แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โคกทรายเกษตรอินทรีย์สร้างสุข ”

ชุมชนโคกทราย หมู่ 5 ต.ดอนทราย อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นาย นรา แก้วรักษ์

ชื่อโครงการ โคกทรายเกษตรอินทรีย์สร้างสุข

ที่อยู่ ชุมชนโคกทราย หมู่ 5 ต.ดอนทราย อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 58-03999 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2175

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โคกทรายเกษตรอินทรีย์สร้างสุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนโคกทราย หมู่ 5 ต.ดอนทราย อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โคกทรายเกษตรอินทรีย์สร้างสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โคกทรายเกษตรอินทรีย์สร้างสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนโคกทราย หมู่ 5 ต.ดอนทราย อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง รหัสโครงการ 58-03999 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 175,040.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 221 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการใช้สารเคมีในการทำเกษตร
  2. เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในผลกระทบของการใช้สารเคมีในการเกษตรและนำไปสู่การลดละเลิกและหันกลับมาทำและใช้เกษตรอินทร
  3. เพื่อหนุนเสริมให้คนในชุมชนและเด็กในโรงเรียนทำและใช้เกษตรอินทรีย์
  4. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการชุมชนให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลนำไปสู่การมีความสามารถจัดการตนเองของชุมชนได้มากขึ้น
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ถอนเงินค่าเปิดบัญชี

    วันที่ 16 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ถอนเงินปเิดบัญชีในช่วงแรกที่ทำสัญญาโครงการและส่งหน้าบัญชีให้ สสส. จำนวนเงินที่ถอน 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เข้าใจระบบการจัดการโครงการ การทำบัญชีว่าต้องถอนเงินคืนออกมา ทำให้บัญชีมีความตรงมากขึ้น

     

    2 2

    2. ประชุมปฐมนิเทศโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ ปี 2558

    วันที่ 29 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการในวันที่ 29 - 30 กันยายน 2558 ณ โรงแรมธรรมรินทร์ธนา จ.ตรัง โดยมีกำหนดการ คือ ทีม สจรส.ม.อ.และพี่เลี้ยง อธิบายให้ความรู้เรื่องหลักการบริหารจัดการโครงการ การจัดทำเอกสารการเงิน การวางแผนทำกิจกรรม การฝึกบันทึกข้อมูลในเวบไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความสามารถ ในประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้ ได้อย่างถูกต้อง
    - การบันทึกข้อมูลตามแผนการดำเนินงาน
    - การจัดทำรายงานทางการเงิน
    - การรายงานผลการดำเนินงาน
    - ความก้าวหน้าการจัดทำแผนโครงการ สสส.
    - การจัดทำปกิทินการทำงาน

     

    2 2

    3. จ้างทำป้ายไวนิล

    วันที่ 2 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การจัดจ้างทำป้าย เขตปลอดบุหรี ติดตั้ง และประชาสัมพันธ์ สถานที่เขตปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีป้ายประชาสัมพันธ์จำนวน 1 จุด ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม ประชาชนทั่วไปสามารถดูได้ชัดเจน ว่าเป็นสถานที่เขตปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์

     

    150 150

    4. ประชุมชาวบ้านเปิดเวทีโครงการ

    วันที่ 7 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เวทีชี้แจงและสร้างความเข้าใจโครงการแก่คณะกรรมการ และประชาชนในชุมชน
    2. ร่วมชี้แจง เรื่องที่ชี้แจงความเป็นมาของโครงการและสร้างความเข้าใจให้กับกลุ่มสมาชิกให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ มีการทำความเข้าใจโดยพี่เลี้ยงโครงการเป็นผู้อธิบายโดยสรุปอีกครั้ง
    3. กำหนดขั้นตอน แนวทาง การดำเนินโครงการ ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีคณะกรรมการ และประชาชนในชุมชนเข้าร่วมเวที ประชุมชี้แจงและสร้างความเข้าใจโครงการจำนวน 100 คน
    2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับรู้และมีความเข้าใจต่อโครงการ ทราบกระบวนการทำกิจกรรมและสนใจเข้าร่วมโครงการ
    3. มีสมัครผู้เข้าร่วมโครงการทำนาอินทรีย์จำนวน 20 คน และเกิดกลุ่มเด็กและเยาวชน จำนวน 20 คน เข้าร่วมทำกิจกรรมในโครงการ

     

    102 100

    5. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้ง 1

    วันที่ 26 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน สำหรับการออกแบบแบบสอบถามเรื่องการใช้สารเคมี และเตรียมการรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการเตรียมการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน รวมทั้งการเตรียมการวางแผนในการรับสมัครสมาชิกโครงการตามกลุ่มเป้าหมายต่างๆ
    1.ได้วางแผนเรื่องการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐาน คณะทำงานได้แบ่งแยกให้แต่ละคนรับผิดชอบกี่ครัวเรือน
    2.คณะทำงานแยกโซนและจับกลุ่มกันเพื่อเตรียมลงชุมชน
    3.คณะทำงานได้รับสมัครสมาชิกเกษตรอินทรีย์เพิ่มเติม

     

    48 48

    6. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อออกแบบเครื่องมือในการสำรวจข้อมูลการทำเกษตรของชาวบ้าน

    วันที่ 31 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • วิทยากรดำเนินการให้กลุ่มเป้าหมายเข้าใจแบบสอบถามทุกข้อ โดยให้มีข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนในกลุ่ม ซักถามสร้างความเข้าใจร่วมกัน และพร้อมเก็บข้อมูล สมาชิกบางคนขอให้ลดจำนวนข้อของแบบสอบถามลงเพราะว่ามากเกินไป แต่บางคนยังคงต้องการจำนวนข้อสอบถามเท่าเดิม เพราะคิดว่าข้อมูลเพียงพอ ในขณะประชุมประธานสรุปให้เอาแบบสอบถามเหมือนเดิมถึงแม้ข้อคำถามจะมากแต่ข้อมูลเพียงพอ แบบสอบถามได้ ข้อมูลในการสอบถามเรื่อง ปริมาณการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช กำจัดแมลงและศัตรูพืช การใช้ปุ๋ยเคมี ของแต่ละครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มเป้าหมาย 48 คน เข้าประชุมทั้งหมด 52 คน มีอาสา ขอเข้าร่วม 2 คน ทุกคนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเก็บข้อมูลกันโดยแบ่งออกเป็น 4 โซนในการเดินเก็บข้อมูล 280 ครัวเรือน โดยแต่ละโซนวางแผนจะไปเก็บข้อมูลคนละ 2 วัน เมื่อทุกคนเข้าใจแบบสอบถามทุกข้อ ทุกรายละเอียด จึงปิดการประชุม

     

    48 52

    7. สำรวจข้อมูลการทำเกษตรของชาวบ้าน

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แจกแบบสอบถามจำนวน 280 ชุด เฉลียคนละ 13 ชุด โดยได้ชี้แจงแบบสอบถามทั้งหมด 28 ข้อ
    • วิทยากรได้สอนวิธีการเก็บข้อมูลให้แก่สมาชิก ให้สมาชิกได้รู้การเก็บ การบันทึกข้อมูลและสมาชิกสามารถนำข้อมูลที่เก็บมาประมวลและวิเคราะห์ได้ ส่วนเด็กนักเรียนกรรมการได้เข้าไปให้ความรู้ในโรงเรียน เนื่องจากเด็กนักเรียนจะพร้อมมากกว่าที่จะพามาเรียนรู้ที่ศูนย์และไม่กระทบกับตารางเรียนเด็กด้วย
    • ลงพื้นที่เก็บข้อมูลให้แต่ละคนไปสัมภาษณ์ชาวสวนอินทรีย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สมาชิกและเด็กนักเรียนในโรงเรียนได้รู้วิํธีการเก็บข้อมูล สามารถเก็บข้อมูลได้ถูกต้องทั้ง 280 ชุด และเอาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ได้ ซึ่งในกิจกรรมนี้สามารถสรุปข้อมูลการทำเกษตรของชุมชนได้ตามที่ต้องการ

     

    20 24

    8. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้งที่ 2

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการประชุมวางแผนในการเลือกสวนอินทรีย์สาธิต และเริ่มการหาแปลงนาในการเตรียมทำนาอินทรีย์ตัวอย่าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้สวนสาธิตจำนวน 6 แปลง และได้แปลงนาอินทรีย์ ที่ใช้สำหรับสาธิต จำนวน 3 แปลง และได้นัดหมายการดำเนินทำกิจกรรมในเดือนถัดไป

     

    48 48

    9. อบรมการเขียนรายงานและจัดการเอกสารการเงิน

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมอบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน โดยทีม สจรส.ม.อ.ให้ความรู้เรืองการเขียนรายงานให้ถูกต้อง และอธิบายเรื่องการหักภาษี ณ ที่จ่าย รวมทั้งให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เรียนรู้การจัดทำเอกสารการเงินต่างๆและแนวทางการหักภาษีต่างๆ สามารถทำรายงานการเงินได้ถูกต้อง

     

    2 2

    10. สนับสนุนกิจกรรมเรียนรู้การทำนาอินทรีย์แปลงรวมเพื่อการสาธิต 6 ไร่ และเก็บข้อมูลต้นทุนทุกขั้นตอนโดยการบันทึก เก็บข้อมูลสภาพแวดล้อม 3 ครั้งโดยการสำรวจรวบรวม (ปลูก- ข้าวเป็นสาว-ข้าวสุก) และร่วมกันเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง

    วันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้เตรียมดินจำนวน 6 ไร่ในการไถนาและหลังจากนั้นได้ผสมแกลบดำลงไปเพื่อการเตรียมดินสำหรับการหว่านข้าวและได้มีการปรับสภาพนาและมีการแต่งช่องน้ำเพื่อให้บิ้งนาแห้งพร้อมที่จะหว่าน
    • หลังจากนั้นทุกคนในกลุ่มได้ช่วยกันหว่านข่้าวโดยใช้ข้าว 4 กระสอบเป็นพันธุ์ข้าวสังหยดใช้เวลาในการหว่าน 2 ชั่วโมง
    • ประมาณ 8-9 วันข้าวก็จะงอกออกมาเป็นต้นกล้าแต่เนื่องจากเราไม่ได้ใช้สารเคมีก็จะมีวัชพืชและหญ้างอกขึ้นมาด้วยเราจึงมารวมตัวกันกำจัดวัชพืชโดยการถอน
    • ประมาณ 15 วันจะมีการใส่ขี้วัว ขี้ไก่ น้ำหมัก ลงไปในนาและหลังจากนั้น 2-3 วัน เราก็จะรวมตัวกันเพื่อมาซ่อมข้าวเพราะในนาแปลงหนึ่งข้าวจะงอกบ้างไม่งอกบ้างเราจึงต้องแบ่งข้าวในนาเพื่อมาซ่อมเมื่อเราซ่อมเสร็จแล้วจะมี หอย ปู มากินต้นกล้าที่เราซ่อมไว้เราจึงต้องซ่อมและติดตามดูแลเรื่อยๆ ตลอดถึงการดูแลช่องน้ำเพื่อไม่ให้มีรอยรั่วระหว่างบิ้งนาเพราะถ้าไม่มีน้ำการซ่อมข้าวก็จะทำไม่ได้
    • ประมาณ 5 เดือน ข้าวก็จะเริ่มออกรวง เหลืออร่ามสวยงามพร้อมที่จะตัดผลผลิต
    • ได้เอาข้าวที่เก็บได้มาตากเพื่อกำจัดความชื้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้แปลงนาอินทรีย์ จำนวน 6 ไร่ เป็นข้าวสังห์หยด เป็นแปลงทดลองที่ไม่มีการใช้สารเคมี โดยจะใช้ปุ๋ยคอก ไม่ฉีดยาฆ่าหญ้า และใช้พันธุ์ข้าวพื้นบา้น ทำให้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการมีกำลังใจในการนำไปบอกกล่าวให้คนในชุมชนหันมาทำนาอินทรีย์มากขึ้น

     

    20 20

    11. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้งที่ 3

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทีมสภาผู้นำนัดประชุมที่ศาลาหมู่บ้าน วางแผนการดำเนินโครงการและวางแผนเรื่องไปดูงานการทำนาอินทรีย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สภาผู้นำชุมชนมีความร่วมมือกันดีในการเข้าประชุม ทุกคนได้แลกเปลี่ยนความคิดต่อการทำนาอินทรีย์ในแปลงทดลอง และวางแผนกิจกรรมไปศึกษาดูงาน ในเดือน กุมภาพันธ์ 2559 แต่ไม่สามารถกำหนดวันได้ เพราะติดต่อสถานที่ยังไม่ได้

     

    48 48

    12. ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะกรรมการโครงการนั่งฟังวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่จำเป็นของหมู่บ้าน ข้อมูลประชากร ข้อมูลพฤติกรรมข้อมูลเกี่ยวข้องกับการเกษตรอินทรีย์ ให้ความรู้วิธีการรวบรวม ไม่ว่าจะเป็นวิธีการสัมภาษณ์ หรือใช้แบบสอบถาม เพื่อให้ได้ข้อมูลมา นำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยการจดบันทึก หรือนับ จำนวน หรือใช้โปรแกรมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของคณะกรรมการ เพื่อดูความสามารถของกรรมการแต่ละคน กรรมการแต่ละคนต้องฝึกการอภิปราย แสดงความคิดเห็น เพื่อเป็นข้อมูลในการทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อมูลแปลงนาอินทรีย์ ข้อมูลการทำสวนอินทรย์ในหมู่บ้าน เป็นข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอรายงานต่อชุมชน และจะใช้การนำเสนอโดยการทำเป็น power point เพื่อให้คนที่มาร่วมประชุมในวันนั้นได้เห็นข้อมูลร่วมกันและสะท้อนข้อมูลร่วมกันได้

     

    48 48

    13. ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ต่างพื้นที่บ้านพนางตุง ตำบลพนางตุง จังหวัดพัทลุง

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เริ่มเดินทางเวลา 08.00 น. สถานที่ไปศึกษาดูงาน คือ บ้านต้นแบบลุงสมบูรณ์ ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง โดยมีทีมงานคอยต้อนรับ 5 คน
    • เมื่อไปถึงมีการให้ความรู้ โดย เรื่องพันธุ์ข้าวชนิดต่างๆที่ปลูกในพื้นที่พัทลุง การเลือกปลูกพันธุ์ที่ตลาดมีความต้องการ ขั้นตอนวิธีการปลูกข้าวแบบอินทรีย์ การเตรียมดิน การเตรียมปุ๋ยหมักชีวภาพที่ผลิตเอง การกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีชีวภาพ
    • คณะดูงานแบ่งกลุ่มไปดูตามจุดต่างๆ ทั้งแปลงนา จุดการทำปุ๋ยอินทรีย์
    • พักรับประทานอาหารเที่ยงที่ทะเลน้อย กลับถึงบ้านโคกทราย อำเภอปากพะยูนโดยสวัสดิภาพเวลา 17.00 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สมาชิกโครงการและผู้เข้าร่วมจำนวน 47 คน ที่ได้ไปร่วมศึกษาดูงานในครั้งนี้ ได้เรียนรู้ในเรื่องต่างๆ ได้ดูการปฏิบัติจริง ทั้งเรื่องขั้นตอนการทำนาอินทรีย์ การเตรียมดิน การเตรียมปุ๋ยหมักชีวภาพที่ผลิตเอง การกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีชีวภาพ การปลูกผักปลอดสารพิษ และในระหว่างที่เดินทางกลับ ได้ให้สมาชิกแต่ละคนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ที่ได้ เพื่อนำมาปฏิบัติในพื้นที่ตนเอง และขยายองค์ความรู้สู่ชาวบ้านในพื้นที่ให้เกิดแนวคิดที่จะทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อภาวะสุขภาพที่ดีในโอกาสต่อไป

     

    45 47

    14. ประชุมร่วมติดตามผลการดำเนินร่วมกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงและผู้รับทุนโครงการ จ.พัทลุง แลกเปลี่ยนการทำรายงานงวดที่ 1 ร่วมกัน และปรึกษาตรวจสอบเอกสารการเงินและรายงานก่อนส่งรายงานให้ สจรส.ม.อ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้แก้ไขปัญหาของเอกสารการเงินที่ผิด และได้เพิ่มเติมการคีย์รายงานในเว็บไซต์ให้เรียบร้อย ก่อนส่งรายงานให้ สจรส.ม.อ.

     

    2 2

    15. จัดทำรายงานงวดที่ 1

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    08.30 น. -09.30 น. ลงทะเบียน

    09.30 น. -10.30 น. วิทยากรชี้แจงเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลและการทำบัญชี

    10.30 น.- 12.00น.ตรวจสอบการบันทึกข้อมูล

    12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 น. - 16.30 น. ตรวจสอบเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.คณะทำงานมีความรู้ในการบันทึกข้อมูลและการจัดทำเอกสารการเงิน

    ผลลัพธ์

    1.โครงการผ่านการตรวจสอบเอกสารการเงินและตรวจสอบการบันทึกข้อมูลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน

     

    2 2

    16. คืนข้อมูลให้กับชุมชน ข้อมูลพื้นฐานจากการสำรวจและข้อมูลจากการไปศึกดูงาน

    วันที่ 1 มีนาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้คืนข้อมูลให้กลับสมาชิก โดยสรุปผลการไปดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานเกิดกระบวนการเรียนรู้ในการลดละเลิกการใช้สารเคมีสมาชิกลดการใช้สารเคมีและเลิกการใช้สารเคมีในแปลงตัวอย่าง สมาชิกมีความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์สร้างสุข ร้อยละ 82.36 สมาชิกสามารถทำเกษตรอินทรีย์แบบพึ่งพาตนเองได้ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน สมาชิกใช้กระบวนการทำกิจกรรมแบบพึ่งพาอาศัยกัน ใช้ชีวิตแบบพอเพียง จากการถอดบทเรียนครั้งนี้ทำให้เห็นจุดอ่อน จุดแข็งของชุมชน และสามารถสร้างโอกาศให้กับชุมชนได้ ทุกคนได้ทราบถึงปัญหาของครัวเรือนตัวเองและโรคภัยไข้เจ็บทำให้มองเห็นความสำคัญของเกษตรอินทรีย์ที่ช่วยลดอันตรายต่างๆจากสารเคมีเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคมที่มีแต่การแข่งขันมาเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองพึ่งพาอาศัยกันระบบเครือญาติ ทำให้โครงการเกษตรอินทรีย์สามารถดำเนินการแบบยั่งยืนทำให้เกิดมาตราการหมู่บ้านในการลดใช้สารเคมี 1.พื้นที่นาโซน ก และ ข ไม่ใช้สารเคมีเพราะเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ 2.สมาชิกไม่ใช้สารเคมีในการทำนา โดยเฉพาะยาฆ่าหญ้า 3.สมาชิกใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนการใช้สารเคมี หากมีใครไมาปฏิบัติตาม สมาชิกจะไม่ปล่อยน้ำในการทำนา

     

    100 100

    17. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้งที่4

    วันที่ 2 มีนาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และได้สรุปผลจากการประชุมคืนข้อมูลให้กับชุมชน ข้อมูลพื้นฐานจากการสำรวจและข้อมูลจากการไปศึกดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกได้ดำเนินติดตามโครงการอย่างต่อเนื่อง และสมาชิกได้วางแผนในการจัดกิจกรรมอบรมความรู้ เรื่องเกษตรอินทรีย์ แก่สมาชิกกลุ่ม ครู ก (ตัวแทนสมาชิกแต่ละโซน โดยแยกได้จากโซนของนาข้าว) สนับสนุนการประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว ทุก วันจันทร์ พุธ ศุกร์ สมาชิกได้เตรียมเรื่องที่จะประชุม หาวิทยากร และได้สรุปผลการดำเนินงานคืนข้อมูลให้กับชุมชน ข้อมูลพื้นฐานจากการสำรวจและข้อมูลจากการไปศึกดูงาน ให้กับสมาชิก ทุกคนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

     

    48 48

    18. อบรมความรู้ เรื่องเกษตรอินทรีย์ แก่สมาชิกกลุ่ม ครู ก (ตัวแทนสมาชิกแต่ละโซน โดยแยกได้จากโซนของนาข้าว) สนับสนุนการประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว ทุก วันจันทร์ พุธ ศุกร์

    วันที่ 8 มีนาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกได้รับการอบรม เรื่องเกษตรอินทรีย์
    หลักการเกษตรอินทรีย์
    (ก) มิติด้านสุขภาพ
    (ข) มิติด้านนิเวศวิทยา
    (ค) มิติด้านความเป็นธรรม
    (ง) มิติด้านการดูแลเอาใจใส่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครู ก ทุกคนสามารถถ่ายทอดเรื่อง เกษตรอินทรีย์ให้กับชาวบ้านได้ ร้อยละ72.25 และสามารถประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ชาวบ้านได้ร้อยละ 82.06 ในการรับรู้
    สรุปเนื้อหาที่ได้จากการอบรม
    (ก) มิติด้านสุขภาพ เกษตรอินทรีย์ควรจะต้องส่งเสริมและสร้างความยั่งยืนให้กับสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมของดิน พืช สัตว์ มนุษย์ และโลก
    (ข) มิติด้านนิเวศวิทยา เกษตรอินทรีย์ควรจะต้องตั้งอยู่บนรากฐานของระบบนิเวศวิทยาและวัฐจักรแห่งธรรมชาติ การผลิตการเกษตรจะต้องสอดคล้องกับวิถีแห่งธรรมชาติ และช่วยทำให้ระบบและวัฐจักรธรรมชาติเพิ่มพูนและยั่งยืนมากขึ้น
    (ค) มิติด้านความเป็นธรรม เกษตรอินทรีย์ควรจะตั้งอยู่บนความสัมพันธ์ที่มีความเป็นธรรมระหว่างสิ่งแวดล้อมโดยรวมและสิ่งมีชีวิต
    (ง) มิติด้านการดูแลเอาใจใส่ การบริหารจัดการเกษตรอินทรีย์ควรจะต้องดำเนินการอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ เพื่อปกป้องสุขภาพและความเป็นอยู่ของผู้คนทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งพิทักษ์ปกป้องสภาพแวดล้อมโดยรวมด้วย

     

    60 60

    19. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้งที่ 5

    วันที่ 11 เมษายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกได้ติดตามการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ได้สรุปผลการดำเนินกิจกรรมอบรมความรู้ เรื่องเกษตรอินทรีย์ แก่สมาชิกกลุ่ม ครู ก (ตัวแทนสมาชิกแต่ละโซน โดยแยกได้จากโซนของนาข้าว) สนับสนุนการประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว ทุก วันจันทร์ พุธ ศุกร์ และได้หาแนวทางในการจักิจกรรมอื่นต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกมีความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์และสามารถถ่ายทอดได้ สมาชิกทุกคนได้ติดตาม ครู ก ในการขับเคลื่อนโครงการ เรื่องเกษตรอินทรีย์และได้ แลกเปลี่ยนความรู้ประเด็น เรื่องการให้ความรู้ทางหอกระจ่ายข่าว ได้ประเมินผลร่วมกันว่า ประชาชนได้รับความรู้จากครู ก ร้อยละ 70 ยังไม่ถึงเป้าที่วางไว้

     

    48 48

    20. กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ - เวทีรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ - นิทรรศการของดี ม.5 - ลานกิจกรรมทำขวัญข้าว - นิทรรศการแปลงนา - นิทรรศการแปลงยาง - ป้ายบทความ ข่าว ภาพ - ละครสะท้อนบทเรียนจากโครงการ - บูธถาม-ตอบปัญหาโดยโรงเรียน

    วันที่ 19 เมษายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชาวบ้านได้มาร่วมพิธีพร้อมกัน และทุกคนต่างนำเรียงข้าวของตัวเองมา ขั้นตอนการทำพิธี ก่อนเข้าสู่พิธี หมอทำขวัญข้าวจะบอกเล่าย่อๆ ถึงวัตถุประสงค์ของการทำพิธีว่าจะเป็นการเชิญขวัญแม่โพสพรวมทั้งขอขมาแม่ธรณี พร้อมทั้งเล่าตำนานแม่โพสพอย่างย่อ ซึ่งใกล้เคียงกับตำนานที่สถาบันวิจัยข้าว เมื่อเริ่มพิธีหมอทำขวัญข้าวจะนำอุปกรณ์ต่างๆมาจัดวางบนเวทีพิธี เอาสายสิญจน์มาล้อมรอบเครื่องบูชาในพิธี ทั้งเครื่องเซ่นและเลียงข้าว เมื่อพร้อมแล้วจึงจุดธูปเทียน กล่าวชุมนุมเทวดา สวดบททำขวัญข้าว เมื่อสวดเสร็จก็จะสวดให้พรแม่โพสพเป็นอันเสร็จพิธี ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 20 นาที
    สำหรับผู้เข้าร่วมพิธี ซึ่งโดยปกติจะเป็นญาติพี่น้องของเจ้าของที่นา ชาวนาที่เอาเลียงข้าวมาร่วมในพิธี และชาวบ้านในพื้นที่ใกล้เคียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการทําขวัญข้าว ถือเป็นกลไกอย่างหนึ่งในการช่วยลดหรือบรรเทาความเครียดให้กับชาวนา เนื่องมาจากการทํานาในแต่ละครั้ง ต้องลงทุนลงแรงจํานวนมาก ชาวนาจึงเกิดความไม่มั่นใจและรู้สึกไม่มั่นคงทางจิตใจว่า การทํานาในครั้งนั้นๆ จะประสบความสําเร็จหรือไม่ จึงต้องอาศัยการทําขวัญข้าวเพื่อสร้างขวัญและกําลังใจให้กับตนเอง เช่น
    - การทําพิธีตามความเชื่อเพื่อให้ข้าวเจริญงอกงามปลอดโรคจึงไม่มีความจําเป็น
    - ชาวนาต้องเร่งรีบทํานาให้ได้ ๓ ครั้งต่อปี จึงไม่มีเวลาประกอบพิธีทําขวัญข้าว
    - หาผู้ทําพิธี หรือหมอทําขวัญข้าวได้ยากขึ้นเนื่องจากไม่มีผู้สืบทอดความรู้ในการทําพิธีกรรมฯลฯ
    ชาวบ้่านมาร่วมกันจัดพิธีและมีนักเรียนเข้าร่วมด้วย ทำให้พิธีในวันนั้นเป็นไปด้วยความน่าเชื่อถือทุกคน ได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน

     

    320 320

    21. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้งที่ 6

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกทุกคนสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิก สามารถถอดบทเรียนกิจกรรมของแต่ละกิจกรรมที่ดำเนินไปแล้ว และสรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ และติดตามกิจกรรมต่อเนื่อง

     

    48 48

    22. อบรมตัวแทนนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกทราย ชั้น ป.4และ ป.5 เรื่องเกษตรอินทรีย์ และมีแปลงนาสาธิตของโรงเรียน 1 แปลง

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08.30-09.00 น.ลงทะเบียน 09.00-12.00 น. บรรยาย :
    - ประเภทของระบบเกษตรในปัจจุบัน
    - ระบบเกษตรอินทรีย์
    - การจัดการปัจจัยการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์(ดิน ปุ๋ย และศัตรูพืช)
    13.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
    13.00-16.00 น. การบริหารระบบเกษตรอินทรีย์
    •การปลูกข้าวแบบประณีต ร่วมการการใช้แหนแดง
    •ระบบการเลี้ยงเป็ด ปลา และสุกร ในระบบเกษตรอินทรีย์
    •การผลิตแก๊สชีวภาพ
    •การใช้พืชตระกูลถั่วในการปรับปรุง บำรุงดิน
    17 พฤษภาคม 2559
    เวลา 09.00-10.00 น.บรรยาย : ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการตลาด
    10.00-12.00 น.ฝึกปฏิบัติการณ ห้องปฏิบัติการจุลินทรีย์ดิน
    - ปุ๋ยชีวภาพ และจุลินทรีย์ยับยั้งเชื้อก่อโรค - การตรวจวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารและความเป็นกรด-ด่างของดิน ด้วยชุดตรวจวิเคราะห์ดิน
    12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ ก่อนเรียนร้อยละ32.25 และความรู้หลังเรียน ร้อยละ72.64
    นักเรียนได้ปุ๋ยคอกในการปลูกผักและหว่านปุ๋ยในแปลงนาสาธิตของโรงเรียน คนในชุมชนหันมาให้ความสำคัญกับนักเรียนในเรื่องเกษตรอินทรีย์สร้างสุข ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับกิจกรรมบุตรหลานของท่านในการ ให้ปุ๋ยอินทรีย์แทนการใช้สารเคมี

     

    72 72

    23. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในเรียน

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนได้มารวมกลุ่มปลูกผักกันในโรงเรียน โดยผักที่ปลูกมีกวางตุ้ง ผักบุ้ง กระเพรา มะเขือ ได้ทั้งหมด 14 แปลง ปลูกโดยการแบ่างกลุ่มเป็น 14 กลุ่ม ปลูกกลุ่มละ 3-4 คน โดยเป็นกระบวนการพี่ช่วยน้อง ผักที่ได้จากการปลูก นักเรียนนำมาใช้ประกอบอาหารที่โรงเรียน นำกลับบ้านและวางขายในร้านค้าชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กนักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดในการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช่สารเคมี และสามารถไปถ่ายทอดที่บ้านได้ ผักที่ได้ก็เป็นผักปลอดสารพิษ เด็กๆในโรงเรียน นำผีกที่ได้ไปรับประทานที่บ้านและทำเป็นอาหารกลางวันในตอนเที่ยง และมีการนำผักที่เหลือกินไปขายในชุมชน ทำให้คนในชุมชนได้กินผักที่ปลอดสารพิษเพราะผักที่นักเรียนปลูกเป็นผักที่ ไม่ใช้สารเคมีให้แต่ปุ๋ยคอก อินทรีย์วัตถุ

     

    31 31

    24. สนับสนุนการปฏิบัติการเรียนรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์เพื่อหนุนเสริมการทำนาอินทรีย์สาธิต 38 คนสวนอินทรีย์ 2 คน

    วันที่ 8 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกได้ทดลองทำนาการใช้เกษตรอินทรีย์ ดินอินทรีย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกเข้าใจความรู้ในการอบรมเรื่องการทำปุ๋ยอินทรีย์เพื่อหนุนเสริมการทำนาอินทรีย์สาธิตร้อยละ 82.25 สมาชิกได้นำความรู้ที่ได้ไปใช้ร้อยละ 65.32

     

    40 40

    25. ถอดบทเรียนจากชุมชน

    วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกเข้าแลกเปลี่ยนประเด็น การเลิกใช้สารเคมีและ หามาตรการการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทั้ง หมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกลดการใช้สารเคมีและเลิกการใช้สารเคมีในแปลงตัวอย่าง ชุมชนให้ความร่วมมือในการทำเกษตรแบบอินทรีย์ โดยได้ข้อสรุปของสมาชิกเกษตรอินทรีย์ ในการใช้ ขี้วัว ขี้ไก่ แกรบดำ ในการทำนา และใช้ปุ๋ยหมักจาก หอยเซอรี่ แทนการใช้ปุ๋ยเคมี สมาชิกในกลุ่มเสนอ ประธานให้แยกโซนในการทำนาเพราะยังมีอีกส่วนหนึ่งที่ยังใช้สารเคมีในการทำนา แต่สามชิกกลุ่มเคมีอินทรีย์ไม่อยากให้น้ำจากการใช้ปุ๋ยเคมี ลงมาในสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์ ทำให้ประธานได้แบ่งโซน จึงเกิด โซนที่ชัดเจน คือ โซนเกษตรอินทรีย์จะไม่มีการใช้สารเคมีทุกชนิด แม้แต่น้ำก็ไม่ให้ปนเปื้อนสารเคมี ทำให้สมาชิกได้ข้าวที่นำมากินปลอดสารเคมี

     

    50 50

    26. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้งที่ 7

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสรุปผลการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรมที่ผ่านมา โดยได้มุ่งเน้นกิจกรรมที่ผ่านมาถึงผลผลิตที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้ชี้แจงกิจกรรมที่ได้ดำเดินการแล้วทั้งหมดแล้วกิจกรรมที่ค้างดำเนินการ ได้สรุปกิจกรรมที่ได้จาก ถอดบทเรียนจากชุมชน และวางแผนในการจัดงาน กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ - เวทีรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ - นิทรรศการของดี ม.5 - ลานกิจกรรมทำขวัญข้าว - นิทรรศการแปลงนา - นิทรรศการแปลงยาง - ป้ายบทความ ข่าว ภาพ - ละครสะท้อนบทเรียนจากโครงการ - บูธถาม-ตอบปัญหาโดยโรงเรียน ได้แบ่งหน้าที่กันแต่ละกิจกรรม

     

    48 48

    27. จ้างถ่ายภาพ

    วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมภาพกิจกรรมตามโครงการทั้งหมด คัดเลือกภาพกิจกรรม ที่จะนำเสนอ ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม นำไฟล์ภาพ กิจกรรมไปล้างรูป จัดส่งภาพ ให้ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการรวบรวม และคัดเลือกภาพกิจกรรม จำนวน 1 ชุด สามารถส่งรายงานให้ สจรส.ได้

     

    1 1

    28. ทำรายงาน

    วันที่ 15 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวบรวมผลการดำเนินงานตามโครงการ ตรวจสอบความเรียบร้อย ของเอกสารทางการเงิน จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน นำเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดทำเอกสารสรุปผลการปฏิบัติงาน จำนวน1 ชุด ปัญหา บางช่วงระยะเวลา กรรมการ ผู้รับผิดชอบโครงการ มีภาระงานมาก ไม่สามารถรวบรวมรายงานได้ตามแผนที่กำหนดไว้

     

    1 5

    29. ประชุมสภาผู้นำของโครงการ ครั้งที่ 8

    วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสรุปกิจกรรมทุกกิจกรรม เพื่อติดตามความยั่งยืนของโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้ดำเนินกิจกรรมโดยสรุปกิจกรรมทุกกิจกรรมเพื่อปิดโครงการ

     

    48 48

    30. ติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เข้าร่วมประชุม
    2. เข้าร่วมประชุมตาราง ห้อง ที่สนใจ
    3. ร่วมเวที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่ ชุมชน โครงการอื่นๆ
    4. นำเสนอผลการประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับสมาชิก ในชุมชนทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้าร่วมประชุม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ทราบแนวคิดการดำเนินงานกับชุมชนต้นแบบดีเด่น
    2. ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แนวคิดเพื่อนำไปพัฒนา ต่อยอดการดำเนินกิจกรรมโครงการต่อไป
    3. ได้เพิ่มเครือข่ายการดำเนินงานชุมชนต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียง
    4. ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานสร้างสุขคนใต้

     

    2 2

    31. ประชุมติดตามและจัดทำรายงาน

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานผู้เข้าร่วมประชุม รวบรวม เอกสาร ทางการเงิน และผลการดำเนินงาน ตรวจสอบเอกสารทางการเงิน รายงาน ง ๑ ส.๑

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงแก้ไขเอกสารการเงิน และเพิ่มเติมข้อมูลรายงานในเว็บไซต์ ก่อนส่งให้ สจรส.ม.อ.ตรวจสอบพรุ่งนี้

     

    2 2

    32. ประชุมจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานผู้เข้าร่วมประชุม รวบรวม เอกสาร ทางการเงิน และผลการดำเนินงาน ตรวจสอบเอกสารทางการเงิน รายงาน ง ๑ ส.๑

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดทำรายงานทางการเงิน จำนวน 1 ชุด มีการสรุปผลการดำเนินงาน1 ชุด มีการตรวจสอบเอกสารทางการเงิน1ครั้ง ผู้รับผิดชอบมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำรายงานทางการเงินเพิ่มมากขึ้น รายงาน เอกสารทางการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วน

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดการใช้สารเคมีในการทำเกษตร
    ตัวชี้วัด : ปริมาณการใช้สารเคมีลดลงร้อยละ 60

    คณะทำงานเกิดกระบวนการเรียนรู้ในการลดละเลิกการใช้สารเคมีสมาชิกลดการใช้สารเคมีและเลิกการใช้สารเคมีในแปลงตัวอย่าง

    2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในผลกระทบของการใช้สารเคมีในการเกษตรและนำไปสู่การลดละเลิกและหันกลับมาทำและใช้เกษตรอินทร
    ตัวชี้วัด : 1. มีชุดข้อมูลเรื่องการใช้และผลกระทบต่อการใช้สารเคมีในการเกษตร จำนวน 1 ชุด 2. มีคนในชุมชนเข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้ข้อมูลและการคืนข้อมูลการใช้สารเคมีและผลกระทบ ต่อคนในชุมชน เป็นเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านโคกทราย ชั้น ป.4-6 จำนวน 72 คน ตัวแทนครัวเรือนในชุมชน 224 ครัวเรือน 3. มีข้อมูลเรื่องผลการตรวจอาหารย้อนหลัง ผลการตรวจหาปริมาณสารเคมีปนเปื้อนในเลือดที่ผ่านมา ชนิดปริมาณ พฤติกรรมการใช้สารเคมีในการเกษตร ผลกระทบต่อดิน ต่อน้ำในชุมชน 4. ใช้ข้อมูลเหล่านี้มาเพื่อให้คนในชุมชนได้เรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนักในผลกระทบและพิษภัยของสารเคมีฯ เพื่อให้คนกลัวและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    สมาชิกมีความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์สร้างสุข ร้อยละ 82.36 สมาชิกสามารถทำเกษตรอินทรีย์แบบพึ่งพาตนเองได้ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน สมาชิกใช้กระบวนการทำกิจกรรมแบบพึ่งพาอาศัยกัน ใช้ชีวิตแบบพอเพียง จากการถอดบทเรียนครั้งนี้ทำให้เห็นจุดอ่อน จุดแข็งของชุมชน และสามารถสร้างโอกาศให้กับชุมชนได้ ทุกคนได้ทราบถึงปัญหาของครัวเรือนตัวเองและโรคภัยไข้เจ็บทำให้มองเห็นความสำคัญของเกษตรอินทรีย์ที่ช่วยลดอันตรายต่างๆจากสารเคมีเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคมที่มีแต่การแข่งขันมาเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองพึ่งพาอาศัยกันระบบเครือญาติ

    3 เพื่อหนุนเสริมให้คนในชุมชนและเด็กในโรงเรียนทำและใช้เกษตรอินทรีย์
    ตัวชี้วัด : 1. มีมาตรการทางสังคมอย่างน้อย 2 เรื่อง 2. มีแปลงนาอินทรีย์สาธิตในชุมชน อย่างน้อย 4 แปลง 3. มีการทำแปลงผักสาธิตในโรงเรียน อย่างน้อย 3 แปลง 4. มีกลุ่มทำน้ำหมักชีวภาพ 1 กลุ่ม

    ทำให้โครงการเกษตรอินทรีย์สามารถดำเนินการแบบยั่งยืนทำให้เกิดมาตราการหมู่บ้านในการลดใช้สารเคมี 1.พื้นที่นาโซน ก และ ข ไม่ใช้สารเคมีเพราะเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ 2.สมาชิกไม่ใช้สารเคมีในการทำนา โดยเฉพาะยาฆ่าหญ้า 3.สมาชิกใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนการใช้สารเคมี หากมีใครไมาปฏิบัติตาม สมาชิกจะไม่ปล่อยน้ำในการทำนา

    4 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการชุมชนให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลนำไปสู่การมีความสามารถจัดการตนเองของชุมชนได้มากขึ้น
    ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน อย่างน้อย 20 คน 2. คณะทำงานมีการประชุมทุกเดือน 3. มีแผนชุมชน 1 แผน 4. มีการขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ 5. มีการติดตามประเมินผล

    มีสมาชิกสภาผู้นำจำนวน 45 คน ได้ประชุมทุกเดือน มีการนำเสนอผลการทำโครงการและวางแผนการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป

    5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.และพี่เลี้ยงทุกครั้ง ร้อยละ 100
    • มีป้ายปลอดบุหรี่เกิดขึ้น 1 ป้าย
    • มีภาพถ่ายกิจกรรม 1 ชุด
    • มีรายงานฉบับสมบูรณ์ ส่ง สสส.ได้ 1 เล่ม

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการใช้สารเคมีในการทำเกษตร (2) เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในผลกระทบของการใช้สารเคมีในการเกษตรและนำไปสู่การลดละเลิกและหันกลับมาทำและใช้เกษตรอินทร (3) เพื่อหนุนเสริมให้คนในชุมชนและเด็กในโรงเรียนทำและใช้เกษตรอินทรีย์ (4) เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการชุมชนให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลนำไปสู่การมีความสามารถจัดการตนเองของชุมชนได้มากขึ้น (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โคกทรายเกษตรอินทรีย์สร้างสุข

    รหัสโครงการ 58-03999 รหัสสัญญา 58-00-2175 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    เกษตรอินทรีย์

    รายชื่อสมาชิกและแบบประเมิน

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    สมาชิกเกษตรอินทรีย์

    รายชื่อสมาชิกและผลิตภัณฑ์

    สมาชิกทำเกษตรอินทรีย์ต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    สภาผู้นำชุมชน

    รายชื่อสมาชิก

    ความต่อเนื่องและการนำมติและวาระการประชุมนำข้อมูลสู่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการ ดำเนินงานเกษตรอินทรีย์ที่ต่อเนื่อง

    รายชื่อสมาชิก

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • กลุ่มปุ๋ยหมัก

    รายชื่อสมาชิก

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
    • น้ำหมักชีวภาพ

    รายชื่อสมาชิก

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
    • ลดการใช้สารเคมี
    • เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงการทำนาและสวน

    ข้อมูลการสำรวจพฤติกรรม

    นำข้อมูลที่ได้มาศึกษาจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค
    • ได้ข้าวที่ปลอดสารพิษ

    ข้าว ปลอดสารพิษ

    จัดตั้งเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
    • การทำน้ำหมัก
    • การปลูกผัก

    กลุ่มและรายชื่อสมาชิก

    การอบรมพัฒนาขีดความสามารถ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
    • การลดใช้สารเคมีแต่ละครัวเรือน

    กลุ่ม

    การอบรมพัฒนาขีดความสามารถ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    กลุ่มเกษตรอินทรีย์

    กลุ่ม

    จัดและพัฒนาเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการการใช้เกษตรอินทรีย์

    • กลุ่มทำนาเกษตรอินทรีย์

    • เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษไม่ใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงพืชผักด้วยปุ๋ยหมักอินทรีย์ทำให้ผักปลอดสารพิษ

    กลุ่ม

    จัดและพัฒนาเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
    • ลดการค่าใช้จ่ายจากสารเคมี

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนขับเคลื่อนการสร้างมาตรการและกฎกติกาของชุมชน เช่น ลดการใช้สารเคมี

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการศึกษาดูงานการจัดการขยะและการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    สภาผู้นำชุมชน /รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนขับเคลื่อนการสร้างมาตรการและกฎกติกาของชุมชนและนำข้อมูลมาร่วมการจัดทำประชาคม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
    • มีการประชุมและร่วมกันพัฒนาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

    รายงานการประชุม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เกิดกระบวนการพัฒนาชุมชนและเกิดการช่วยเหลือกันเองในชุมชนอย่างเชื่อมโยงและบูรณาการ

    เกิดกิจกรรมของกลุ่มต่างๆ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    เกิดการพัฒนาศักยภาพของคณะทำงานและคณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • สมาชิกเลิกการใช้สารเคมีได้

    ภาพกิจกรรม

    พัฒนารูปแบบเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    กลุ่มเกษตรอินทรีย์

     

    พัฒนาเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การจัดตั้งกลุ่มต่างๆโดยทรัพยากรที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    การดำเนินกิจกรรมในรูปแบบกลุ่ม

    รายชื่อสมาชิก

    สร้างความต่อเนื่องในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    สภาผู้นำชุมชน

    รายงานการประชุม

    สร้างความต่อเนื่องในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โคกทรายเกษตรอินทรีย์สร้างสุข จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 58-03999

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย นรา แก้วรักษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด