directions_run

ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด) ”

บ้านมะม่วงขาว หมู่ที่ 4 ตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นางปราณี วางกลอน

ชื่อโครงการ ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด)

ที่อยู่ บ้านมะม่วงขาว หมู่ที่ 4 ตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-02625 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0025

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มกราคม 2558 ถึง 20 กุมภาพันธ์ 2559


กิตติกรรมประกาศ

"ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด) จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านมะม่วงขาว หมู่ที่ 4 ตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด)



บทคัดย่อ

โครงการ " ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านมะม่วงขาว หมู่ที่ 4 ตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 57-02625 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มกราคม 2558 - 20 กุมภาพันธ์ 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 116,500.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการจัดการความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ต่อเนื่องจากการดำเนินงานโครงการปีที่ 1 และการขับเคลื่อนโครงการโดยสภาผู้นำชุมชน คณะกรรมการ 20 คน
  2. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดโรค
  3. เพื่อสร้างหลักสูตรการเรียนการสอนวิธีแก้หนี้แก้จน ในโรงเรียน ปลอดโรคปลอดหนี้
  4. เพื่อเกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยเทศบาลตำบลนาสารในกิจกรรม ชุมชนสีเขียว เป็นชุมชนที่บริโภคผักที่ปลอดภัยจากสารพิษในผักที่ชาวบ้านปลูกเองโดยไม่ใช้สารเคมี ของบ้านมะม่วงขาว
  5. เพื่อสร้างสภาพผู้นำชุมชน บ้านมะม่วงขาว
  6. เพื่อการบริหารจัดการโครงการและติดตามผลการดำเนินโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1

    วันที่ 23 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการไดมีการพูดคุย ประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทำงานที่ผ่านมา ทบทวนกิจกรรมทิศทางในการเดินในโครงการต่อยอดครั้งที่ 1  และสืบต่อการวางแผนการดำเนินงานในระยะที่ 2 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่ประชุมได้มีการเสนอแลกเปลี่ยนกันอย่างกว้างขวางและนำประสบการณ์ที่ได้จาการดำเนินงานครั้งที่ 1 มาเป็นรูปแบบในการดำเนินงานครั้งที่ 2 ในส่วนที่มีการขาดตกบกพร่อง ได้นำมาพัฒนาปรับปรุง และได้กำหนดรายละเอียดการดำเนินงานในกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการในระยะที่  2 ซึ่งได้กำหนดกิจกรรมไว้ในโครงการระยะที่ 2 คือ  การประชุมคณะกรรมการ  การจัดทำหลักสูตรครัวเรือนต้นแบบ การถอดบทเรียน การ่างหลักสูตร การประชุมตั้งกลุ่มผักปลอดสารพิษ  การอบรมเรื่องการออกกำลังกาย  การจัดมหกรรมสุขภาพ ประกวดผู้สูงอายุ  และการ่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง  ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นเป็นกิจกรรมที่ดำเนินการในระยะที่ 2 ของโครงการ เพื่อส่งผลให้เกิดความสุขและเข้มแข็งขึ้นในชุมชนระยะยาวต่อไป

     

    20 20

    2. ถอดบทเรียนจากครอบครัวต้นแบบ

    วันที่ 30 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ที่ประชุมได้ดำเนินการจัดการแบ่งกลุ่มเพื่อทำการวิเคราะห์ การดำเนินงานที่ผ่านมา  กลุ่ม ผัก  กลุ่มปุ๋ย กลุ่มสุขภาพ กลุ่มอาชีพเสริม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินงาน ถอดบทเรียน  แล้วนำมาแลกเปลี่ยน แล้วอธิบาย นำเสนอแลกเปลี่ยน จนได้ข้อยุติ และนำมาสรุปเป็นคู้มือแนวทางในการดำเนินงาน พบว่าผลจากการถอดบทเรียนครั้งแรก ชุมชนเกิดแนวทางและกิจกรรมพอที่จะนำมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานคือ เรื่องของปลูกพืชปลอดสารพิษ การดูแลสุขภาพในกลุ่มวัยทำงาน หรือโรคที่เกิดจากพฤติกรรม  การทำน้ำยาอเนกประสงค์เพื่อใช้ในครัวเรือนลดการจับจ่ายใช้สอยในเรื่องที่ไม่จำเป็น การทำบัญชีครัวเรือน เพื่อต้องการวิเคราะห์รายจ่ายที่ไม่จำเป็นของครอบครัวและหันมาประหยัดรายจ่ายมากขึ้น การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุที่เหลือใช้ เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ของครัวเรือนชุมชน ส่งผลให้เกิดรายได้ที่ตามมา

     

    100 100

    3. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ที่ประชุมได้ดำเนินการประชุมตามรายละเอียดวาระการประชุมที่ได้จัดทำไว้อย่างเคร่า ๆ  ที่ประชุมได้ประชุมแลกเปลี่ยนกันอย่างกว้างขวาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่ประชุมได้แนวทางในการดำเนินงานในครั้งต่อไป และ ได้กำหนดการจัดทำหลักสุตรในการดำเนินงาน

     

    20 20

    4. จัดทำหลักสูตรครัวเรือนครั้งที่ 1

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ที่ประชุมได้มีการประชุมกันตามขั้นตอนของการดำเนินงาน ได้มีการดำหนดหลักสูตรในการดำเนินงาน ไว้คือ หลักสูตรการปลูกผักปลอดสารพิษ การทำน้ำยาเอนกประสงค์ การดูแลสุขภาพเบื้องต้น การทำบัญชีครัวเรือน การเพาะเห็ดฟางโดยการนำวัสดุเหลือใช้ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ หลักสูตรการปลูกผักปลอดสารพิษ การทำน้ำยาเอนกประสงค์ การดูแลสุขภาพเบื้องต้น การทำบัญชีครัวเรือน การเพาะเห็ดฟางโดยการนำวัสดุเหลือใช้ 

     

    20 20

    5. จัดทำหลักสูตรครัวเรือนครั้งที่ 2

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ที่ประชุมได้รวบรวม วิเคราะห์หลักสูตรเพื่อใช้ในโรงเรียนแก้หนี้แก้จน ของบ้านมะม่วงขาว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลักสูตร การปลูกพืชปลอดสารพิษ การดูแลสุขภาพ การทำน้ำยาเอนกประสงค์ การทำบัญชีครัวเรือน การเพาะเห็ดฟาง

     

    20 20

    6. จัดทำหลักสูตรครัวเรือนครั้งที่ 3

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หลักสูตรไดด้ดำเนินการทดลองใช้ มีการวิภาพ วิจารณ์ และจดบันทึกในการดำเนินงานทุกขั้นตอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลักสูตรทั้ง 6 หลักสูตร ได้ทำการทดสอบและทดลองใช้ในครัวเรือน

     

    20 20

    7. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3

    วันที่ 5 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการโดยการนัดแนะ มาประชุมพร้อมเพรียงกัน เพื่อพิจารณาดำเนินการตามวาระการประชุม ซึ่งที่ประชุมได้มีการถกเถียงแลกเปลี่ยน กันระหว่างสมาชิกคณะกรรมการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้มีการมาประชุมโดยพร้อมกัน มีการแลกเปลี่ยน พูดคุยกันในที่ประชุม ในเรื่องปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานที่ผ่านมา และมีการนัดแนะดำเนินการหาทางออกเพื่อป้องกันและแก้ไข สถานการณ์เบื้องต้นที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานครั้งต่อไป

     

    20 20

    8. คณะกรรมการประชุมร่วมกับภาคีอื่น ๆ ประชาพิจารณ์หลักสูตร

    วันที่ 6 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการและภาคีร่วม  ร่วมกันจัดทำประชาพิจารณ์หลักสูตร การปลูกพืช การดูแลสุขภาพ การทำน้ำยาเอนกประสงค์ การทำบัญชีครัวเรือน การเพาะเห็ดฟาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้ร่วมกันชุมชและการประชาพิจารณ์หลักสูตร ได้เสนอรูปแบบกิจกรรม เนื้อหาตามรายละเอียดต่าง ๆ มีการปรับหลายกิจกรรม และท้ายสุดที่ประชุมได้ลงมัติเป็นเอกฉันทร์ แนบท้ายด้วย ควรมีการปรับปรุงเป็นระยะ ๆ ในหลักสูตรดังต่อไปนี้คือ การปลูกพืชปลอดสารพิษ การดูแลสุขภาพ การทำน้ำยาอเนกประสงค์ เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะเห็ดฟางเพื่อเป็นสร้างมูลค่าเพิ่ม

     

    40 40

    9. นำหลักสูตร "ปลอดโรคปลอดหนี้" สู่การปฏิบัติโซนที่ 1

    วันที่ 20 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอหลักสูตรการปลูกผัก และ การสร้างสุขภาพ แก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อนำหลักสูตรดังกล่าวมาทำการวิเคราะห์และถอดบทเรียน ในการนำมาใช้ในชุมชนของหมู่ที่ 4 บ้านมะม่วงขาว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครัวเรือนเป้าหมายได้รับการเรียนรู้ในหลักสูตรแก้หนี้แก้จนของบ้านมะม่วงขาว และเกิดทางเลือกในการพัฒนาอาชีพเสริมเป็นรายได้ของครอบครัวอย่างถาวร กลุ่มบ้านในกลุ่มที่ 1 ได้ทดลองใช้หลักสูตรแก้หนี้แก้จนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง  ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระของหลักสูตรคือ  การปลูกผักปอลดสารพิษ  การดูแลสุขภาพให้ปราศจากความดันและเบาหวาน การทำน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อลดต้นทุนในการผลิด การจับจ่ายในครอบครัว การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะห็ดฟางด้วยวัสดุที่เหลือใช้  ครัวเรือนได้ทดลอใช้และกำหนดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการของตนเอง ครัวละ 1 กิจกรรม

     

    15 15

    10. นำหลักสูตร "ปลอดโรคปลอดหนี้" สู่การปฏิบัติโซนที่ 2

    วันที่ 27 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการได้นำหลักสูตรแก้หนี้แก้จน มาขยายผลดำเนินการในบ้าน มะม่วงสูงและบ้านหนองจอก  ซึ่งเป็นกลุ่มละแวก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บ้านหนองจอกและบ้านม่วงสูง ตัวแทนครัวเรือน ได้รับการเรียนรู้ตามหลักสูตรแก้หนี้แก้จน สามารถเลือกอาชีพเสริมใช้กับครอบครัวในการสร้างมูลค่าเพิ่มกลุ่มบ้านในกลุ่มที่ 2 ได้ทดลองใช้หลักสูตรแก้หนี้แก้จนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง  ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระของหลักสูตรคือ  การปลูกผักปอลดสารพิษ  การดูแลสุขภาพให้ปราศจากความดันและเบาหวาน การทำน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อลดต้นทุนในการผลิด การจับจ่ายในครอบครัว การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะห็ดฟางด้วยวัสดุที่เหลือใช้  ครัวเรือนได้ทดลอใช้และกำหนดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการของตนเอง ครัวละ 1 กิจกรรม

     

    15 15

    11. นำหลักสูตร "ปลอดโรคปลอดหนี้" สู่การปฏิบัติโซนที่ 3

    วันที่ 3 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการได้ นำหลักสูตรแก้หนี้แก้จน ไปใช้ในกลุ่มบ้านหนองจอก บ้านหว้าเคียน จนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสามารถเลือกอาชีพเสริมกับครัวตัวเองได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บ้านหนองจอก และบ้านหว้าเคียน ในบ้านหลักของบ้านมะม่วงขาว เกิดการเรียนรู้และนำไปปฏิบัติใช้ในครัวเรือนได้กลุ่มบ้านในกลุ่มที่ 3ได้ทดลองใช้หลักสูตรแก้หนี้แก้จนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง  ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระของหลักสูตรคือ  การปลูกผักปอลดสารพิษ  การดูแลสุขภาพให้ปราศจากความดันและเบาหวาน การทำน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อลดต้นทุนในการผลิด การจับจ่ายในครอบครัว การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะห็ดฟางด้วยวัสดุที่เหลือใช้  ครัวเรือนได้ทดลอใช้และกำหนดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการของตนเอง ครัวละ 1 กิจกรรม

     

    15 15

    12. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 4

    วันที่ 5 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเพื่อแจ้งความก้าวหน้าของโครงการที่นำไปแล้ว ตลอดจนการแก้ปัญหาในกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และซักถามกันอย่างกว้างขวาง ที่ประชุมได้กล่าวถึง  การจัดทำหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้ในที่ประชุมศาลาบ้านมะม่วงขาวซึ่งต่อไปน่าจะจัดทำเป็นโรงเรียนแก้หนี้แก้จนบ้านมะม่วงขาว  ซึ่งต่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน เรื่องต่าง  ๆ  เช่น  เรื่องของสุขภาพ  เรื่องของการทำอาชีพเสริม แก้หนี้แก้จน และหลาย ๆ กิจกรรมที่จะมีขึ้นในชุมชน

     

    20 15

    13. นำหลักสูตร "ปลอดโรคปลอดหนี้" สู่การปฏิบัติโซนที่ 4

    วันที่ 10 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการบริหารโึครงการเพื่อนำหลักสูตร ไปทดลองใช้ในกลุ่มบ้านกลุ่มที่ 4

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มบ้านในกลุ่มที่ 4 ได้ทดลองใช้หลักสูตรแก้หนี้แก้จนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง  ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระของหลักสูตรคือ  การปลูกผักปอลดสารพิษ  การดูแลสุขภาพให้ปราศจากความดันและเบาหวาน การทำน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อลดต้นทุนในการผลิด การจับจ่ายในครอบครัว การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะห็ดฟางด้วยวัสดุที่เหลือใช้  ครัวเรือนได้ทดลอใช้และกำหนดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการของตนเอง ครัวละ 1 กิจกรรม

     

    15 15

    14. ประชุมตั้งกลุ่มผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านมะม่วงขาว

    วันที่ 19 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม  คัดเลือกคณะกรรมการดำเนินงานกลุ่มผักปลอดสารพิษชุมชนบ้านมะม่วงขาว เพื่อทำการขับเคลื่อนกิจกรรมผักปลอดสารพิษของชุมชน ซึ่งเกิดจากการที่ได้ดำเนินการที่ผ่านมาในกิจกรรมผักปลอดสารพิษ ตามขั้นตอนดังนี้
    1. การรับสมัครสมาชิกกลุ่มประกอบด้วยครัวเรือนที่ทำการปลูกผักปลอดสารพิษ 2. หาคณะกรรมการมาดำเนินงานในกลุ่ม ประกอบด้วยประธาน เหรัญยิกและคณะกรรมการ 3. แผนการดำเนินงานหรือแผนการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการประชุมคัดเลือกคณะกรรมการได้กลุ่มรักษ์สุขภาพ  กลุ่มผักปลอดสารพิษชุมชนบ้านมะม่วงขาวขึ้นจำนวน 1 กลุ่ม  ประกอบด้วยสมาชิกครัวเรือนในชุมชนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม  มีโครงสร้างที่ชัดเจน ประธาน และคณะกรรมการ เพื่อไว้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชนหมู่ที่ 4 บ้านมะม่วงขาว ตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม

     

    100 100

    15. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 5

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรม ร่วมกันรวบรวมเอกสารหลักฐาน สรุปผลการจัดกิจกรรม ที่ผ่านมาทั้งหมดเพื่อเตรียมปิดงวดโครงการ จากกิจกรรมที่ดำเนินการในงวดที่ 1 ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมตลอดงวดที่ 1  เกิดสภาผู้นำชุมชนบ้านมะม่วงขาว จำนวน 1 คณะ มีโครงสร้างการดำเนินที่ชัดเจน เกิดกลุ่มผักปลอดสารพิษในชุมชน 1 กลุ่ม มีหลักสูตร จำนวน 6 หลักสูตร และมีการร่วมเรียนรู้ในกลุ่มโ๙นจำนวน 4 โซนๆละ 15 ครัวเรือน เกิดโรงเรียนปลอดโรคปลอดหนี้ เป็นที่ศึกษาหาความรู้และเป็นศูนย์เรียนรู้แก้หนี้แก้จน ในชุมชน  ในกิจกรรมที่จัดมาแล้วทั้งหมดได้เก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานไว้เป็นชุดๆเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ มอบหมายให้ทีมเลขา จัดทำรายงานการปิดงวด ทีมเหรัญญิก เก็บรวบรวมและตรวจสอบหลักฐานการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ผ่านมาและรวบรวมเอกสารปิดงวดโครงการ

     

    20 20

    16. สร้างจุดสาธิต รวบรวม กระจายผลิตผลปลอดสารพิษในชุมชน

    วันที่ 27 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัด ประชาสัมพันธ์ ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 100  ครัวเรือน ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการตั้งจุดสาธิต ตลาดปลอดสารสารพิษ พร้อมทั้ง จัดทำทะเบียนรายการสมาชิก พร้อมทั้งชนิดของผักที่สามารถส่งสู่จุดกระจายสินค้าได้ โดยผักชนิดต่าง ๆ ดังนี้ที่เกิดขึ้นในชุมชน คือ ผักบุ้ง  ผักกาด ถั่วฝักยาว แตงกวา ตะไคร้ และอื่น ๆ ร่วมกับเทศบาลตำบลนาสาร เพื่อการแสดงจุดสินค้าปลอดสารพิษ และตั้งตลาดผกปอดสารพิษ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  เกิดจุดสาธิตและกระจายผักปลอดสารพิษในชุมชน  จำนวน 1  จุด ผลลัพธ์ จุดสาธิตเป็นที่กระจาย ขาย ผักปลอดสารพิษในชุมชนบ้านมะม่วงขาว เกิดการทำทะเบียนสมาชิก จำแนกประเภทของผักที่จะส่งออกสู่จุดกระจายสินค้าในชุมชน เกิดการบูรณาการร่วมกันกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

     

    100 100

    17. จัดมหากรรมสร้างสุขภาพครั้งที่ 1

    วันที่ 3 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดงานมหกรรมสุขภาพในชุมชน มีการแสดงผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรปลอดสารพิษ เครื่องจักสาน การสงเสริมอาชีพ  การออกกำลังกายและการดูแลสุขภาพ  การตรวจสุขภาพ ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ส่วนราชการ ตัวแทนครัวเรือน เยาวชน  เข้าร่วมกิจกรรม  การจัดมหกรรม  สุขภาพในพื้นที่ ผลลัพธ์  กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เกิดความตระหนักเรื่องการดูแลสุขภาพ 

     

    100 100

    18. จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี ตามตัวอย่างที่ทางสสส กำหนดให้เพื่อติดในชุมชน สถานที่จัดทำกิจกรรม เพื่อให้สถานที่ประชุมในการจัดกิจกรรมเป็นเขตปลอดบุหรี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ป้ายชื่อโครงการ 1แผ่น
    • ป้ายประชาสัมพันธ์เลิกบุหรี่1แผ่น
    • สถานที่จัดกิจกรรมของชุมชน มีป้ายเขตปลอดบุหรี่ติดไว้ ในผู้ร่วมกิจกรรม ได้เห็นและไม่สูบบุหรี่ในสถานที่จัดประชุม

     

    2 2

    19. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 6

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมกรรมการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้มีการประชุม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเสนอแนะในเรื่องของการดำเนินงาน

     

    20 25

    20. ตรวจหารสารเคมี ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ตรวจหาระดีฃับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 1

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำการตรวจผู้สูงอายุ  จำนวน 15  คน ตัวแทนครัวเรือน เด็ก เพื่อมาเจาะหาสารเคมี 60  คน และกลุ่มทั่วไป 25  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้สูงอายุจำนวน 15คนได้รับการตรวจสุขภาพ และ เจาะเลือด ตัวแทนครัวเรือน เด็ก เพื่อมาเจาะหาสารเคมี 60คน และกลุ่มทั่วไป 25คน เพื่อทำเป็นฐานข้อมูลในการเจาะครั้งที่ 2 เพื่อเป็นการเปรียบเทียบพบว่า ในกลุ่มดังกล่าวมีความเสี่ยงสูงของระดับสารเคมีในเลือด7คนและได้แนะนำโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อเป็นการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

     

    100 100

    21. อบรมการออกกำลังกาย และตั้งกลุ่มการออกกำลังกายในชุมชน

    วันที่ 2 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดอบรมการเต้นแอร์โรบิค สาธิตการเต้นแอร์โรบิค และทำการจัดตั้งกลุ่มออกกำลังกาย ขึ้นในหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายได้มารวมตัวกันเพื่อทำการอกกำลังกาย และได้จัดตั้งกลุ่มออกกำลังกาย 1 กลุ่ม ผลลัพธ์ ในชุมชนมีกลุ่มออกกำลังกาย และแผนการส่งเสริมการออกกำลังกานในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

     

    100 100

    22. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 7

    วันที่ 5 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการได้ทำการประชุมพร้อมกัน ตามระเบียบวาระการประชุม ได้ทำการชี้แจงความก้าวหน้าของโครงการปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว ตลอดจนปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาของการดำเนินงาน ที่ประชุมได้มีการซักถามและตอบปัญหากันอย่ากว้างขวาง และเชิญผู้เกี่ยวข้องทำการชี้แจง จนปัญหาเกิดความเข้าใจ และมีความเห็นตรงกันในการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการจำนวน 20 คนได้ทำการประชุมพร้อมกัน ตามระเบียบวาระการประชุม ได้ทำการชี้แจงความก้าวหน้าของโครงการปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว ตลอดจนปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาของการดำเนินงาน ที่ประชุมได้มีการซักถามและตอบปัญหากันอย่ากว้างขวาง และเชิญผู้เกี่ยวข้องทำการชี้แจง จนปัญหาเกิดความเข้าใจ และมีความเห็นตรงกันในการดำเนินงาน

     

    20 20

    23. ร่วมงานคนใต้สร้างสุข ปี 2558

    วันที่ 4 กันยายน 2558 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการจำนวน 2 คน ลงทะเบียนเข้าร่วมงานคนใต้สร้างสุข  ร่วมแลกเปลี่ยนในเวที่ต่างๆจำนวน 3 วันตามกิจกรรมที่ทาง สสส จัด ขึ้น มีบู้ทต่างๆของชุมชนที่ได้รับทุนสนับสนุนในการจัดกิจกรรมโครงการท้องถิ่นชุมชนน่าอยู่การกิจกรรมในกลุ่ม ต่างๆเช่น สสส สช สจรสมอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการ ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในกิจกรรมต่างๆ และสามารถนำไปถ่ายทอดให้คณะกรรมการและคนในชุมชนที่ไม่ได้มาร่วมได้รับทราบ และเป็นแบบอย่างในการดำเนินกิจกรรมของชุมชนต่อไป

     

    3 2

    24. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 8

    วันที่ 5 กันยายน 2558 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการทั้งหมดเข้าร่วมการประชุมโดยพร้อมกัน ตัวแทนที่เข้าร่วมงานคนใต้สร้างสุข ล่าวประสบการณ์ที่ไปร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในคณะกรรมการทั้งหมดได้รับทราบ และร่วมกันสรุปผลการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา พร้อมร่วมวางแผนจัดกิจกรรมในครั้งต่อไปเหรัญหิกแจ้งรายละเอียดการใช้จ่ายเงินตามแผนงานโครงการ พร้อมให้คณะกรรมการช่วยกันตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิตคณะกรรมการจำนวน 20 คน ได้มาร่วมประชุม เพื่อดำเนินการโครงการที่กำลังจะปิดโครงการในเดือน กุมภาพันธ์ นี้ เพื่อเป็นการจักดตรียม สรุปผลการดำเนินงานของโครงการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่
    ผลลัพธ์ คณะกรรมการเกิดความเข้าใจและร่วมมือในการแก้ปัญหาโครงการและรับทราบความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการ พบว่ากิจกรรมบางอย่างที่ได้จ่ายเงินปแล้วเอกสารยังไม่ครบถ้วน เช่น สำเนาบัตรประชาชนผู้ประกอบอาหาร บางกิจกรรมคนที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่ได้เซ็นชื่อให้เรียบร้อย

     

    20 20

    25. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 9

    วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้านที่ทำงานในรูปแบบของคณะกรรมการสภาหมู่บ้านได้มาประชุมพร้อมกันเพื่อทำการชื้อแจงผลของการดำเนินงานโครงการ ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการทำงาน และแนวทางการแก้ไขให้กับคณะกรรมการด้วยกันเองฟัง ตัวแทนครัวเรือน คณะกรรมการได้ตอบข้อซักถามถึงแนวทางการร่วมมือ ให้การสนับสนุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ตัวแทนคณะกรรมการ 5 คน และตัวแทนครัวเรือน15 ได้เข้าร่วมประชุม

    เกิดผลลัพธ์คือ เกิดความเข้าใจขั้นตอนในการทำงาน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหา

     

    20 20

    26. จัดมหากรรมสุขภาพครั้งที่ 2

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนครัวเรือน ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามาร่วมในการแสดงกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ เช่น การสาธิตการออกกำลังกาย การแสดงการทำอาหารสุขภาพ การตรวจสุขภาพ การแสดงผักปอลดสารพิษ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    องค์การบริหารส่วนตำบลนาสารไดเข้ามาร่วมทำกิจกรรมการส่งเสริมอาชีพ รพ.สต บ้านพระเพรงเข้ามาทำการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ การศึกษานอกโรงเรียนมาแสดงและสอนการอาชีพ

    คนในชุมชนร่วมกันออกำลังกายและรับทานอาหารที่ปลอดสารพิษ รู้จัดการสร้างอาชีพเสริม เห็นช่องทางในการทำมาหากิน

     

    100 100

    27. ประชุมกรรมการเตรียมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 10

    วันที่ 6 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะกรรมการสภาผู้ชุมชน ร่วมลงทะเบียน
    • ร่วมพูดคุยการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาคือการจัดมหกรรมสุภาพ ร่วมกันสรุปผล และพูพคุยถึงปัญหาที่เกิดขี้นเพื่อหาแนวทางแก้ไขในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
    • ร่วมวางแผนการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด การตรวจสุขภาพผู้สูงอายุครั้งที่2 มอบหมายให้คณะกรรมการนำผลการตรวจในรอบแรกมาด้วยเพื่อเปรียบเทียบผลในรอบแรกและรอบที่2
    • ร่วมพูดคุยเรื่องอื่นๆของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  คณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 20  คนได้มีการประชุม
    ผลลัพธ์  เกิดการประชุมขึ้นในกลุ่มคณะกรรมการหมู่บ้าน และมีการเรียนรู้แลกเปลี่ยน ปัญหาในการทำงานร่วมกัน และร่วมทิศทางในการดำเนินงานร่วมกันต่อไป

     

    20 20

    28. ตรวจหารสารเคมี ตรวจน้ำตาลในเลือด ตรวจสุขภาพผู้งสูงอายุ ครั้งที่ 2

    วันที่ 19 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กลุ่มเป้าหมายร่วมลงทะเบียน
    • เจ้าของโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม แนะนำ ทีมงานที่มาร่วมกิจกรรมข
    • การตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
    • ตรวจหาระดับสารเคมีในเลือด
    • แจ้งผลการตรวจและให้คำแนะนำ ในกลุ่มเสี่ยง บันทึกผลการตรวจเปรียบเทียบกับครั้งแรกที่เจาะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ผู้สูงอายุ  จำนวน 15  คน ตัวแทนครัวเรือน เด็ก เพื่อมาเจาะหาสารเคมี 60  คน และกลุ่มทั่วไป 25  คน

    ผลลัพธ์  ผู้สูงอายุทั้งหมดได้รับการตรวจสุขภาพ และ กลุ่มทั่วไป จำนวน 75  คนตรวจหาระดับสารเคมีพบว่ายังคงเสี่ยงสูง  3  คน  จากกลุ่มเป้าหมายครั้งก่อน

     

    100 100

    29. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คืนข้อมูลให้ชุมชน

    วันที่ 22 มกราคม 2559 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนครัวเรือน คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรุ้และดำเนินการเวทีโดยพี่เลี้ยงโครงการ ถึงผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ ตามวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดที่วางไว้ คณะกรรมการสรุปผลการจัดกิจกรรมและร่วมพูดคุยในคนในชุมชนที่เข้ากิจกรรม ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลผลิต กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 70คน ได้เข้าร่วม กิจกรรม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคืนข้อมูลให้ชุมชน
    • ผลลัพธ์ ตัวแทนชุมชนเกิดความเข้าใจและเห็นด้วย ลงมือปฏิบัติในการทำเป็นตัวอย่างคือ
    1. การลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว โดยการหันมาวิเคราะห์ รายจ่ายที่ไม่จำเป็น และวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิต ของครัวเรือน เพื่อวางแผนกาประหยัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น
    2. สำรวจช่องทางหารายได้เสริมให้กับครัวเรือน โดยการหักมาปลูกผักปลอดสารพิษขายในจุดสาธิตภายในชุมชน และการหารายได้เสริมจากการประกอบอาชีพอื่นในชุมชน เช่นการเดินสายไฟฟ้าภายในบ้าน การผลิตเครื่องจักสาน
    3. ครัวเรือนต้องหันมาดูแลสุขภาพ กันเอง เช่น การตรวจหาความดัน เบาหวาน และไข้เลือดออก โดยการทำกิจกรรมการออกกำลังกาย และการรรณรงค์อย่างต่อเนื่อง
    4. ชุมชนสร้างแหล่งเรียนรู้ในการประกอบอาชีพหรือการทำอาชีพเสริมในชุชนเช่นการตั้งกลุ่มเลี้ยงวัว การทอผ้า การทำเกษตรอินทรีย์ เศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ
    5. เกิดการบูรณาการร่วมระหว่างส่วนราชการและ สสส

     

    70 70

    30. ล้างอัดภาพ จัดทำรูปเล่ม ฉบับสมบรูณ์ คืนเงินค่าเปิดบัญชี

    วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการร่วมคัดเลือกภาพ ทุกกิจกรรม มาเพื่อล้างอัด นำมาจัดนิทรรศการติดไว้ที่ศาลาหมู่บ้าน และจัดทำรายงานรูปเล่ม ฉบับสมบรูณ์ เพื่อจัดส่ง สสส ในการปิดโครงการคืนเงินค่าเปิดบัญชี จำนวน 500 ให้เจ้าของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีภาพ การจัดกิจกรรมของโครงการ ติดให้คนในชุมชนได้เห็น การทำกิจกรรมของคนในชุมชนในทุกกิจกรรม และ มีรายงานรูปเล่มฉบับสมบรูณ์ จำนวน 3 เล่ม จัดส่ง สสส เก็บไว้ในชุมชน และเจ้าของโครงการ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเป็นการจัดการความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ต่อเนื่องจากการดำเนินงานโครงการปีที่ 1 และการขับเคลื่อนโครงการโดยสภาผู้นำชุมชน คณะกรรมการ 20 คน
    ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดหลักสูตรการดำเนินงานครอบครัวต้นแบบของบ้านมะม่วงขาว ต้นแบบการปลอดหนี้สินและการมีสุขภาพดี การวิเคราะห์หนี้สิน รายรับรายจ่ายภาคครัวเรือน 1.2 เกิดแนวทางการดำเนินงานสร้างครอบครัวเรียนรู้ 4 โซนละ 15 ครัวเรือน ครอบคลุมพื้นที่ 1.3 มีการขับเคลื่อนโครงการโดยสภาผู้นำชุมชน คณะกรรมการ 20 คน

    1.1 เกิดหลักสูตรการดำเนินงานครอบครัวต้นแบบของบ้านมะม่วงขาว ต้นแบบการปลอดหนี้สินและการมีสุขภาพดี การวิเคราะห์หนี้สิน รายรับรายจ่ายภาคครัวเรือน จากการดำเนินกิจกรรมเกิดหลักสูตรการดำเนินงาน 4 หลักสูตร ได้แก่

    • เศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย การปลูกผักปลอดสารพิษ การเพาะเห็ดโดยใช้วัสต่าง ๆ ที่มีในชุมชน การทำปุ๋ยชีวภาพ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง และการเลี้ยงโค
    • การดูแลสุขภาพ ประกอบด้วย การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การออกกำลังกาย การใช้สมุนไพรที่มีในครัวเรือน และการป้องกันโรคไข้เลือดออก
    • การทำบัญชีครัวเรือน การใช้จ่ายอย่างประหยัด
    • การทำน้ำยาอเนกประสงค์

    1.2 เกิดแนวทางการดำเนินงานสร้างครอบครัวเรียนรู้ 4 โซนละ 15 ครัวเรือน ครอบคลุมพื้นที่ โดยแต่ละโซนมีการวางแผนและจัดการเรียนรู้ภายในโซนของตนตามความต้องการของสมาชิก

    1.3 มีการขับเคลื่อนโครงการโดยสภาผู้นำชุมชน คณะกรรมการ 20 คน

    2 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดโรค
    ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดกลุ่มผักปลอดสารพิษ/ผักอินทรีย์ในชุมชน อย่างน้อย 1 กลุ่ม 2.2 เกิดจุดรวบรวม กระจายผลผลิตผักปลอดสารพิษในชุมชน 1 จุด 2.3 เกิดกลุ่ม/จุดออกกำลังกายในพื้นที่ 1 กลุ่ม/จุด 2.4 โรคไข้เลือดออกลดลงจากปีที่ผ่านมาเที่ยบเวลาเดียวกันไม่ตำกว่า ร้อยละ 10
    1. เกิดกลุ่มผักปลอดสารพิษ/ผักอินทรีย์ในชุมชน 1 กลุ่ม มีสมาชิกจำนวน 10 ครัวเรือน โดยต่างคนต่างปลูก ต่างคนต่างขาย แต่มีการนัดพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน
    2. เกิดจุดรวบรวม กระจายผลผลิตผักปลอดสารพิษที่ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราชทุกวันศุกร์
    3. เกิดกลุ่ม/จุดออกกำลังกายในพื้นที่ 1 กลุ่ม/จุด โดยมีสมาชิกประมาณ 10-20 คน นัดหมายออกกำลังกายร่วมกันทุกวันอาทิตย์ ใช้เวลาออกกำลังกายประมาณ 30 -45 นาที โดยมีการเต้นแอโรบิค หรือโนราบิค
    4. ในช่วงปีที่ผ่านมาไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก

    นอกจากเกิดกลุ่มผักและกลุ่มออกกำลังกายแล้ว ยังเกิดกลุ่มเลี้ยงไก่พื้นเมือง มีสมาชิก 20 ครัวเรือน กลุ่มเลี้ยงโค มีสมาชิก 50 ครัวเรือน และกลุ่มน้ำยาเอนกประสงค์ มีสมาชิก 10 ครัวเรือน

    3 เพื่อสร้างหลักสูตรการเรียนการสอนวิธีแก้หนี้แก้จน ในโรงเรียน ปลอดโรคปลอดหนี้
    ตัวชี้วัด : 3.1 เกิดโรงเรียนปลอดโรคปลอดหนี้ เป็นที่ศึกษาหาความรู้ และเป็นศูนย์เรียนรู้แก้หนี้แก้จน อย่างน้อย 1 แห่ง

    เกิดศูนย์เรียนรู้ปลอดโรคปลอดหนี้ เป็นที่ศึกษาหาความรู้ และเป็นศูนย์เรียนรู้แก้หนี้แก้จน จำนวน 5 แห่ง ได้แก่

    • ฐานเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงณ บ้าน นายธวัช จิตคำนึง
    • ฐานเรียนรู้การทอผ้ายกเมืองคอน ณ บ้าน น.ส.วันดี ปิละวัฒน์
    • ฐานเรียนรู้การเลี้ยงไก่พื้นเมืองและการทำขนมไทย ณ บ้าน นางสมบัติ ควรรำพึง
    • ฐานเรียนรู้การทำน้ำยาเอนกประสงค์และการทำบัญชีครัวเรือน ณ บ้าน นางปราณี วางกลอน
    • ฐานเรียนรู้การเลี้ยงโคลูกผสม และโคพื้นเมือง ณ บ้าน นายบุญมา นาคเนตร
    4 เพื่อเกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยเทศบาลตำบลนาสารในกิจกรรม ชุมชนสีเขียว เป็นชุมชนที่บริโภคผักที่ปลอดภัยจากสารพิษในผักที่ชาวบ้านปลูกเองโดยไม่ใช้สารเคมี ของบ้านมะม่วงขาว
    ตัวชี้วัด : 4.1 เพื่อเกิดการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวเป้าหมาย อย่างน้อย 90 % ของชุมชนในหมู่บ้าน ต่อเนื่องโดยท้องถิ่น

    เกิดการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวเป้าหมาย ประมาณ 200 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ92 ของครัวเรือนในหมู่บ้าน โดยมีเทศบาลตำบลนาสารเข้ามาสนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่องผ่านทางรพ.สต. บ้านนาสาร

    5 เพื่อสร้างสภาพผู้นำชุมชน บ้านมะม่วงขาว
    ตัวชี้วัด : 5.1 เกิดสภาผู้นำชุมชนบ้านมะม่วงขาว จำนวน 1 คณะ มีโครงสร้างและแผนในการดำเนินงานที่ชัดเจน

    เกิดสภาผู้นำชุมชนบ้านมะม่วงขาว จำนวน 1 คณะ มีโครงสร้างและแผนในการดำเนินงานที่ชัดเจน

    6 เพื่อการบริหารจัดการโครงการและติดตามผลการดำเนินโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส หรือ สจรส มอ.

    เข้าร่วมกิจกรรมกับสสสและ สจรส มอ จำนวน 2 ครั้งในจำนวน 3 ครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการจัดการความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ต่อเนื่องจากการดำเนินงานโครงการปีที่ 1 และการขับเคลื่อนโครงการโดยสภาผู้นำชุมชน คณะกรรมการ 20 คน (2) เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดโรค (3) เพื่อสร้างหลักสูตรการเรียนการสอนวิธีแก้หนี้แก้จน ในโรงเรียน ปลอดโรคปลอดหนี้ (4) เพื่อเกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยเทศบาลตำบลนาสารในกิจกรรม ชุมชนสีเขียว เป็นชุมชนที่บริโภคผักที่ปลอดภัยจากสารพิษในผักที่ชาวบ้านปลูกเองโดยไม่ใช้สารเคมี ของบ้านมะม่วงขาว (5) เพื่อสร้างสภาพผู้นำชุมชน บ้านมะม่วงขาว (6) เพื่อการบริหารจัดการโครงการและติดตามผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด)

    รหัสโครงการ 57-02625 รหัสสัญญา 58-00-0025 ระยะเวลาโครงการ 20 มกราคม 2558 - 20 กุมภาพันธ์ 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การนำปัญหาของชุมชน ที่ถูกเก็บมานานเช่นเรื่องของการมีหนี้สิน และทำอย่างไรจึงสามารถลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้และที่สำคัญครัวเรือนในชุมชนรู้จักวิเคราะห์หาสาเหตุของที่มาของหนี้สิน

    กิจกรรมเสาวนา ปัญหาชุมชน กิจกรรมการทำบัญชีต้นทุน กิจกรรมการทำอาชีพเสริมและสร้างหลักสูตรการเรียนรู้การทำอาชีพเสริม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มออกกำลังกาย เกิดกลุ่มผักปลอดสารพิษ กลุ่มอาชีพ ต่างๆ เช่นกลุ่มเลี้ยงโค กลุ่มทอผ้า กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มขนมพื้นบ้านและเกิดสร้างในชุมชนดำเนินการแก้ปัญหาชุมชนในรูปแบบของคณะกรรมการสภาหมู่บ้าน

    การประชุมชคณะกรรมการสภาหมู่บ้านและกิจกรรมการออกกำลังกาย การส่งเสริมการออกกำลังกาย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เกิดแหล่งเรียนรู้ในครัวเรือนเป้าหมายได้รับการเรียนในหลักสูตรแก้หนี้แก้จนของบ้านมะม่วงขาว จนทำให้เกิดทางเลือกในการพัฒนาอาชีพเสริมเป็นรายได้ของครอบครัวอย่างถาวร กลุ่มบ้านในกลุ่มที่ 1 ได้ทดลองใช้หลักสูตรแก้หนี้แก้จนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระของหลักสูตรคือการปลูกผักปลอดสารพิษการดูแลสุขภาพให้ปราศจากความดันและเบาหวาน การทำน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อลดต้นทุนในการผลิด การจับจ่ายในครอบครัว การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะห็ดฟางด้วยวัสดุที่เหลือใช้ครัวเรือนได้ทดลอใช้และกำหนดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการของตนเอง ครัวละ 1 กิจกรรม

    ณ ละแวกบ้านหนองจอกและบ้านม่วงสูง ซึ่งเป็นละแวกบ้านย่อย ของบ้านมะม่วงขาวทำให้ตัวแทนครัวเรือน ได้รับการเรียนรู้ตามหลักสูตรแก้หนี้แก้จน สามารถเลือกอาชีพเสริมใช้กับครอบครัวในการสร้างมูลค่าเพิ่มกลุ่มบ้านในกลุ่มที่ 2 ได้ทดลองใช้หลักสูตรแก้หนี้แก้จนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระของหลักสูตรคือการปลูกผักปอลดสารพิษการดูแลสุขภาพให้ปราศจากความดันและเบาหวาน การทำน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อลดต้นทุนในการผลิด การจับจ่ายในครอบครัว การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะห็ดฟางด้วยวัสดุที่เหลือใช้ครัวเรือนได้ทดลอใช้และกำหนดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการของตนเอง ครัวละ 1 กิจกรรม กลุ่มบ้านในกลุ่มที่ 4 ได้ทดลองใช้หลักสูตรแก้หนี้แก้จนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระของหลักสูตรคือการปลูกผักปอลดสารพิษการดูแลสุขภาพให้ปราศจากความดันและเบาหวาน การทำน้ำยาเอนกประสงค์เพื่อลดต้นทุนในการผลิด การจับจ่ายในครอบครัว การทำบัญชีครัวเรือน และการเพาะห็ดฟางด้วยวัสดุที่เหลือใช้ครัวเรือนได้ทดลอใช้และกำหนดกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการของตนเอง ครัวละ 1 กิจกรรม

    ครัวเรือนต้นแบบในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    เกิดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพ และ เจาะเลือด และตัวแทนครัวเรือนกลุ่มเด็กได้รับการเจาะหาสารเคมี 60คน และกลุ่มทั่วไป 25คน เพื่อทำเป็นฐานข้อมูลในการเจาะครั้งที่ 2 เพื่อเป็นการเปรียบเทียบพบว่า ในกลุ่มดังกล่าวมีความเสี่ยงสูงของระดับสารเคมีในเลือด7คนและได้แนะนำโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อเป็นการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เกิดผลลัพธ์ ในชุมชนหมู่ที่ 4 บ้านมะม่วงขาว ตำบลนาสารคือ มีกลุ่มออกกำลังกายเต้นแอร์โรบิค กลุ่มออกกำลังกายโดยจักรยาน มีการจัดทำแผนการดำเนินงานและการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเกิดการบูรณาการร่มระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ สสส ในการสร้างความเข้มแข็งด้านการออกกำลังกายให้กับคนในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    การดำเนินงานโครงการเกิดจุดสาธิตการขายผักปลอดสารพิษจำนวน 1 จุดขึ้นในชุมชน มีทะเบียนสมาชิกที่ผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อส่งออกสู่แผงขาย เช่น ถั่วฝักยาว แตงกวา ผักบุ้ง คะน้า ฯลฯ ชุมชนเกิดการตื่นตัวในการกินผักปลอดสารพิษ และเกิดแหล่งขาย กระจายสินค้าในชุมชน อำนวยความสะดวกให้ชุมชนในการเดินทาง จัดหาผักปลอดสารพิษไปกินในครัวเรือน เกิดอาชีพเสริมแก่ครัวเรือนที่ปลูกผักเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน แก้จนไปด้วยตามเป้าหมายของโครงการสมาชิก เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสุขภาพ ด้านการออกกำลังกายและด้านเศรษฐกิจ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    ผลลัพธ์คือคนในชุมชนหมู่ที่ 4 บ้านมะม่วงขาว ตำบลนาสารมีกลุ่มออกกำลังกายเต้นแอร์โรบิคขึ้น กลุ่มออกกำลังกายโดยจักรยาน มีการจัดทำแผนการดำเนินงานและการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเกิดการบูรณาการร่มระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ สสส ในการสร้างความเข้มแข็งด้านการออกกำลังกายให้กับคนในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    จากการดำเนินงาน ถอดบทเรียนแล้วนำมาแลกเปลี่ยน แล้วอธิบาย นำเสนอแลกเปลี่ยน จนได้ข้อยุติ และนำมาสรุปผสมผสานกับภูมิปัญญาและความรู้เดิม มาจัดทำเป็นคู่มือและแนวทางในการดำเนินงานโดยการถอดบทเรียนครั้งแรก ทำให้ชุมชนเกิดแนวทางในการดำเนินงานที่ผสมผสานความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เช่นเรื่องของปลูกพืชปลอดสารพิษที่ใช้พืชมาทำเป็นสารไล่แมลง การดูแลสุขภาพในกลุ่มวัยทำงานโดยส่งเสริมให้คนหันมากินผักมากขึ้นลดหรือขจัดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการทำน้ำยาอเนกประสงค์เพื่อใช้ในครัวเรือนลดการจับจ่ายใช้สอยในเรื่องที่ไม่จำเป็น การทำบัญชีครัวเรือน เพื่อต้องการวิเคราะห์รายจ่ายที่ไม่จำเป็นของครอบครัวและหันมาประหยัดรายจ่ายมากขึ้น การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุที่เหลือใช้ เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ของครัวเรือนใชุมชน ส่งผลให้เกิดรายได้ที่ตามมา ต่อมาการถอดบทเรียนครัวเรือนต้นแบบ ที่ดำเนินการได้ประสบผลสำเร็จในกลุ่มต่างๆที่ดำเนินการมาแล้ว มาพัฒนาเป็นหลักสูตรครัวเรือนต้นแบบ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    การดำเนินงานโครงการเกิดจุดสาธิตการขายผักปลอดสารพิษจำนวน 1 จุดขึ้นในชุมชน มีทะเบียนสมาชิกที่ผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อส่งออกสู่แผงขาย เช่น ถั่วฝักยาว แตงกวา ผักบุ้ง คะน้า ฯลฯ ชุมชนเกิดการตื่นตัวในการกินผักปลอดสารพิษ และเกิดแหล่งขาย กระจายสินค้าในชุมชน อำนวยความสะดวกให้ชุมชนในการเดินทาง จัดหาผักปลอดสารพิษไปกินในครัวเรือน เกิดอาชีพเสริมแก่ครัวเรือนที่ปลูกผักเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน แก้จนไปด้วยตามเป้าหมายของโครงการสมาชิก เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสุขภาพ ด้านการออกกำลังกายและด้านเศรษฐกิจ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    การปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อส่งขายในตลาดสีเขียวของชุมชน การเสวนา การนำปัญหามามาพูดคุยแก้ปัญหากันเองในชุมชน การทำอาชีพเสริม การตรวจสุขภาพและการป้องกันโรค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    ทำแผนชุมชนที่ได้มาจากการสะท้อนปัญหาความต้องการแก้ไขปัญหาของชุมชนอย่างแท้จริง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    เกิดการเรียนรู้ในการวิเคราะห์ต้นทุน ในการประกอบอาชีพ เช่นการถูกแตงกวา ครัวเรือสามารถวิเคราะห์ต้นทุนในการปลูกแตงกวาได้ และที่สำคัญสามารถระบุที่มาของรายจ่ายที่ไม่เหมาะสมเช่น สารเคมี เป็นต้น ท้ายสุดวางแผนในการทำกิจกรรมอาชีพที่ได้กำไร เกิดผลกำไร รายจ่ายน้อยลง รายรับเพิ่มขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ปลอดโรคปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียงบ้านมะม่วงขาว(ต่อยอด) จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 57-02625

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปราณี วางกลอน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด