แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ กล้วยเภาร่วมใจจัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ ”

ชุมชนกล้วยเภา ม.5 ต.ดอนประดู่ อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นาย สมคิด ทองศรี

ชื่อโครงการ กล้วยเภาร่วมใจจัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ

ที่อยู่ ชุมชนกล้วยเภา ม.5 ต.ดอนประดู่ อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 58-04009 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2173

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"กล้วยเภาร่วมใจจัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนกล้วยเภา ม.5 ต.ดอนประดู่ อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กล้วยเภาร่วมใจจัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ



บทคัดย่อ

โครงการ " กล้วยเภาร่วมใจจัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนกล้วยเภา ม.5 ต.ดอนประดู่ อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง รหัสโครงการ 58-04009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 159,446.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 180 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน
  2. มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง จำนวน 45 คน
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภายใต้ปี 2558 ครั้งที่1

    วันที่ 29 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมปฐมนิเทศโครงการ ในวันที่ 29 - 30 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมธรรมรินทร์ธนา จ.ตรัง ชี้แจงการจัดทำโครงการ เรื่อง การบริหารโครงการ จัดทำบัญชีการเงิน การรายงานโครงการ และการลงปฏิทินกิจกรรมในโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบโครงการได้เรียนรู้การจัดทำโครงการ เรื่อง การลงข้อมูลในเวบไซต์ ต้องมีข้อมูลตรงกับเอกสารโครงการ และได้กรอกข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง ได้ฝึกการจัดทำรายงานกิจกรรม เข้าใจการเคลียร์เอกสารการเงินให้ถูกต้อง และลงปฏิทินกิจกรรมเสร็จ

     

    3 3

    2. ประชุมตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้าน

    วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงและสร้างความเข้าใจโครงการ
    2. ประชุมทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ แผนงานกิจกรรม กระบวนการของโครงการ
    3. สรรหาและแต่งตั้งทีมงานเป็นแกนนำของโครงการจากเวทีประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากผลการดำเนินการ ทำให้ได้ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 122 คนรับทราบข้อมูลและความเป็นมาของโครงการ นอกจากนั้นยังได้ตัวแทนคณะทำงานในรูปแบบสภาผู้นำชุมชน จำนวน 45 คน

     

    120 122

    3. จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 6 ตุลาคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้าย และนำมาติดในเวทีจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประชาสัมพันธ์และรณรงค์การลด ละ เลิกสูบหรี่ โดยดำเนินการติดป้าย 2 สถานที่ ที่รพ.สต.ดอนประดู่ และศาลาประชาคมหมู่บ้าน

     

    140 140

    4. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน ครั้งที่ 1

    วันที่ 7 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในทีมสภาผู้นำชุมชน 2.กำหนดมาตรการที่สำคัญของหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำเนินการแบ่งหน้าที่การพัฒนาหมู่บ้าน 7 ด้านโดยแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคลื่อน ดังนี้

    1. กรรมมาธิการพัฒนาหมู่บ้าน จำนวน 4 คน
    2. กรรมมาธิการบริหารหมู่บ้าน จำนวน 6 คน
    3. กรรมมาธิการพัฒนาสุขภาพจำนวน 4 คน
    4. กรรมมาธิการพัฒนาสิ่งแวดล้อม จำนวน 4 คน
    5. กรรมมาธิการพัฒนากลุ่มอาชีพ จำนวน 4 คน
    6. กรรมมาธิการพัฒนาเด็กและเยาวชน จำนวน 13 คน
    7. กรรมมาธิการพัฒนาผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส 4 คน

     

    45 45

    5. ดำเนินการสร้างเครื่องมือในการสำรวจขยะ

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำหรับขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ โดยประสานเชิญคณะทำงานจำนวน 35 คนเข้าร่วมประชุมโดยประกอบด้วย

    • กลุ่มเยาวชน

    • คณะกรรมการหมู่บ้านและ อสม.โดยกิจกรรมหลักๆเป็นการร่วมรับฟังแนวคิดจากที่ประชุมจากนั้นร่วมกันคิดแบบสอบถามและข้อเสนอแนะ หลังจากนั้นสรุปผลให้ที่ประชุมรับทราบและนัดเก็บข้อมูลในวันต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลสรุปของกิจกรรมมีดังนี้ หลังจากใช้เวลาในการระดมความคิดจากคณะทำงาน ทำให้เกิดความเข้าใจและวัตถุประสงค์ของกิจกรรมโครงการมากขึ้น ซึ่งได้แบบสอบถามโดยมีข้อคำถามดังนี้

    แบบสอบถามเรื่อง

    ความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน

    คำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม

    แบบสอบถามมีทั้งหมด 4 ตอน ดังนี้

    ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

    ตอนที่ 2 ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน โดยการคัดแยกขยะครัวเรือน

    ตอนที่ 3 ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนที่ต้องกำจัด ต่อ 1 วัน

    ตอนที่ 4 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

     

    35 35

    6. ดำเนินการสำรวจขยะครัวเรือน

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการดำเนินงาน

    • โดยมีการเชิญคณะทำงานประชุมพูดคุย

    • แบ่งเขตและพื้นที่ความรับผิดชอบ เพื่อให้งานเสร็จอย่างรวดเร็วและเป็นระบบ โดยแบ่งพื้นที่ตามเขตของ อสม. ให้เยาวชนติดตาม อสม.ไปเก็บข้อมูล โดยแบ่งเป็น 15 เขต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการดำเนินเก็บข้อมูลโดยแบ่งพื้นที่ 15 เขตตามพื้นที่รับผิดชอบของ อสม. เก็บข้อมูลได้ทั้งหมด 140 ครัวเรือน

     

    35 35

    7. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจจากเครื่องมือที่สร้างขึ้น

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เชิญตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมประชุม หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ชี้แจงให้ประชาชนได้รับทราบ
    • จากตาราง พบว่า
    1. ประชากรหมู่ 5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน ที่ได้ทำการตอบแบบสอบถามเรื่องความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน แบ่งเป็นเพศชาย29 คน คิดเป็นร้อยละ 22.3 เป็นเพศหญิง 101 คน คิดเป็นร้อยละ 77.7
    2. ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนที่ต้องกำจัดต่อ 1 วัน จากตาราง พบว่าประชาชนส่วนใหญ่มีการกำจัดขยะอินทรีย์คิดเป็นร้อยละ 90.8 โดยกำจัดเศษอาหาร เศษผักผลไม้ จำนวน 0.5 - 5ก.ก/วัน คิดเป็นร้อยละ 89.2 จำนวน6 - 10ก.ก/วัน คิดเป็นร้อยละ 1.5 และไม่มีการกำจัดขยะอินทรีย์คิดเป็นร้อยละ 9.2
    3. ประชาชนส่วนใหญ่มีการกำจัดขยะรีไซเคิล คิดเป็นร้อยละ 90.8 โดยมีกำจัดพลาสติก จำนวน1-10ชิ้นคิดเป็นร้อยละ 79.2 จำนวนขวดแก้วจำนวน1-10ชิ้นคิดเป็นร้อยละ 50.0 กระดาษ จำนวน1-10 ชิ้นคิดเป็นร้อยละ 36.2 อะลูมิเนียม จำนวน1-10ชิ้นคิดเป็นร้อยละ 10.8 เหล็ก ทองแดง สังกะสี จำนวน1-10ชิ้นคิดเป็นร้อยละ 8.5 ขวดน้ำ จำนวน1-10ชิ้นคิดเป็นร้อยละ 70.0
    4. ข้อเสนอแนะ
    • ควรเก็บขยะมาทำเป็นปุ่ยหมัก

    • ควรมีรถเก็บขยะและให้ทุกคนช่วยกันรณรงค์ขยะและให้มีถังขยะหน้าบ้าน

    • ควรมีรถเก็บขยะ และให้มาเก็บทุกวัน

    • รณรงค์ให้แยกขยะก่อนทั้งแล้วนำไปขาย

    • จัดหากระสอบมาใส่ขยะในครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการเก็บข้อมูล นำข้อมูลมาร่วมกันวิเคราะห์ พบว่า ครัวเรือนส่วนมากยังขาดการคัดแยกขยะ และ ขยะที่ใช้ประโยชน์ได้ไม่มีกระบวนการใดๆ ในการจัดการ ทางคณะทำงานจึงร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการให้มากยิ่งขึ้น

     

    35 35

    8. จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน ครั้งที่ 1

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เชิญตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมประชุม หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ชี้แจงให้ประชาชนได้รับทราบ โดยนำเสนอข้อมูลจากเวทีวิเคราะห์ข้อมูลครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 เก็บข้อมูลได้ทั้งสิ้น 140 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการคืนข้อมูลให้กับชุมชนในครั้งนี้ ทำให้ประชาชนทราบถึงกิจกรรมของโครงการ ทราบถึงข้อมูลขยะในชุมชนในภาพรวม มีความตื่นตัวในการเข้าร่วมกิจกรรม และการจัดการขยะในครัวเรือนมากขึ้น มีครัวเรือนสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 70 ครัวเรือน

     

    100 82

    9. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำครั้งที่ 2

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญสมาชิกสภาผู้นำชุมชน จำนวน 45 คน ประกอบด้วย

    คณะกรรมการหมู่บ้าน กลุ่มเยาวชน และ อสม. ประธานกลุ่มต่าง

    ประชุมแบ่งหน้าที่โดยสรุปแบ่งการพัฒนาหมู่บ้าน ทั้งหมด 7 ด้าน

    1. ด้านพัฒนาสุขภาพ

    2. ด้านบริหารหมู่บ้าน

    3. ด้านพัฒนาหมู่บ้าน

    4. ด้านพัฒนาสิ่งแวดล้อม

    5. ด้านพัฒนาผู้สูงอายุและผู้พิการ

    6. ด้านพัฒนาอาชีพ

    7. ด้านพัฒนาเด็กและเยาวชน

      นอกจากนั้นมีการแบ่งบทบาทกันรับผิดชอบงานเป็นฝ่ายๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิญสมาชิกสภาผู้นำชุมชน จำนวน 45 คน ประกอบด้วย

    คณะกรรมการหมู่บ้าน กลุ่มเยาวชน และ อสม. ประธานกลุ่มต่าง ประชุมแบ่งหน้าที่โดยสรุปแบ่งการพัฒนาหมู่บ้าน ทั้งหมด 7 ด้าน

    1.ด้านพัฒนาสุขภาพ คณะทำงานประกอบด้วย

    นางขจิตเปลี่ยวพยัค ประธานกรรมมาธิการพัฒนาสุขภาพ

    กรรมมาธิการพัฒนาสุขภาพประกอบด้วย

    1. นางแสงอุไร ชูเย็น
    2. นางสุนีภัทรารุ่งโรจน์
    3. นางกรรยาบัวศรี

    2.ด้านพัฒนาอาชีพ

    นายประสิทธิ์แมวขาว ประธานกรรมมาธิการพัฒนาอาชีพ

    กรรมมาธิการพัฒนาอาชีพประกอบด้วย

    1. นางสาวสุคนธ์ อำพะสุโร

    2. นางจำเนียร มากมณี

    3. นางสมพร เสนกลับ

    3.ด้านพัฒนาผู้สูงอายุ

    นางส้มเช้าแซ่โค้ว ประธานกรรมมาธิการพัฒนาผู้สูงอายุและผู้พิการ

    กรรมมาธิการพัฒนาผู้สูงอายุและผู้พิการ ประกอบด้วย

    1.นายสง ครูอ้น

    2.นายถาวรเสนกลับ

    3.นางประคอง อำพะสุโร

    4.ด้านบริหารหมู่บ้าน

    นายพนมอินทร์ศรี ประธานกรรมมาธิการบริหารหมู่บ้าน

    กรรมมาธิการบริหารหมู่บ้านประกอบด้วย

    1.นายบุญโชติวรรณณะ

    2.นางภัคดี ไชยคีรี

    3.นางสุทธิมาอินทร์ศรี

    4.นายจำรูญคงทรัพย์

    5.นางชะอุ้ม ยานะวิมุติ

    5.ด้านพัฒนาเด็กและเยาวชน

    นางวรินทร์ เส้งเงิน ประธานกรรมมาธิการพัฒนาเด็กและเยาวชน

    กรรมมาธิการพัฒนาเด็กและเยาวชน ประกอบด้วย

    1. ด.ญ. ชนธิชา ทองศรี

    2. ด.ญ. อชิรญา บัวแก้ว

    3. ด.ญ. สโรชาหนูชู

    4. นาย พงศภักสุขแสวง

    5. ด.ช. เหมภัทร สุขมาก

    6. ด.ญ. ธรรณพร อักษรภักดี

    7. ด.ช. นครินทร์ เกวะระ

    8. ด.ช. ศีรประเสริฐ ชูเย็น

    9. ด.ญ. พรทิพย์ขลุกเอียด

    10. ด.ช. ประดิพันธ์ อินทร์ศรี

    11. ด.ญ. ชัชดาพร ขลุกเอียด

    12. ด.ช. ธรรรดนัยรักเงิน

    ุ6.ด้านพัฒนาหมู่บ้าน

    นายวิโรจน์ยานะวิมุติ ประธานกรรมมาธิการพัฒนาหมู่บ้าน

    กรรมมาธิการพัฒนาหมู่บ้าน ประกอบด้วย
    1. นายจิตนพงษ์ มากมณี

    1. นายอภิชัย แมวขาว

    3.นายภิญโญ อ่ำปลอด

    7.พัฒนาสิ่งแวดล้อม

    นายสมคิดทองศรี ประธานกรรมมาธิการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

    กรรมมาธิการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย
    1.นายรุ่ง เช้าจันทร์

    2.นายเดชนะมากแก้ว

    3.นางหฤทัย มากมณี

     

    45 45

    10. อบรมการเขียนรายงานและการจัดการเอกสารการเงิน

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนการประชุมดังนี้

    07.30 น.-09.00 น. ลงทะเบียน

    09.00 น. - 12.00 น. อธิบายเกี่ยวกับการรายงานกิจกรรมหน้าเว็บไซต์

    12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร

    13.00 น.- 16.30 น. ตรวจเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเข้าร่วมประชุม

    1. คณะทำงานมีความรู้ในการรายงานกิจกรรมเพิ่มขึ้นและเข้าใจในทิศทางเดียวกัน

    2. คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจด้านการจัดทำหลักฐานการเงินได้ถูกต้อง

    3.ฝ่ายการเงินของโครงการจัดทำหลักฐานการเงินได้ถูกต้องครบถ้วน

    4.การรายงานกิจกรรมได้ทันเวลาและถูกต้อง

     

    3 3

    11. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนเรื่องการจัดการขยะในชุมชน

    วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 เวลา 08:00-16.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมดังนี้

    07.30-08.00 น.พร้อมกันบริเวณหน้าศาลาเอนกประสงค์บ้านกล้วยเภา

    08.00-09.30 น.เดินทางจากบ้านกล้วยเภา อำเภอปากพะยูนถึงสถานที่ดูงาน อ.ควนโดน จ.สตูล

    09.30 -12.00 น.ศึกษาดูงานตามฐานต่างๆที่วิทยากรเตรียมไว้

    12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00น.-15.00 น.ศึกษาดูงานร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนกับพื้นที่เพื่อนำปรับมาใช้ในพื้นที่

    15.00-16.30 น. เดินทางกลับถึงภูมิลำเนาอย่างสวัสดิภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิตจากการศึกษาดูงาน

    1. มีครัวเรือนต้นแบบในการเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 70 ครัวเรือน
    2. เกิดองค์ความรู้เรื่องการจัดการขยะ
    3. เกิดการขยายผลในชุมชนโดยมีครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมธนาคารขยะจำนวน 70 ครัวเรือน

     

    45 40

    12. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชนครั้งที่3

    วันที่ 7 ธันวาคม 2558 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 น. ลงทะเบียน

    13.30 น.-16.30 น. ประชุมวางแผนเรื่องการจัดกิจกรรมอบรมครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะ และวาระอื่น ๆ ของหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิตจากกิจกรรม

    • สมาชิกสภาผู้นำพร้อมใจกันเข้าร่วมประชุมที่ศาลาหมู่บ้าน จำนวน 45 คนได้ประชุมและวางแผนการทำงานร่วมกัน

    ผลลัพธ์

    1. ที่ประชุมมีมติจัดกิจกรรมอบรมครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะใน วันที่ 20 ธันวาคม 2558 กลุ่มเป้าหมาย 70 คน

    2. ที่ประชุมเสนอแนวทางการจัดตั้งธนาคารให้เต็มรูปแบบ

     

    45 35

    13. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 4

    วันที่ 7 มกราคม 2559 เวลา 13:00-16.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 น. เริ่มประชุม

    เวลา 13.05 น. ประธานในที่ประชุม นายประสิทธิ์ แมวขาวเปิดประชุมและแจ้งในที่ประชุมทราบดังวาระการประชุมดังนี้

    วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ

    • การประชุมแต่ละครั้งขอความร่วมมือสมาชิกเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน

    • การประชุมแต่ละครั้งให้สมาชิกแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย

    วาระที่ 2เรื่องรับรองการประชุม

    มติในที่ประชุมรับรองการประชุม

    วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง

    • กิจกรรมศึกษาดูงาน ขอความร่วมมือทุกท่านช่วยสรุปประเด็นสำคัญในการศึกษาดูงานเพื่อนำเสนอในที่ประชุมเพื่อเป้นแนวทางในการปรับใช้ข้อมูล

    • วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา

    • การเปิดรับสมัครครัวเรือนต้นแบบเข้าร่วมโครงการจัดการขยะ

    • การอบรมครัวเรือนต้นแบบเข้าร่วมโครงการขยะสู่ระบบธนาคารขยะ

    วาระที่ 5 เรื่องจากคณะทำงานฝ่ายต่างๆ

    -ฝ่ายบริหารหมู่บ้าน (นายพนม อินทร์ศรี)

    -ฝ่ายพัฒนาหมู่บ้าน (นายวิโรจน์ ยานะวิมุติ)

    -ฝ่ายพัฒนาสุขภาพ (นางขจิต เปลี่ยวพยัค)

    -ฝ่ายพัฒนาเด็กและเยาวชนและผู้ด้วยโอกาส (นางวริทร์ เส้งเงิน)

    -ฝ่ายพัฒนาสิ่งแวดล้อม (นายสมคิด ทองศรี)

    -ฝ่ายพัฒนาผู้สูงอายุ (นางส้มเช้า แซ่โค้ว)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีครัวเรือนต้นแบบในการเข้าร่วมกิจกรรมธนาคารขยะ 70 ครัวเรือน

    ผลลัพธ์

    1. คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชนเข้าใจในกระบวนการทำงาน มีการเสนอแนวทางการพัฒนาหมู่บ้านด้านต่างๆ
    2. คณะกรรมการมีศักยภาพในความรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน
    3. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานร่วมกันและเกิดพลังในการขับเคลื่อนงาน

     

    45 35

    14. อบรมให้ความรู้และจัดตั้งธนาคารขยะ

    วันที่ 13 มกราคม 2559 เวลา 08:30-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 - 09.00 น.ลงทะเบียน

    09.00-10.30 บรรยายเรื่อง กระบวนการและขั้นตอนการฝากขายขยะ

    10.30 -11.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง

    11.00 - 12.00 น. บรรยายเรื่อง การคัดแยกขยะในครัวเรือน

    12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 - 14.30 น. อบรมเรื่องแนวทางการรับฝากขยะสู่ธนาคารขยะ

    14.30 - 15.00 น.พักรับประทานอาหารว่าง

    15.00- 16.00 น. ประชุมคัดเลือกคณะทำงานบริหารธนาคารขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • มีครัวเรือนต้นแบบที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกจำนวน 70 ครัวเรือน
    • ครัวเรือนที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการของธนาคาร
    • มีคณะกรรมการบริหารธนาคารขยะ 1 ชุด ซึ่งมาจากคณะกรรมฝ่ายกรรมาธิการพัฒนาสิ่งล้อมของสภาผู้นำ มีสมาชิกจำนวน 7 คน
    • สมาชิกครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้น

     

    70 70

    15. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การจัดการขยะในหมู่บ้าน ครั้งที่ 1

    วันที่ 15 มกราคม 2559 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 น.แบ่งพื้นที่รับผิดชอบ เป็น 4 เขตพื้นที่และร่วมกันเก็บขยะตามเขตที่ตัวเองรับผิดชอบ มีขบวนการแห่กลองยาวเพื่อสร้างกระแสและปลุกคนในชุมชนที่อยู่ตามบ้านให้เข้ามาร่วมกิจกรรมเก็บขยะด้วยกัน ในขบวนกลองยาวมีการร้องเพลงทีเน้นเนื้อหาการรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน และเยาวชน ทีม อสม.แกนนำชุมชนรวมทั้งชาวบ้านในพื้นที่มาร่วมกันเก็บขยะตามที่สาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจัดเก็บขยะและรณรงค์ จำนวน 100 คน

    ผลลัพธ์

    1.จากการแห่ขบวนกลองยาว ทำให้คนที่อยู่ตามบ้านให้ความสนใจและเข้ามาร่วมกิจกรรม รวมทั้งผูปกครองที่เห็นลูกหลานมาร่วมกิจกรรมก้ให้ความสนใจและเข้ามาร่วมเก็บขยะด้วยกัน ทำให้พื้นที่ในหมู่บ้านที่มีการจัดเก็บขยะร่วมกันตามสถานที่สาธารณะและคูถนนปลอดขยะ เกิดการกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้คนหันมาให้ความสำคัญกับการรักษาความสะอาดบนท้องถนนตามที่สาธารณะ เพื่อเป็นหน้าตาแก่หมู่บ้าน

     

    100 70

    16. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 5

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 น.เริ่มประชุมโดยประธานสภาผู้นำชุมชนบ้านกล้วยเภาเปิดประชุมตามวาระการประชุมดังนี้

    วาระที่ 1.เรื่องแจ้งเพื่อทราบ

    1.1 การประชุมในแต่ละครั้งขอความร่วมมือสมาชิกเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน

    1.2 การประชุมแต่ละครั้งให้สมาชิกแต่งกายสุภาพ
    วาระที่ 2.เรื่องรับรองการประชุม

    • รับรองการประชุม

    วาระที่3 เรื่องสืบเนื่อง

    • การเปิดรับสมัครครัวเรือนต้นแบบเข้าร่วมโครงการจัดการขยะ แจ้งความคืบหน้า

    วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา

    1. การจัดทำสถานที่รับซื้อขยะ (งบประมาณ 3,500 บาท)

    2. การศึกษาดูงานของกลุ่มเด็กเยาวชนวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2559

    3. การจัดเก็บข้อมูลเรื่องขยะโดยกลุ่มเยาวชน

    วาระที่ 5 เรื่องจากคณะทำงานฝ่ายต่างๆ

    1. ฝ่ายบริหารหมู่บ้าน (นายพนมอินทร์ศรี)

    2. ฝ่ายพัฒนาหมู่บ้าน (นายวิโรจน์ ยานะวิมุติ)

    3. ฝ่ายพัฒนาสุขภาพ (นางขจิตเปลี่ยวพยัค)

    4. ฝ่ายเด็กเยาวชนและผู้ด้อยโอกาส (นางวรินทร์ เส้งเงิน)

    5. ฝ่ายกลุ่มอาชีพ (นายประสิทธิ์แมวขาว)

    6. ฝ่ายสิ่งแวดล้อม (นายสมคิดทองศรี)

    7. ฝ่ายผู้สูงอายุ (นางส้มเช้า แซ่โค้ว)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. สมาชิกสภาเข้าร่วมประชุมและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน
    2. มีสถานที่รับซื้อขยะ 1 แห่ง

    ผลลัพธ์

    1. มีครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะจำนวน 70 ครัวเรือน

     

    45 45

    17. ประชุมติดตามผลการดำเนินงานร่วมกับพี่เลี้ยงและทีมสจรส.

    วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09.00 น.- 12.00 น.ร่วมประชุมกับครูพี่เลี้ยงและทีม สจรส.

    12.00 น.- 13.00 น.พักรับประทานอาหาร

    13.00 น. - 16.30 น.นำเสนอผลการดำเนินงานและรับการตรวจเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. คณะทำงานมีความเข้าใจในการดำเนินงานและการจัดทำเอกสารการเงิน

    ผลลัพธ์

    1. เอกสารหลักฐานการเงินได้รับการตรวจสอบ มีความถูกต้อง ครบถ้วน

     

    3 3

    18. ประชุมจัดทำรายงานงวดที่ 1

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 08.00-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 น. -09.30 น. ลงทะเบียน

    09.30 น. -10.30 น. วิทยากรชี้แจงเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลและการทำบัญชี

    10.30 น.- 12.00น.ตรวจสอบการบันทึกข้อมูล

    12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 น. - 16.30 น. ตรวจสอบเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.คณะทำงานมีความรู้ในการบันทึกข้อมูลและการจัดทำเอกสารการเงิน

    ผลลัพธ์

    1.โครงการผ่านการตรวจสอบเอกสารการเงินและตรวจสอบการบันทึกข้อมูลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน

     

    3 3

    19. อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องในการจัดการขยะ

    วันที่ 5 มีนาคม 2559 เวลา 08:30 -16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 น.- 09.00 น. ลงทะเบียน

    09.00 น.- 09.30 น. กล่าวชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรมโดยผู้รับผิดชอบโครงการ

    09.30 น.- 10.30 น. ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ

    10.30 น.- 12.00 น. ให้ความรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์

    12.00 น.-13.00 น.พักกลางวัน

    13.00 น. - 16.30 น. ให้ความรู้เรื่องการทำตะกร้าลดโลกร้อน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.ครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 89.20

    2.ครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 70 ครัวเรือน

    ผลลัพธ์

    1.ครัวเรือนในหมู่บ้านจำนวน 70 ครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ถูกต้อง

     

    70 70

    20. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชนครั้งที่6

    วันที่ 7 มีนาคม 2559 เวลา 13:00 -16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 น ลงทะเบียน

    13.30. -16.30 น. ประชุมสมาชิกสภาผู้นำชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.มีสมาชิกเข้าร่วมประชุม 45 คน

    2.สมาชิกสภาเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้

    ผลลัพธ์

    1.ที่ประชุมมีมติในการสร้างตะแกรงคัดแยกขยะเพื่อใช้ในกิจกรรมธนาคารขยะ

     

    45 45

    21. ดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะในชุมชน

    วันที่ 9 มีนาคม 2559 เวลา 09:00 -16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09.00 -09.30 น. ลงทะเบียน

    09.30 -12.00 น. ลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล

    12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร

    13.00-16.30 น.ลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.จัดเก็บข้อมูลสำรวจการจัดการขยะจำนวน 120 ครัวเรือน

    ผลลัพธ์

    1.ได้ข้อมูลการสำรวจ 120 ชุดเพื่อมาวิเคราะห์ข้อมูล

     

    35 35

    22. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจจากเครื่องมือที่สร้างขึ้น

    วันที่ 16 มีนาคม 2559 เวลา 09:00-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09.00 - 09.30 ลงทะเบียน

    09.30 - 10.30 รวบรวมข้อมูล

    10.30 - 12.00 แบ่งกลุ่มย่อยวิเคราะห์ข้อมูล

    12.00 -13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 -16.30 วิเคราะห์ข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์

    1.ประชาชนส่วนใหญ่มีการกำจัดขยะอินทรีย์คิดเป็นร้อยละ 90.8

    2.ประชาชนมีการกำจัดขยะทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 44.6

    3.ประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีการกำจัดขยะอันตราย คิดเป็นร้อยละ 75.4

    ข้อเสนอแนะ
    -ควรเก็บขยะมาทำเป็นปุ่ยหมัก

    -ควรมีรถเก็บขยะและให้ทุกคนช่วยกันรณรงค์ขยะและให้มีถังขยะหน้าบ้าน

    -ควรมีรถเก็บขยะ และให้มาเก็บทุกวัน

    -รณรงค์ให้แยกขยะก่อนทั้งแล้วนำไปขาย

    -จัดหากระสอบมาใส่ขยะในครัวเรือน

    ผลลัพธ์

    -สมาชิกสภาผู้นำชุมชนมีเวทีระดมความคิดเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล

     

    35 35

    23. จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน ครั้งที่ 2

    วันที่ 18 มีนาคม 2559 เวลา 13.00-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 - 13.30 น. ลงทะเบียน

    13.30 - 14.30 น. คณะทำงานคืนข้อมูลให้กับประชาชน

    14.30 - 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง

    15.00 - 16.30 น. คณะทำงานคืนข้อมูลให้กับประชาชนต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.ประชาชนเข้าร่วมประชุมคืนข้อมูล 100 คน

    2.ประชาชนทราบแนวทางการทำงานของคณะกรรมการ

    ผลลัพธ์

    ครัวเรือนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมธนาคารขยะ 70 ครัวเรือน

     

    100 100

    24. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 2

    วันที่ 5 เมษายน 2559 เวลา 13:00 -16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 น. - 13.30 น. ลงทะเบียน 13.30 น. - 14.00 น. แบ่งกลุ่มเพื่อแบ่งโซนรับผิดชอบขยะ 14.00 น. - 16.30 น. เก็บกวาดขยะในหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.ประชาชนมีกิจกรรมเก็บกวาดขยะในหมู่บ้านร่วมกัน

    2.แบ่งโซนการรับผิดชอบของหมู่บ้าน เป็น 4 โซน เพื่อจัดเก็บขยะและพัฒนาให้สวยงาม

    ผลลัพธ์

    1.ไม่มีขยะในพื้นที่สาธารณะของหมู่บ้าน

     

    100 100

    25. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน ครั้งที่ 7

    วันที่ 7 เมษายน 2559 เวลา 13:00 - 16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 - 13.30 น. ลงทะเบียน

    13.30 - 14.00 น. เปิดประชุมและชี้แจงแนวทางการทำงาน

    14.00-14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง

    14.30- 16.30 น. ประชุมแลกเปลี่ยนแนวคิดต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.มีแผนการดำเนินงาน 1 แผนงาน

    ผลลัพธ์

    หมู่บ้านได้รับการพัฒนาตามแผนงานที่กำหนด

     

    45 45

    26. จัดประชุมเพื่อประกวดครัวเรือนต้นแบบ

    วันที่ 20 เมษายน 2559 เวลา 13.00-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 - 13.30 น. ลงทะเบียน

    13.30 -14.00 น. ชี้แจงแนวทางการประกวดครัวเรือนต้นแบบ

    14.00 - 14.30 น.พักรับประทานอาหารว่าง

    14.30 -16.30 น. คัดเลือกตัวแทนคณะกรรมการประกวดครัวเรือนต้นแบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    -มีแผนการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ โดยจะคัดเลือกจากบ้านที่มีการคัดแยกขยะ และมีการนำขะไปใช้ประโยชน์ ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกต้องเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์

    ผลลัพธ์

    -มีคณะกรรมการประกวดครัวเรือนต้นแบบจำนวน 15 คน

     

    90 90

    27. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน ครั้งที่8

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2559 เวลา 13:00 - 16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 -13.30 น. ลงทะเบียน

    13.30 -14.00 น. ประธานสภาเปิดประชุมพร้อมพบปะสมาชิกสภาผู้นำชุมชน

    14.00 - 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง

    14.30 - 16.30 น. ประชุมพร้อมรับฟังข้อคิดเห็นจากสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    มีแผนการดำเนินกิจกรรมของเดือนในหมู่บ้าน 1 แผนงาน


     

    45 45

    28. ลงพื้นที่ประเมินครัวเรือนต้นแบบโดยคณะกรรมการ

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 - 09.00 น. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการประเมิน

    09.00 - 12.00 น. ลงพื้นที่ประเมิน

    12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 - 16.30 น. ลงพื้นที่ประเมินต่อ


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.ตรวจประเมินบ้านโดยคณะกรรมการจำนวน 70 หลังคาเรือน

    ผลลัพธ์

    1.มีครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะจำนวน 70 ครัวเรือน โดยจะคัดแยกขยะไว้เพื่อขาย มีการนำขยะมาทำปุ๋ยชีวภาพใช้ในการทำเกษตร บริเวณบ้านสะอาดน่าอยู่ และยังเป็นจิตอาสาเข้ามาร่วมกิจกรรมในโครงการทุกครั้ง

     

    15 15

    29. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน ครั้งที่ 9

    วันที่ 7 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 - 13.30 น.กิจกรรมลงทะเบียน

    เวลา 13.30 เริ่มประชุมเปิดประชุมโดยนายประสิทธิ์แมวขาว ประธานสภาผู้นำชุมชน

    เวลา 13.30 - 14.00 น.ประธานแจ้งเรื่องต่างๆให้ทราบ

    เวลา 14.00 - 14.30 น.ประธานฝ่ายบริหารหมู่บ้านเสนอกิจกรรมมหกรรมสุขภาพของหมู่บ้าน

    เวลา 14.30 - 15.00 น. ประธานฝ่ายพัฒนาหมู่บ้านเสนอการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเก็บขยะในหมู่บ้าน

    เวลา 15.00 - 16.00 น. ประธานการพัฒนาด้านต่างๆนำเสนอผลการดำเนินงานและประธานปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.สมาชิกสภาผู้นำชุมชนเข้าร่วมประชุมจำนวน 45 คน 2.มีแผนการจัดกิจกรรม จำนวน 1 แผนงาน

    ผลลัพธ์ 1.สมาชิกสภาผู้นำชุมชนมีความร่วมมือเข้าร่วมประชุมอย่างต่อเนื่อง 2.เกิดความร่วมมือ ความสามัคคี ความต่อเนื่องของสภาผู้นำชุมชน

     

    45 45

    30. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชนครั้งที่ 3

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 13.00 - 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 น.  ลงทะเบียนประชุมตัวแทนครัวเรือน พร้อมแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบในการเก็บกวาดขยะ 13.00 น. -15.00 น. ร่วมเก็บกวาดขยะตามพื้นที่รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.ตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน

    ผลลัพธ์

    1.พื้นที่บริเวณถนน พื้นที่สาธารณะมีความสะอาด น่าอยู่ น่ามอง 2.เกิดความสามัคคี เกิดกิจกรรมการรณรงค์ทำความสะอาดในหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง

     

    100 100

    31. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน ครั้งที่10

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 - 13.30ลงทะเบียน เวลา 13.30 - 14.00ประธานสภาผู้นำชุมชนนายประสิทธิ์แมวขาว เปิดประชุมพร้อมแจ้งเรื่องต่างๆให้สมาชิกทราบ เวลา 14.00 - 14.30ประธานพัฒนาสิ่งแวดล้อม นายสมคิดทองศรี ชี้แจงเรื่องธนาคารขยะ เวลา 14.30 - 15.00ประธานฝ่ายเด็กสตรีและเยาวชน นางสมเช้า แซ่โค้ว ชี้แจงเรื่องกิจกรรมการอบรมอาชีพเสริมให้กับกลุ่มสตรีในหมู่บ้าน เวลา 15.00 - 15.30ประธานฝ่ายบริหารหมู่บ้าน นายพนมอินทร์ศรี ชี้แจงเรื่องการแข่งขันกีฬาของหมู่บ้าน เวลา 15.30-16.00ประธานสภาผู้นำชุมชนนายประสิทธิ์แมวขาว สรุปประเด็นต่างๆและปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -สมาชิกสภาผู้นำชุมชนเข้าร่วมประชุมจำนวน 45 คน -มีแผนการดำเนินงานประจำเดือนจำนวน 1 แผนงาน

    ผลลัพธ์ -มีการประชุมของสมาชิกสภาผู้นำอย่างต่อเนื่องทุกเดือน

     

    45 45

    32. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางมาตรการในการลดการนำเข้าขยะในชุชนและร้านค้า

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 -13.30  ลงทะเบียนสำหรับผู้ร่วมการประชุม เวลา 13.30 - 14.00 น.ร่วมแลกเปลี่ยนเรื่อง ขยะในชุมชน นำการแลกเปลี่ยนโดยสมาชิกสภาผู้นำชุมชน เวลา 14.00 -14.30  ตัวแทนร้านค้าร่วมแลกเปลี่ยนเรื่องแนวทางการลดขยะในชุมชน เวลา 14.30 - 15.30  ร่วมกันกำหนดกติกามาตรการลดขยะในชุมชน เวลา 15.30 - 16.00 สรุปประเด็นและปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์ 1.มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คน 2.มีมาตรการในการลดขยะของหมู่บ้าน 1.ขอความร่วมมือให้ลูกค้าในหมู่บ้านนำตะกร้าหรือกระเป๋าเวลาไปซื้อของที่ร้านค้าในหมู่บ้าน 2.ทุกหลังคาเรือนต้องมีการคัดแยกขยะ 3.ไม่ทิ้งขยะหรือสร้างความสกปรกบริเวณถนน คู หรือสถานที่สาธารณะในหมู่บ้าน 4.ไม่กองหรือเผาขยะบริเวณหน้าบ้าน ผลผลิต 1.เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชนและร้านค้าในการลดขยะในชุมชน

     

    100 100

    33. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน ครั้งที่ 11

    วันที่ 7 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 - 13.30 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม เวลา 13.30 - 14.00 น. ประธานสภาผู้นำชุม นายประสิทธิ์ แมวขาว เปิดประชุมและแจ้งเรื่องต่างๆให้ที่ประชุมทราบ เวลา 14.00 - 14.30 น. ประธานฝ่ายบริหารหมู่บ้านชี้แจงเรื่องการจัดมหกรรมสุขภาพ เวลา 14.30 - 15.30 น. ประธานฝ่ายพัฒนาหมู่บ้านหารือแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนิน เวลา 15.30 - 15.45 น. ประธานฝ่ายพัฒนาสิ่งแวดล้อมชี้แจงเรื่องการรับซื้อขยะของธนาคารขยะ เวลา 15.45 - 16.00 น. ประธานสภาผู้นำชุมชนสรุปประเด็นต่างๆ และปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์ -สมาชิกสภาผู้นำชุมชนเข้าร่วมประชุม จำนวน 45 คน -มีแผนการดำเนินงานประจำเดือน จำนวน 1 แผนงาน

    ผลผลิต -มีการประชุมสภาผู้นำชุมชนอย่างต่อเนื่อง -เกิดความสามัคคีในคณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน

     

    45 45

    34. จัดทำถ่ายภาพกิจกรรม

    วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถ่ายภาพกิจกรรม อัพรูปภาพลงเว็บไซต์ และคัดเลือกรูปภาพดี ๆ นำมาจัดทำรายงานและนิทรรศการในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ภาพกิจกรรมแต่ละกิจกรรมครบถ้วน สามารถทำรายงานฉบับสมบูรณ์ได้ และมีรูปที่สามารถนำมาจัดนิทรรศการเก็บไว้ที่ชุมชนได้

     

    2 1

    35. สรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชนหลังดำเนินโครงการ

    วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 - 12.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดขั้นตอนดังนี้ 07.00 - 08.00 น.  ลงทะเบียน 08.00 - 09.00 น. เดินขบวนรณรงค์สร้างกระแสการจัดการขยะในชุมชน 09.00 - 09.30 น. พิธีเปิดโครงการ 09.30 - 12.00 น. ประชาชนเยี่ยมชมบูธนิทรรศการของแต่ละชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.ประชาชนเข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน 2.มีนิทรรศการเรียนรู้จำนวน4 นิทรรศการ ผลลัพธ์ 1.ประชาชนเกิดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน 2.มีครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะจำนวน 70 ครัวเรือน

     

    200 200

    36. จัดทำรายงาน

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 08:00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้รายงานที่มีความถูกต้องและครบถ้วน จำนวน 1 เล่ม สามารถส่งรายงานให้ สสส.ได้ทันในเวลา

     

    2 2

    37. ประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน ครั้งที่ 12

    วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00 - 13.30 น. ลงทะเบียน 13.30 - 13.45 น. ประธานสภาผู้นำชุมชนกล่าวเปิดการประชุม 13.45 - 14.00 น. ที่ปรึกษาสภาผู้นำชุมชนชี้แจงรายละเอียดผลการดำเนินงาน 14.00 - 15.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมคิด  ทองศรี กล่าวชี้แจงการดำเนินพร้อมรายละเอียดงบประมาณแต่ละกิจกรรม 15.00 - 16.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเสนอแนะแนวทางการพัฒนาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.สมาชิกสภาผู้นำชุมชนเข้าร่วมประชุม จำนวน 46 คน ผลลัพธ์ 1.มีการประชุมอย่างต่อเนื่องและนำข้อมูลจากการประชุมมาพัฒนาตามข้อตกลงร่วมกัน เรื่อง การจัดทำธนาคารขยะขึ้นในชุมชน โดยให้แต่ละบ้านคัดแยกขยะที่สามารถนำมาขายได้ ส่วนขยะเปียกให้แยกไว้เพื่อทำปุ๋ยชีวภาพ ขยะที่อันตรายจะให้ทางเทศบาลเข้ามาดำเนินการ

     

    45 45

    38. ดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะครัวเรือน

    วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.00 น. ประชุมแบ่งพื้นที่ในการรับผิดชอบสำรวจข้อมูล 10.00 - 16.00 น. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลตามพื้นที่ๆได้รับมอบหมาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.สำรวจข้อมูลขยะครัวเรือนได้ทั้งหมด 116 ครัวเรือน ผลลัพธ์ 1.ครัวเรือนให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลต่อผู้สำรวจข้อมูล 2.มีข้อมูลเปรียบเทียบปริมาณขยะ ก่อ ระหว่าง และหลังดำเนินโครงการ

     

    4,700 35

    39. ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจจากเครื่องมือที่สร้างขึ้น ครั้งที่ 3

    วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.00-08.30 น. ลงทะเบียน 08.30-09.00 น. เปิดการประชุมชี้แจงข้อมูลจากการสำรวจสู่การวิเคราะห์ข้อมูล 09.00-09.30 น. แบ่งกลุ่มการวิเคราะห์ข้อมูล 09.30-12.00 น. วิเคราะห์ข้อมูล 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร 13.00-16.00 น. วิเคราะห์ข้อมููล 16.00-16.30 น. สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.มีผู้เข้าร่วมประชุม 35 คน 2.มีผลการวิเคราะห์ข้อมูล
    ผลลัพธ์ - เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการคัดแยกขยะ ขยะบางส่วนนำไปขายให้กับคนรับซื้อของเก่า และบางบ้านยังจำกัดขยะโดยการฝังและเผา

     

    35 35

    40. จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชนครั้งที่ 3

    วันที่ 23 กันยายน 2559 เวลา 13:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 น. ลงทะเบียน 13.30-14.00 น. ประธานโครงการชี้แจงข้อมูลโครงการ 14.00-15.00 น. คณะกรรมการชี้แจงสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการขยะ 15.00 - 16.00 น. ร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลพร้อมรับฟังข้อมูลเพื่อพัฒนาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.ตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรม 100 ครัวเรือน ผลลัพธ์ เกิดเวทีแลกเปลี่ยนและคืนข้อมูลให้กับชุมชน 1 เวที

     

    100 100

    41. ร่วมงานสร้างสุขคนใต้

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมงานสร้างสุขภาคใต้ วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เข้าร่วมการเสวนา ได้ร่วมจัดนิทรรศการและเข้าร่วมประชุมวิชาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.คณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดบูธนิทรรศการ ผลลัพธ์ 1.คณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการได้รับแนวคิดในการพัฒนาชุมชนเพิ่มขึ้น

     

    4 4

    42. การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.00 น. หัวหน้าทีมตรวจสอบเอกสารโครงการชี้แจงรายละเอียดการประชุม 10.00 - 12.00 น. ตรวจสอบเอกสารโครงการ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น. ตรวจสอบเอกสารโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำเอกสารและการจัดทำเอกสารการเงิน ผลลัพธ์ 1.เอกสารการเงินได้รับการตรวจสอบมีความถูกต้องครบถ้วน

     

    2 2

    43. ประชุมจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 - 09.00 ลงทะเบียน 09.00 - 12.00 ตรวจเอกสารการเงิน 12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 -16.00 ตรวจสอบการจัดทำเอกสารและเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำรายงานและเอกสารการเงิน ผลลัพธ์ 1.เอกสารการเงินและรายงานมีความถุกต้องครบถ้วน

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนในชุมชน ร้อยละ 70 มีการคัดแยกขยะได้ถูกต้อง 2. ขยะในชุมชนลดลงร้อยละ 60 3. มีกฎกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน 4. มีครัวเรือนนำร่องการจัดการขยะ จำนวน 70 ครัวเรือน 5. มีธนาคารขยะ
    • เกิดครัวเรือนต้นแบบในการคัดแยกขยะจำนวน 70 ครัวเรือนในหมู่บ้าน
    • มีมาตรการในการลดขยะของหมู่บ้าน 1.ขอความร่วมมือให้ลูกค้าในหมู่บ้านนำตะกร้าหรือกระเป๋าเวลาไปซื้อของที่ร้านค้าในหมู่บ้าน 2.ทุกหลังคาเรือนต้องมีการคัดแยกขยะ 3.ไม่ทิ้งขยะหรือสร้างความสกปรกบริเวณถนน คู หรือสถานที่สาธารณะในหมู่บ้าน 4.ไม่กองหรือเผาขยะบริเวณหน้าบ้าน
    2 มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง จำนวน 45 คน
    ตัวชี้วัด : 1.มีการประชุมต่อเนื่องทุกเดือน 2.คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชนเข้าร่วมประชุมแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.มีการติดตามงาน เก็บข้อมูล แก้ไขปัญหา ประเมินผล และคุยปัญหาอย่างหลากหลาย

    มีการประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชนทุกเดือน มีสมาชิกจำนวน 45 คน ประชุมหารือ เรื่อง

    • กำหนดแผนการเฝ้าระวังในชุมชนในการจัดการขยะของชุมชน
    • จัดทำแผนเพื่อขยายผลเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
    • นำเสนอแผนงานเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากท้องถิ่น
    • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน มีการประเมินผลระหว่างโครงการ มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
    3
    ตัวชี้วัด :

     

    4
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • เข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ทุกครั้งร้อยละ 100
    • มีป้ายปลอดบุหรี่ในชุมชนจำนวน 1 ป้าย
    • มีรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 เล่มพร้อมรูปภาพ และสามารภส่งรายงานให้ สสส.ได้ทันในเวลา

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน (2) มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง จำนวน 45 คน (3)  (4)  (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ กล้วยเภาร่วมใจจัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ

    รหัสโครงการ 58-04009 รหัสสัญญา 58-00-2173 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การจัดการขยะ ,ธนาคารขยะ

    รายชื่อสมาชิกและแบบประเมิน

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    ธนาคารขยะ , กลุ่มจักรสาน

    รายชื่อสมาชิก

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้และหหารูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ตลาดต้องการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    สภาผู้นำชุมชน

    รายชื่อสมาชิก

    ความต่อเนื่องและการนำมติและวาระการประชุมนำข้อมูลสู่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการขยะในชุมชน

    รายชื่อสมาชิก

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    ธนาคารขยะ , กลุ่มจักรสาน,กลุ่มปลูกผัก ,กลุ่มปุ๋ยหมัก

    รายชื่อสมาชิก

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ธนาคารขยะ , กลุ่มจักรสาน,กลุ่มปลูกผัก ,กลุ่มปุ๋ยหมัก

    รายชื่อสมาชิก

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
    • เกิดการคัดแยกขยะลดการหมักหม่อมและลดแหล่งนำโรค
    • เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงพืชผักด้วยปุ๋ยหมักอินทรีย์ทำให้ผักปลอดสารพิษ

    ข้อมูลการสำรวจพฤติกรรม

    นำข้อมูลที่ได้มาศึกษาจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค
    • เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงพืชผักด้วยปุ๋ยหมักอินทรีย์ทำให้ผักปลอดสารพิษ

    แปลงผักปลอดสารพิษ

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
    • การจักรสาน
    • การปลูกผัก

    กลุ่มและรายชื่อสมาชิก

    การอบรมพัฒนาขีดความสามารถ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
    • การจัดการขยะในครัวเรือน
    • การจัดการขยะในชุมชน

    กลุ่ม

    การอบรมพัฒนาขีดความสามารถ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    กลุ่มธนาคารขยะชุมชน

    • การจัดการขยะในครัวเรือน
    • การจัดการขยะในชุมชน
    • เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงพืชผักด้วยปุ๋ยหมักอินทรีย์ทำให้ผักปลอดสารพิษ

    ดูจากสถานที่จริง

    จัดและพัฒนาเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการขยะในชุมชน กลุ่มธนาคารขยะชุมชน

    • การจัดการขยะในครัวเรือน
    • การจัดการขยะในชุมชน
    • เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงพืชผักด้วยปุ๋ยหมักอินทรีย์ทำให้ผักปลอดสารพิษ

    ดูจากสถานที่จริง

    จัดและพัฒนาเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    กลุ่มธนาคารขยะชุมชน

    • การจัดการขยะในครัวเรือน
    • การจัดการขยะในชุมชน กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ
    • เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงพืชผักด้วยปุ๋ยหมักอินทรีย์ทำให้ผักปลอดสารพิษ กลุ่มจักรสาร -นำวัสดุเหลือใช้มาทำเป็นรูปแบบต่างๆ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนขับเคลื่อนการสร้างมาตรการและกฎกติกาของชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนขับเคลื่อนการสร้างมาตรการและกฎกติกาของชุมชน เช่น มาตรการลดขยะในชุมชน มาตรการการปลูกผักปลอดสารพิษ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการศึกษาดูงานการจัดการขยะและการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนขับเคลื่อนการสร้างมาตรการและกฎกติกาของชุมชนและนำข้อมูลมาร่วมการจัดทำประชาคม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการใช้พื้นที่ร่วมกัน เช่นพื้นที่ในการจัดเก็บขยะของธนาคารขยะมีการใช้พื้นที่ร่วมกันของกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษโดยการสนับสนุนจากภาคประชาชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการประชุมและร่วมกันพัฒนาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เกิดกระบวนการพัฒนาชุมชนและเกิดการช่วยเหลือกันเองในชุมชนอย่างเชื่อมโยงและบูรณาการ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    เกิดการพัฒนาศักยภาพของคณะทำงานและคณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • เป็นสถานที่ศึกษาดูงาน
    • เป็นพื้นที่ต้นแบบในการนำเสนอผลงานจัดนิทรรศการ

    ภาพกิจกรรม

    พัฒนารูปแบบเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    กลุ่มธนาคารขยะ

    • การจัดการขยะในครัวเรือน
    • การจัดการขยะของชุมชน

     

    พัฒนาเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การจัดตั้งกลุ่มต่างๆโดยทรัพยากรที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    การดำเนินกิจกรรมในรูปแบบกลุ่ม

    รายชื่อสมาชิก

    สร้างความต่อเนื่องในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    สภาผู้นำชุมชน

    รายงานการประชุม

    สร้างความต่อเนื่องในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    กล้วยเภาร่วมใจจัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 58-04009

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย สมคิด ทองศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด