directions_run

บ้านไทรทองชีวิตปลอดสารพิษวิถีเศรษฐกิจพอเพียง

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และส่งเสริมเกษตรอินทรีย์โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนอย่างน้อย 50 ครัวเรือน มีความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 2. เกษตรกรในหมู่บ้านร้อยละ 30 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการใช้สารเคมีมาใช้สารอินทรีย์ในการทำการเกษตร 3. จำนวนครอบครัวเกษตรปลอดสารพิษวิถีเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบไม่น้อยกว่า 20 ครัวเรือน

 

 

  1. คนในชุมชน 50 ครัวเรือน เห็นประโยชน์ของการปลูกผักปลอดสารพิษ นำไปประยุกต์ใช้กับครอบครัวของตนเอง
2 เพื่อส่งเสริมการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชน 50 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนในปัจจุบัน 2. เกิดกลุ่มอาชีพในชุมชน 2 กลุ่ม

 

 

  • เกิดกลุ่มอาชีพ 1 กลุ่มคือ กลุ่มปุ๋ยหมัก
3 เพื่อพัฒนากระบวนการชุมชนสู่การสร้างองค์กรและสภาผู้นำชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลุ่มผู้นำเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาในชุมชน 2. มีแผนปฏิบัติการเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน 2. เกิดกลุ่มครือข่ายในชุมชน เช่น กลุ่มเกษตรปลอดสารพิษ กลุ่มปุ๋ยหมัก กลุ่มน้ำหมักไล่แมลง กลุ่มน้ำยาเอนกประสงค์

 

 

  1. เกิดกลุ่มผู้นำ (ผู้ใหญ่บ้าน อบต.ไทรทอง อสม.ไทรทอง ปราชญ์ชาวบ้าน (ลุงบูรณ์ ด้านเกษตรและสมุนไพร, ลุงสมัคร ด้านเกษตร)
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

  1. หัวหน้าโครงการและแกนนำเข้าร่วมประชุมกับ สสส. สจรส.มอ ทุกครั้ง (100%)
  2. จัดทำป้าย "สถานทีนี้ปลอดบุหรี่" ติดที่สถานที่ในการทำกิจกรรม (วัดเก่าทุ่งหล่อ)
  3. ถ่ายภาพการทำกิจกรรมทุกครั้ง
  4. ทำรายงานส่ง สสส. ตามกำหนดการทุกครั้ง