกิจกรรมทั้งหมดของโครงการนี้ “ผมภูมิใจที่ได้ไปมัสยิดบ้านเหนือ ที่นั้นเขาทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ คนในชุมชนมีความสามัคคีเป็นอย่างมาก มีการจัดกิจกรรมทุกวันศุกร์ คือ การเลี้ยงน้ำชา เพื่อให้คนในชุมชนที่มาบริจาคเงินเพื่อมาพัฒนามัสยิดบ้านเหนือให้ดีขึ้น” 19:00 รับค่าเดินทางและกลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ได้รู้ถึงความรู้สึกของเยาวชนกลุ่มเป้าหมายในมุมมองต่างๆหลากหลายความรู้สึกที่ดีและไม่ดีในโครงการนี้ ผ่านหัวข้อต่างๆไม่ว่าจะเป็น "ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมแต่ครั้ง" "ความประใจในการเข้าร่วมโครงการ"
    หรือแม้กระทั้งการทำสัญญาประชาคมเยาวชน ว่าพวกเขาจะลดละเลิกพฤติกรรมที่สร้างความเดือดร้อนให้กับคนในชุมชน

    ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน -มีเด็กนอกชุมชนเข้ามามั่วเวลาทำกิจกรรมตอนกลางคืน -มาไม่ตรงเวลา
    -ชอบพูดในขณะที่วิทยากรกำลังพูด -ช่วงแรกมากันไม่ครบทุกคน -ชอบเล่นโทรศัพท์ขณะประชุม -เรียกเยาวชนยากมากเพราะมีการเข้าใจผิดว่าจะมีการตรวจปัสสาวะ

    อะไรที่คิดว่าทำแล้วจะไม่ทำอีก -จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
    -ไม่โดดเรียน -ไม่โกหก -ไม่โกง -เวลามีปัญหาก็จะมาตกลงกันไม่นิ่งคิดแก้ปัญหาอยู่คนเดียว -ไม่ซิ่งรถรบกวนชาวบ้าน

    ความประทับใจในโครงการ -ได้ไปศึกษาดูงานนอกสถานที่ -เอาเด็กนอกชุมชนมาช่วยกันทำโครงการ -ได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆในชุมชน -ที่ได้มาทำงานร่วมกับคณะทำงานที่น่ารัก -ได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน -ได้ความรักความสามัคคี -ได้บูรณะให้กับมัสยิด -ได้ไปศึกษาดูงานทำให้เรามีความคิดที่จะพัฒนาหมู่บ้านของเราให้ดีขึ้น -ได้แสดงละครร่วมกัน -ได้ความรู้มากมายจากวิทยากรหลากหลายท่านที่มา

    สิ่งที่เราอยากจะทำต่อไป -อยากให้เยาวชนเลิกยาเสพติด โดยการหันหน้าเข้ามาออกกำลังกาย และจะมีการจัดกีฬาในทุกอาทิตย์ แข่งขันกับหมู่บ้านเป็นลีกระดับตำบล -อยากมีโครงการต่อยอดเพื่อการพัฒนาเยาวชนต่อไป -อยากให้มีการจัดอาชีพให้ความรู้แก่เยาวชนในด้านนั้นๆ ทำแล้วได้อะไรได้กับใคร -ได้ความรู้ -ได้ความสามัคคีในชุมชน -ลดช่องว่างระหว่างวัยของคนในชุมชน -เกิดการทำงานเป็นทีม -ได้กับตัวเราเอง -ทำให้เยาวชนมีความกล้าแสดงออก - กล้าคิด - กล้าทำ - กล้าเสนอความคิดเห็น
    -ได้มัสยิดที่น่าอยู่และชุมชนที่น่าอยู่ -เยาวชนเกียจชังกับยาเสพติดมากขึ้น

     

    32 33

    35. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 3 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00-15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13:00 พี่เลี้ยงตรวจเอกสารการเงิน 13:30 พี่เลี้ยงตรวจข้อมูลในการทำกิจกรรมที่ผ่านมาในเวปไซต์ 14:00 พี่เลี้ยงให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสารเพื่อที่จะนำเสนอในวันที่จัดกิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน 14:30 เจ้าหน้าที่การเงินตรวจความถูกต้องของเอกสารการเงินและตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง 15:00 กลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เจ้าที่ข้อมูลมีการนำเสนอในหลายๆรูปแบบ

     

    1 1

    36. เวทีสร้างกำลังใจจัดให้มีการประกวดต้นแบบผู้ปกครองดีเด่น

    วันที่ 4 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00-00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00: ลงทะเบียน 13.30 : ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมโครงการ และชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมในครั้ง 15.30 ร่วมละหมาดอัสรีพร้อมกัน 16.00: ประธานโครงการกล่าวเปิดกิจกรรม 17.00 : เยาวชนละเล่นกิจกรรมพื้นบ้าน 18.45: ละหมาดมักริบพร้อมกัน 19.00: พี่เลี้ยงโครงการกล่าวเปิดกิจกรรมภาคกลางคืน โดยนายตรา เหมโคกน้อย 19.20:ชมการละเล่นลิเกฮูลู 20.30 :ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในภาคกลางคืน 21:00 : ชมการแข่งขันขับร้องอนาเชด 21:30 : ชมการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ 22:30 : ชมการแข่งขันอาซาน 23:00 : ชมการเล่นละคร 00.00: ประธานโครงการกล่าวขอบคุณผู้เข้าร่วมกิจกรรมและกล่าวปิดกิจกรรมเวทีสร้างกำลังใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้คนในชุมชนกิดความสามัคคีจาการร่วมตัวกันของเยาวชนและคนในชุมชนอีกทั้งเป็นการลดความแตกแยกของคนในชุมชน 

     

    90 130

    37. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 12 เพื่อสรุปปิดโครงการและวางแผนในการจัดทำโครงการปีที่ 2ประชุมของคณะทำงาน

    วันที่ 9 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    19.00: ลงทะเบียน 19.30 : ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมโครงการ และชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ 20.30 และชมวิดีทัศน์เกี่ยวกับการสรุปผลการดำเนินงานและโครงการในปีหน้า 21.00: ประธานโครงการกล่าวเปิดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เกิดการเตรียมความพร้อมในการรับมือกิจกรรมในเวทีสรุปผลการดำเนินงาน ว่ามีควรมีรูปแบบในแบบใด

     

    10 10

    38. สรุปผลการดำเนินงาน และขยายผลจากชุดความรู้การหลีกเลี่ยงยาเสพติด

    วันที่ 11 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 - 20:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา13.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมงาน เวลา14.00 น. ชมวีดิทัศน์เรื่อง ทั่วถิ่นแดนไทย แบบพื้นถิ่นชุมชนเขาพญาบังสา ต่อด้วยชมวิดีทัศน์สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ เวลา14.30 น. ประธานโครงการพบปะผู้เข้าร่วมเวทีฯ โดย นายสอีด เพ็ชรเนียม ได้กล่าวถึงผลการดำเนินที่ผ่านมา ตลอดระยะเวลา 1ปี ได้ทำกิจกรรมอะไรไปบ้าง โดยมีรายละเอียดผลการดำเนินงานดังนี้ 1.ประชุมคณะทำงานทีมกลไกในการขับเคลื่อนฯจำนวน 10 คนจำนวน 12 ครั้ง โดยคณะทำงานประชุมร่วมกันทุกเดือนและร่วมสรุปผลการจัดกิจกรรม 2.การสืบค้นข้อมูลวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์พื้นที่ ทำให้ได้รู้ว่าชุมชนบ้านใหม่เป็นพื้นที่สีแดงในเรื่องของยาเสพติดโดยเฉพาะน้ำกระท่อม 3.การคืนข้อมูลชุมชน 4.การอบรมยาเสพติดพร้อมทั้งประชุมชี้แจงโครงการ หากลุ่มเป้าหมายในเวทีประชาคมหมู่บ้านรับสมัคร 30 คน
    อีกทั้งวิทยากรให้ความรู้เรื่องผลกระทบของเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มทั่วไป ให้รู้จักการหลีกเลี่ยง และปฏิเสธการเข้าหากลุ่มเยาวชนที่ติดยาเสพติด 5.การทำกิจกรรมสาธารณะประโยชน์โดยการทาสีโดมมัสยิด 6.ลงพื้นที่ติดตามผลเยาวชนกลุ่มเป้าหมายตามบ้านโดยทีมอาสาสมัครท้องถิ่นในชุมชนเป็นผู้นำทีม ร่วมกันเสนอแนะ ร่วมกันแก้ปัญหา
    7.การทัศนศึกษาและการดูงาน ณ มัสยิดบ้านเหนือ จังหวัดสงขลา 8.เยาวชนเล่าประสบการณ์การใช้เวลาว่าง 9.เยาวชนแสดงละครสะท้อนปัญหาสังคมในวันฮารีรายาอีดิ้ลอัฏฮา 10.การถอดบทเรียนการทำงาน 11.สรุปผลการดำเนินโครงการตลอดระยะเวลา 1 ปี เวลา15.30 น. เติมเต็มประสบการณ์ด้านเยาวชน
    - นายกองค์การบริหารส่วนตำบลควนโพธิ์ - กำนันตำบลควนโพธิ์ - ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุขภาพตำบลควนโพธิ์ - ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านใหม่ - อีหม่ำมัสยิดบ้านใหม่ เวลา17.30 น. -ตัวแทนเยาวชนกล่าวความรู้สึกตลอดระยะเวลาที่ได้เข้าร่วมโครงการ โดย นายราเชน ทร์ ปังหลีเส็น เวลา18.00 น. –พี่เลี้ยงโครงการกล่าวสรุป และตั้งคำถามพร้อมแจกของขวัญรางวัล คำถามมีทั้งหมด 5 ข้อจากการบรรยายของวิทยากร 1.สสส. แปลว่าอะไร ตอบ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 2.ทำไมมาเลเซีย กินใบกระท่อมถึงไม่ผิด ตอบ เพราะรูดใบแล้วกินสดๆ 3.เด็กมัธยมชั้นปีใหนที่คลอดลูกทิ้งถังขยะ ตอบ ม.6 4.ยาเสพติดที่อันตรายอันดับหนึ่งของโลกมีชื่อว่าอะไร ตอบ คร๊อกคอดิว 5.บุหรี่ไฟฟ้าผลิตที่ประเทศใหน ตอบ จีน และเจ้าหน้าที่ข้อมูลได้กล่าวสรุปโครงการที่จะทำในปีหน้า มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชนบ้านใหม่ตระหนักถึงปัญหายาเสพติดที่นับวันทวีความรุนแรงมากขึ้น อีกทั้งยังเป็นการให้เยาวชนเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร่วมถึงเป็นการอนุรักษ์วิถีชุมชน ร่วมถึงการลดช่องว่างระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่อีกด้วย เพราะการที่เยาวชนจะได้เรียนรู้วิถีชุมชนจะต้องเข้าหาผู้ใหญ่คนเฒ่าคนแก่ในชุมชนเพื่อเรียนรู้วิถีชุมชนและการอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ไว้มิให้หายไปจากชุมชนบ้านใหม่ของเรา อีกทั้งเป็นการสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ๆในโอกาสต่อไปอีกด้วย
    โครงการนี้อาจจะแก้ปัญหาได้ไม่ตรงจุดเท่าใดหนัก แต่ทางคณะทำงานเชื่อว่า หากโครงการเกิดขึ้นมาจริงๆแน่นอนที่สุดเลยว่า พลังเล็กๆของเยาวชนบ้านใหม่และคนในชุมชนบ้านใหม่จะเล็งเห็นความสำคัญและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดเป็นอย่างมาก และอาจจะเปลี่ยนชุมชนจากที่เคยมียาเสพติดเป็นชุมชนที่ยาเสพติดน้อยที่สุดก็เป็นได้ ถึงอย่างไรก็ตาม ทางคณะทำงานมองว่าเยาวชนบ้านใหม่ มีศักยภาพในการเปลี่ยนชุมชนบ้านใหม่ไปในทางที่ดีขึ้นได้อย่างแน่นอน แม้กาลเวลาจะผ่านไปเพียงใด หากเรามีความรักยึดมั่นในวิถีท้องถิ่นที่เป็นอยู่ จะผ่านเวลาไปนานเท่าไหร่ เราก็มีความสุขและรอยยิ้มแบบคนในชุมชนบ้านใหม่ 20:00 น. ประธานโครงการกล่าวขอบคุณและกลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ชาวบ้านในชุมชนได้ชมและทำให้ชาวบ้านตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของโครงการนี้

     

    92 110

    39. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 15 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09:00 พี่เลี้ยงตรวจเอกสารและดูในเว็ป ซึ่งสิ่งที่พี่เลี้ยงให้คำแนะนำดังนี้ -ส.3 ทำตัวชี้วัด (พิมพ์ลงเว็ป) -ตรวจเช็คค่าใช้จ่ายในเว็ป ให้ตรงกันกับใบสำคัญรับเงิน -ง.1 งวด 2 -รายงาน ง.2 -สำเนาบัญชี -วันที่14 มิถุนายน 2558 เพิ่มผลที่เกิดขึ้น เช่น เยาวชนทำอะไรในยามว่าง การไปทัศนศึกษา เรียนรู้ถึงอะไรบ้าง ศึกษาเรื่องอะไรบ้าง -วันที่21มิถุนายน 2558 เพิ่มผล การแสดงละครเรื่องอะไร สร้างการเรียนรู้เรื่องอะไร เยาวชนมีความเข้าใจเรื่องอะไรมากขึ้น -วันที่ 26 กรกฎาคม 2558 เพิ่มผล การคืนข้อมูลมีข้อมูลอะไรบ้าง/ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงมีอะไรบ้าง -วันที่23สิงหาคม 2558 เพิ่มผลเรียนรู้เรื่องโซเชียลเรื่องอะไรบ้าง อธิบายเพิ่มเยาวชนเรียนรู้ตระหนักโซเชียลอย่างไรบ้าง -วันที่8กันยายน 2558 เพิ่มผลคณะทำงานมีแนวคิดอย่างไร ที่นำมาประยุกค์ใช้ -วันที่12กันยายน 2558 เพิ่มผล การแสดงความคิดเห็นมีอะไรบ้าง -วันที่11ตุลาคม 2558 เพิ่มผลสรุป (เอาจากเล่มสีฟ้ามาใส่เพิ่ม) หรือแนบไฟล์เล่มสีฟ้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่ข้อมูลได้รู้และใจในระดับที่พอใช้ได้

     

    3 1

    40. ล้างอัดขยายภาพ

    วันที่ 17 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ล้างรูปสรุปปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รูปสรุปโครงการนำไปเผยแพร่ต่อไป

     

    1 1

    41. ทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 25 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    .

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    .

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และมีภูมิต้านต่อปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานประชุมร่วมกันทุกเดือน ร้อยละ 80 2. คณะทำงานที่เป็นกลุ่มแกนนำเรียนรู้เรื่องการเอาใจใส่แก่เยาวชน จำนวน 30 คน

    มีการเข้าร่วมประชุมของคณะทำงานและการเอาใจใส่การเข้าใจเยาวชนมีมากขึ้น ทำให้บรรลุเป้าหหมายที่ตั้งไว้ คือ คณะทำงานเข้าประชุม100% เยาวชนและคณะทำงานมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน มีการเชื่อฟังของเยาวชนมากกว่าก่อนที่จะเริ่มโครงการ

    2 เพื่อสร้างแบบแผนกิจกรรมสร้างสรรค์ สร้างความสุขให้เด็กและผู้ปกครอง ลดช่องว่างระหว่างผู้ปกครองกับเด็กร่วมถึงลดความเสี่ยงที่เยาวชนจะเข้าหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด : 1.มีปฏิทินแผนกิจกรรมชุมชน 2.มีการทำกิจกรรมร่วมกันของคนภายในชุมชนทั้งเด็ก ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ฯลฯ 3.อาสาสมัครมีความรู้การเข้าถึงเยาวชนและรู้จักเอาใจใส่ต่อเยาวชนร้อยละ 80 4.มีคณะกรรมการและอาสาสมัครหรือ อ.ส.มและแกนนำกลุ่มบ้าน ร่วมติดตามการเยี่ยมเยียนผู้ปกครองเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่ติดยาเสพติดไปแล้ว 5.มีเยาวชนตัวอย่าง และบ้านต้นแบบมาแลกเปลี่ยนความรู้ ร้อยละ 80 6.อ.ส.มหรือเจ้าหน้าที่ร.พ.ส.ตมีการร่วมเวทีประเมินผลทุกครั้ง ร้อยละ 80 7.เกิดชุดความรู้คืนสู่ธรรมชาติบ้านใหม่และขยายผลได้ 1 ชุด 8.เกิดต้นแบบเยาวชนของชุมชน 2 แบบ 9.ประชาชนในหมู่บ้านร่วมเวทีเรียนรู้ ชุดความรู้การหลีกเลี่ยงยาเสพติดร้อยละ 80

    ในแต่ละเดือนมีการประชุมของคนในชุมชน และการเข้าร่วมกิจกรรมแต่ละครั้งมีผู้สนใจค่อนข้างมาก อีกทั้งการเข้าใจเยาวชนก็มีมากไปด้วย โดยมีคณะทำงานเป็นกำลังหลักในการร่วมกันติดตามกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เข้าไปยุ่งกับยาเสพติดโดยการออกกำลังกาย ซึ่งในเยาวชนต้นแบบก็มีเยาวชนที่รู้เรื่องยาเสพติดที่คอยให้คำแนะนำเพื่อนๆในกลุ่มเดียวกันให้รู้ถึงโทษของยาเสพติดแต่ละชนิด ส่วนการเข้าร่วมของอสม.ก็เข้าร่วมทุกครั้ง เพราะในคณะทำงานก็เป็น อสม. ด้วยแต่มีแค่ 5 คน ซึ่งถือว่าน้อยมาก แต่มีข้อดีคือ หนึ่งในคณะทำงานเป็นประธาน อสม. ในเรื่องของชุดความรู้ที่ได้จากการลงพื้นที่สอบถามจากแบบสอบถามถือเป็นข้อมูลที่ดีสำหรับโครงการ ทำให้คณะทำงานได้ทราบถึงปัญหาที่แท้จริงของชุมชน ส่วนเรื่องของต้นแบบเยาวชนก็ได้มีการคัดเลือกประธานเยาชนทำให้เยาวชนในโครงการร่วมกันเป็นหนึ่ง ซึ่งทำให้เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน โดยแบ่งเป็น2แบบ คือแบบกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มที่ไม่ติดยาเสพติดแต่อยู่กันได้ ทั้งนี้ทั้งนั้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแต่ละครั้งที่มีการเรียกประชุมคนทั้งหมู่บ้าน แต่เน้นเยาวชน มีเยาวชนและประชาชนให้ความสนใจเกินความคาดหมาย

    3 เพื่อการบริหารจัดการ และการติดตามประเมิณผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส และ สจรส.

    พบ สจรส.3 ครั้ง พบ พี่เลี้ยง 10 ครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และมีภูมิต้านต่อปัญหายาเสพติด (2) เพื่อสร้างแบบแผนกิจกรรมสร้างสรรค์ สร้างความสุขให้เด็กและผู้ปกครอง ลดช่องว่างระหว่างผู้ปกครองกับเด็กร่วมถึงลดความเสี่ยงที่เยาวชนจะเข้าหายาเสพติด (3) เพื่อการบริหารจัดการ และการติดตามประเมิณผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน

    รหัสโครงการ 57-02621 รหัสสัญญา 58-00-0068 ระยะเวลาโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    กิจกรรมมุ่งเน้นเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    กระบวนการเยี่ยมเยียนตามบ้าน เป็นกระบวนสร้างความสัมพันธ์และได้ข้อมูลสู่การจัดการ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    เยาวชนใช้เวลาว่างในการพัฒนาหมู่บ้าน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    เยาวชนบ้านใหม่รักครอบครัวไม่เมามัวยาเสพติดเพื่อความเข็มแข็งของชุมชน จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 57-02621

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสอีด เพ็ชร์เนียม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด