แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างฐานข้อมูลสิ่งมีคุณค่าของป่าต้นน้ำ และคืนข้อมูลให้คนในชุมชนได้เรียนรู้ มีความตระหนัก หวงแหนและมีส่วนร่วมในการจัดการป่าต้นน้ำอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 1.1 คนในชุมชนมีความรู้เรื่องฐานทรัพยากรป่าต้นน้ำ ชนิด ปริมาณของพันธ์ุไม้พื้นถิ่น สายน้ำ ร้อยละ 80 จากประชากรทั้งหมด จำนวน 250 คน 1.2 มีฐานข้อมูลทรัพยากรฯเพื่อให้คนได้เรียนรู้ และสร้างจิตสำนึกในการเข้ามามีส่วนร่วมกันจัดการป่าต้นน้ำ จำนวน 1 ชุด 1.3 มีแผนปฏิบัติการในการจัดการป่าฯ จำนวน 1แผน

 

 

มีการจัดทำฐานข้อมูลแล้วแต่ยังไม่มีการเรียบเรียงให้เรียบร้อยและยังไม่คืนข้อมูลให้กับชุมชน

2 เพื่อสร้างกิจกรรมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรป่าต้นน้ำ
ตัวชี้วัด : 1.1 มีฝายชะลอน้ำ จำนวน 3 จุด 1.2 มีพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู จำนวน15ไร่ 1.3 มีพันธ์ไม้ใช้สอย พืชอาหาร เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 1,500 ต้น 1.4 มีปฏบัติการลาดตระเวณเพื่อดูแลพันธ์ไม้และเฝ้าระวังการทำลายป่าทุกเดือนและต่อเนื่อง 1.5 มีสื่อประชาสัมพันธ์/สื่อรณรงค์/ป้ายแสดงกฏกติกา ไม่ต่ำกว่า 10 ชิ้น

 

 

  • มีฝายใหญ่เป็นฝายมีชีวิตเพื่อชะลอน้ำแล้ว 1 จุด ส่วนที่เหลือกำลังอยู่ระหว่างการเตรียมการ
  • มีการปลูกต้นไม้เสริมในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมแล้วบางส่วน
  • มีพืชเพิ่มขึ้นแล้วประมาณ 500 กว่าต้น
  • มีการลาดตระเวณเฝ้าระวังทุกเดือน
3 เพื่อพัฒนากลุ่มและองค์กรในชุมชนให้สามารถร่วมกันบริหารและจัดการทรัพยากรป่าต้นน้ำ
ตัวชี้วัด : 1.1 มีกลไก / ทีมงาน/ มีกลุ่มที่เข้ามาร่วมกันรับผิดชอบ บริหารจัดการป่าต้นน้ำอย่างมีส่วนร่วม จำนวน 15 คน 1.2 มีกฏกติกา ข้อตกลงของชุมชนในการดูแลรักษาป่า จำนวน 1 ชุด 1.3 มีชุดลาดตระเวณเพื่อเฝ้าระวังรักษาป่า จำนวน 7 คน

 

 

มีทีมงานและการลาดตระเวณตามที่กำหนดไว้ ส่วนกติกายังไม่เกิดขึ้น

4 เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน จำนวน 30 คน 2. สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน 3. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ 4. ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน

 

 

การใช้สภาในการบริหารโครงการและบริหารชุมชนยังไม่ชัดเจน ต่้องมีการประชุมทุกเดือนอย่างต่อเนื่อง

5 เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำบ้านเขาปู่
ตัวชี้วัด : 1. มีพื้นที่ได้รับการอนุรักษ์โดยการเพิ่มพื้นที่ป่าสมบูรณ์ตามบริเวณสายน้ำ จำนวน 3 สายน้ำ(มีคลองห้วยลอด คลองห้วยกลาย คลองท่าแนะ)

 

 

สามารถดำเนินการได้แล้วจำนวน 1 จุด

6 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

  • ร่วมประชุมได้ตามที่กำหนดไว้
  • จัดทำป้ายและเขตปลอดบุหรี่ที่ศาลาประจำหมู่บ้าน
  • มีบางกิจกรรมที่ภาพถ่ายไม่สอดคลองกับภาพกิจกรรม