แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ สมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด ”

หมู่ที่ 11 บ้านถ้ำผุด ตำบลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี 84250

หัวหน้าโครงการ
นาย สิทธิ คงเรือง

ชื่อโครงการ สมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด

ที่อยู่ หมู่ที่ 11 บ้านถ้ำผุด ตำบลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี 84250 จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 58-03905 เลขที่ข้อตกลง 58-00-1927

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"สมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 11 บ้านถ้ำผุด ตำบลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี 84250

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด



บทคัดย่อ

โครงการ " สมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 11 บ้านถ้ำผุด ตำบลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี 84250 รหัสโครงการ 58-03905 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 192,800.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 300 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนากลไกขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในบริโภค และการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศร่วมกับสจรส มอ.

    วันที่ 3 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 3 ตุลาคม 2558

    • 12.30 – 13.00 น. โครงการชุมชนน่าอยู่ลงทะเบียน
    • 13.00 – 13.45 น. กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส.ม.อ. ทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และผู้รับผิดชอบโครงการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    • 13.45 - 14.15 น.การสังเคราะห์ผลของโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ โดย คุณถนอม ขุนเพ็ชร์
    • 14.15 – 14.30 รับประทานอาหารว่าง
    • 14.30 - 16.30 น. การเข้าใช้งานระบบเวบไซต์คนใต้สร้าง www.happynetwork.org โดย คุณภานุมาศ นนทพันธ์ และคุณสุทธิพงษ์ อุสาหพงษ์สิน
    • 16.30 - 18.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอียดโครงการลงในเว็บไซต์ รายละเอียดโครงการ (วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม และงบประมาณ)แผนภาพเชิงระบบโครงการ กำหนดปฏิทินการดำเนินงานใน 1 ปี รายงานผู้รับผิดชอบ
    • 18.00 - 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น
    • 19.00 – 20.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอียดโครงการ ลงในเว็บไซต์ รายละเอียดโครงการ (วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม และงบประมาณ)แผนภาพเชิงระบบโครงการ กำหนดปฏิทินการดำเนินงานใน 1 ปี รายงานผู้รับผิดชอบ

    วันที่ 4 ตุลาคม 2558

    • 08.30 – 10.00 น. การบริหารจัดการโครงการ การรายงานผลผ่านเว็บไซต์ การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน (การเก็บหลักฐาน และเอกสารการเงิน) โดย อ.กำไล สมรักษ์ และนางสุดา ไพศาล
    • 10.00 – 12.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอียดโครงการ ลงในเว็บไซต์ (ต่อ) รายงานผู้รับผิดชอบ ทำรายงานบันทึกกิจกรรมประชุมปฐมนิเทศโครงการ
    • 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
    • 13.00 – 14.00 น. สรุปกิจกรรมและแผนการทำงานร่วมกับ สจรส.ม.อ. และทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส.ม.อ. ทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) และผู้รับผิดชอบโครงการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    • วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการเงิน และวิธีการทำใบเสร็จ การเก็บหลักฐานทางการเงิน
    • วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการถ่ายภาพอย่างไรให้ดูแล้วเป็นธรรมชาติมากที่สุด
    • วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับระบบการจัดการโครงการ
    • วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการลงข้อมูลในเว็บไซด์

     

    2 4

    2. ประชุมพัฒนากลไกการทำงานพัฒนาชุมชน (สภาผู้นำ)

    วันที่ 7 ตุลาคม 2558 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะทำงาน อสม ผู้สูงอายุและกลุ่มทางการเงินต่างๆ ของหมู่บ้านเพื่อมาคัดเลือกเป็นสภาผู้นำ จำนวน 40 คน
    • ทำการเสนอชื่อ เพื่อค้นหาแกนนำให้กับชุมชน
    • ได้แกนนำของชุมน จัดทำข้อตกลงกับสภาผู้นำ เพื่อได้เป็นแนวทางเดียวกับโครงการที่ได้รับมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้สภาผู้นำชุมชน จำนวน 40 คน มีรายชื่อดังต่อไปนี้
    1. นายสิทธิคงเรือง
    2. นางละวรรณสงดำ
    3. นางสาครดำใส
    4. นางอารีย์จบฤทธิ์
    5. นางสาวิตรีตุ๊กสุวรรณ
    6. นางปฤษณาร่มนวน
    7. นายประทุมดำใส
    8. นายสุนันเทพเรือง
    9. นายนาคินทร์สงดำ
    10. นางสาวสุนันทาด้วงเรือง
    11. นางวาสนาขวัญชุม
    12. นางสาวราตรีนวลสอาด
    13. นายร่านรอดแก้ว
    14. นายจเรสงแก้ว
    15. นายจรูญ ชุมสวัสดิ์
    16. นายภิญญา อุดมรัตนื
    17. นายโสภร ด้วงเรือง
    18. นางศรีสุดา จบฤทธิ์
    19. นายพันธิ์ เสนดำ
    20. นางหนูริน คงเรือง
    21. นางสาวรัตนา นราพงศ์
    22. นางอักษร แก่นแก้ว
    23. โสภา บุญวงศ์
    24. นางวรรณวิมล ทองคำแก้ว
    25. นายจัด นวลเต็ม
    26. นายวัตรชิระ จันทร์ขอนแก่น
    27. นายธรรมรงค์ ปานสุวรรณ
    28. นายจรูญ มุกดา
    29. นางถาวร เพลิงธาตุ
    30. นายพิพัฒน์ เพชรคงแก้ว
    31. นายเสียร แป้นดวง
    32. นายวิโรจน์ ด้วงเรือง
    33. นายจำนงค์ ดาวกระจาย
    34. นายวิโรจน์ พรหมดำ
    35. นายประทุม ดำใส
    36. นายไพรินทรื ขวัยชุม
    37. นายสมชาย เผือกหนู
    38. นางหนูภา กรงไกรจักร
    39. นายสวัสดิื ดำสีใหม่
    • มีการนัดประชุมสภาผู้นำทุกเดือน ในวันที่ 7 ของเดือน

     

    40 40

    3. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 30 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำแผนป้ายปลอดบุรี่ เพื่อเพิ่มการใช้พื้นที่สุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม จำนวน 1 แผ่น พร้อมชื่อโครงการ และนำไปติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรมทุกครั้ง เพื่อรณรงค์ให้สถานที่จัดกิจกรรมเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่
    • มีพื้นที่สุขภาพมากขึ้น โดยคนในชุมชนปฎิบัตตามเมื่อป้ายดังกล่าว

     

    2 2

    4. ประชุมสภาผู้นำ เดือนพฤศจิกายน 2558

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13.00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมสภาผู้นำชุมชน เพื่อรายงานความก้าวหน้า ติดตามการดำเนินงานโครงการ และวางแผนการจัดกิจกรรมในแต่ละครั้งและแก้ไขปัญหาอื่นๆ ในชุมชนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการร่วมมือร่วมใจของสภาผู้นำในการทำงานเพื่อพัฒนาชุมชน
    • ได้การออกความคิดเห็นเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา คือ
    1. แบ่งตามหน้าที่
    2. ทำความเข้าใจกับคนในชุมชนให้มากขึ้น

    มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมต่อไป โดยมีรายละเอียดดังนี้

    • มีการจัดการในระบบการทำงานให้เป็นขั้นตอน แบ่งออกตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
    • นำข้อมูลที่ได้มาเข้าสู่ระบบการจัดการ

     

    40 40

    5. เวทีชี้แจงโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดเวทีประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุดให้คนในชุมชนทราบถึงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ แผนการดำเนินงานโครงการ และงบประมาณการสนับสนุนโครงการจาาก สสส. รวมทั้งชี้ให้ประโยชน์ของโครงการ
    • พี่เลี้ยงโครงการจาก สจรส. มาร่วมชี้แจงโครงการ แนะนำ สสส. และแนะนำตัวให้คนในชุมชนรู้จัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ในเวที คณะทำงานได้ทำแผ่นพับรายละเอียดโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด แจกในเวที เพื่อให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการ โดยในแผ่นพับ มีรายละเอียด ดังนี้

    • รายชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 7 คน โดยมีผู้ใหญ่บ้าน นายสิทธิ คงเรือง เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
    • งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 192,800 บาท
    • กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน คือ เด็ก เยาวชน คนวัยทำงาน และผู้สูงอายุ
    • กิจกรรมสำคัญของโครงการ

      • พัฒนากลไกการทำงานพัฒนา (สภาผู้นำ) เดือนละ 1 ครั้ง 12 ครั้ง
      • เวทีชี้แจงโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด
      • พัฒนาศักยภาพชุมชนในการเรียนรู้เรื่องสมุนไพร
      • สำรวจข้อมูลสมุนไพรและผักพื้นบ้านในชุมชน 2 วัน และทำแผนที่ทรัพยากรพืชและสมุนไพรในชุมชน
      • ส่งเสริมการปลูกและการดูแลสมุนไพรในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง
      • พัฒนาแปลงสาธิตการปลูกสมุนไพรเพื่อเรียนรู้กับสมาชิกผู้ปลูกสมุนไพรในชุมชน
      • คณะสภาผู้นำชุมชน และสมาชิกร่วมติดตามเยี่ยมแปลงปลูกสมุนไพรของครัวเรือน จำนวน 2 ครั้ง
      • พัฒนาการแปรรูปสมุนไพร
      • ถอดบทเรียนการทำงาน
      • วันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

    2.พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง ชี้แจงโครงการให้รู้จัก สสส. และ สจรส.ม.อ. พร้อมชี้ให้เห็นถึงที่มาของงบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงานโครงการ และความสำคัญของการบริหารจัดการงบประมาณIโครงการแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพราะเงินที่ได้มาเป็นของคนทั้งชุมชน โดยมีคณะทำงานทำหน้าที่เป็นผู้แทนในการดูแลและใช้จ่าย ทุกคนจะได้รับประโpชน์ร่วมกันจากงบประมาณที่ได้

    3.คนในชุมชนเข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการ เห็นประโยชน์ของการทำงาน และให้ความร่วมมือในการดำเนินงานโครงการ เห็นได้จากการเข้าร่วมโครงการในวันนี้ที่เกินเป้าหมายที่วางไว้ และมีคนเข้าร่วมหลากหลายวัยตรงตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม

     

    115 110

    6. พัฒนาศักยภาพชุมชนในการเรียนรู้พืชสมุนไพร

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเพื่อฟังการอบรม
    • ทำแบบสอบถามก่อนการเข้าอบรม
    • วิทยากร นางหนูเียง จีนจูดถ่ายทอดความรู้เรื่องสมุนไพร ชนิดของสมุนไพรสรรพคุณของสมุนไพร การใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ พร้อมทั้งสมุนไพรที่ช่วยในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
    • วิทยากร นางสาวอัจฉราพรรณ เผือกสวัสดิ์ ถ่ายถอดความรู้เรื่องการใช้สมุนไพร มาทำนำ้ยาล้างจาน (น้ำยาล้างจานมะเฟือง)
    • สาธิตการทำน้ำยาล้างจาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มเป้าหมายในชุมชนรู้จักพืชและชนิดของสมุนไพรและการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์หลังจากทำแบบสอบถาม ก่อน - หลัง
    • กลุ่มเป้าหมายในชุมชนนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวันมากขึ้น
    • กลุ่มเป้าหมายสามารถแยกชนิดของสมุนไพรตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
    • กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้เรื่องสมุนไพรมาเผยแพร่ให้กับครัวเรือนและชุมชนได้
    • กลุ่มเป้าหมายได้รู้จักสมุนไพรทั้งชนิดและประโยชน์และสามารถแนะนำผู้อื่นถึงการใช้ประโยน์จากสมุนไพรได้และสามารถแยกสมุนไพรในชุมชนได้ – มีการสาธิตการทำน้ำยาล้างจาน สูตรมะเฟือง โดยมีอุปกรณ์ ได้แก่
    1. มะเฟือง20 ลูก
    2. น้ำเปล่า
    3. กะละมัง หม้อ มีด เขียง ไม้พาย ตะกร้าที่มีรูเล็กๆ
    4. เตาถ่าน ถ่าน
    5. ขวดพลาสติก
    6. ผ้าขาวบาง (หากไม่มีใช้ผ้าอะไรก็ได้แต่ต้องบาง)
    7. N70 1/2 กิโลกรัม
    8. เกลือแกง 1 มัด
    9. ขี้เถ้า

    ขั้นตอนและวิธีดำเนินงาน

    1. นำขี้เถ้ามาร่อนให้เหลือแต่ผงที่ไม่มีเศถ่าน
    2. เมื่อร่อนเสร็จแล้วให้นำน้ำมาเทใส่ทิ้งไว้ 7 วันแล้วขี้เถ้าจะตกตะกอนจนเป็นน้ำใส ๆ เรียกว่า “น้ำด่าง”
    3. เมื่อครบกำหนด 7 วัน ให้นำมะกรูดมาล้างให้สะอาดแล้วผ่าครึ่งเป็น 2 ซีก เสร็จแล้วนำไปต้มด้วยน้ำเดือด
    4. เมื่อต้มเสร็จแล้วให้เทมะกรูดใส่กะละมังที่เตรียมไว้รอจนกว่ามะกรูดจะเย็น
    5. เมื่อมะกรูดเย็น ให้บีบน้ำออกจากลูกมะกรูด จากนั้นนำตะกร้ามากรองเอาเม็ดออกเมื่อกรองเสร็จ ให้นำผ้าบาง ๆ มากรองอีก 1 รอบ
    6. เท N70 ใส่กะละมัง แล้วกวนให้ไปทางเดียวกันเป็นเวลา 5 นาที
    7. เมื่อครบ 5 นาทีให้ค่อยๆใส่เกลือ น้ำด่าง และน้ำมะกรูดลงไปแล้วคนให้เข้ากันจนกว่าจะหมด
    8. ใส่สีผสมอาหารแล้วกวนให้เข้ากัน รวมเป็นเวลา 30 นาที แล้วหยุดกวน
    9. จากนั้นทิ้งไว้ 6 ชั่วโมง เพื่อให้ฟองหมด
    10. หลังจากฟองหมดให้ตักใส่ขวดพลาสติกให้เรียบร้อยและสามารถนำไปใช้ได้เลย
    • มีการแจกจ่ายน้ำยาล้างจานแก่ผู้เข้าร่วมอบรมเพื่อนำไปใช้ในครัวเรือน

     

    50 51

    7. คณะสภาผู้นำชุมชน และสมาชิกร่วมติดตามเยี่ยมชมแปลงปลูกของครัวเรือน ครั้งที่ 1

    วันที่ 5 ธันวาคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมการพัฒนาชุมชน
    • กลุ่มเป้าหมายได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่สาธารณะรอบชุมชน
    • ร่วมรับประทานอาหารเที่ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาชุมชน โดยการร่วมกันพัฒนารอบบ้านและพื้นที่ในชุมชน
    • ชุมชนเกิดการร่วมมือในการร่วมพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่และเทิดพระเกียติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวันคล้ายวันเกิด
    • เกิดการร่วมมือในการดูแลรักษาความสะอาดของบ้านเรือนและชุมชนให้น่าอยู่

     

    30 44

    8. ประชุมสภาผู้นำ เดือนธันวาคม 2558

    วันที่ 7 ธันวาคม 2558 เวลา 13.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำ
    • ประชุมปรึกษากิจกรรมที่ทำไปแล้วและแก้ไขปัญหาที่เกิดในการทำจัดกิจกรรมต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สภาผู้นำชุมชน รายงานความก้าวหน้า ติดตามการดำเนินงานโครงการ และวางแผนการจัดกิจกรรมในแต่ละครั้งและแก้ไขปัญหาอื่นๆ ในชุมชนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
    • เสนอ กิจกรรมที่จะดำเนินงานต่อ คือ พัฒนาศักยภาพชุมชนในการเรียนรู้เรื่องสมุนไพร
    • จัดการวางแผนการดำเนินงาน ในการเตรียมตัวทำกิจกรรม แบ่งหน้าที่ผู้รับผิดชอบ

     

    40 40

    9. อบรมการเขียนรายงาน ทางการเงิน

    วันที่ 12 ธันวาคม 2558 เวลา 8.30 น. - 16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 8.30 น.ลงทะเบียนเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการเขียนรายงาน เอกสารการเงิน และภาษี
    • 9.00 น.วิทยากรให้ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนะนำตัวและ นางสาวกัญณภัสจันทร์ทอง อบรมการลงข้อมูลในอินเตอร์เน็ต การทำเอกสารการเงิน การหักภาษีและการเสียภาษีให้สรรพกร 100 บาท ต่อ 1 %
    • 12.00 น. พักทานอาหารกลางวัน
    • 13.00น. การเขียนรายงานถอดบทเรียน การลงหลักฐานการทำกิจกรรม ผลผลิต ผลลัพย์ผลผลิตผลกระทบที่จะเกิดขึ้น การลงวัตถุประสงค์ให้เหมือนสัญญาต้นฉบับ
    • 15.00 น.กลับบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วิทยากร นางสาวกัญณภัส จันทร์ทองได้ให้ความรู้ดังนี้

    1.เรื่องการเสียภาษี และการจัดทำบิลภาษี

    • ในการเสียภาษี หัก 10 บาท ต่อ 1% แต่หากในการจัดซื้ออุปกรณ์ไม่ถึง 1000 บาท ไม่ต้องจัดเก็บภาษี หากจัดเก็บภาษี จะต้องนำภาษีที่เก็บได้ไปส่งสรรพากรไม่เกิน วันที่ 7 ของทุกเดือนหากพ้นกำหนดจะต้องเสียค่าปรับ
    • การเขียนรายงานให้ลงตามงบประมาณที่ใช้จริง การจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ต้อง ใช้ บิลที่จดทะเบียน ลงนามผู้ซื้อ ของโครงการ ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาทต่อ 1 ชั่วโมงการเช่าหรือเหมารถ การจ้างทำป้ายไวนิวการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมให้อยู่ในความเหมาะสม

    2.สิ่งที่ใช้ในการทำกิจกรรมของชุมชน

    • กล้อง สำหรับบันทึกภาพเพื่อบันทึกเรื่องราวหรือภาพถ่ายในการจัดทำกิจกรรม
    • เรื่องบันทีกเสียงหากบันทึกเสียงไว้สามารถนำมาเปิดเวลาในการจัดทำรายงานย้อนหลัง
    • กระดาษในการจดบันทึกเลขานุการจะต้องจดบันทึกสิ่งที่ทำในการจัดการอบรมในครั้งนั้นๆ เพื่อจะนำข้อมูลมาสรุปผล และจัดทำข้อมูลไปลงในอินเตอร์เน็ต

    3.การถอดบทเรียน การถอดบทเรียนเพื่อค้นหาคุณค่าที่เกิดจากการทำกิจกรรมค้นหาความรู้และประสบการณ์สามารถรู้ผลในการทำกิจกรรม

     

    2 3

    10. สำรวจข้อมูลพืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านในชุมชน 2 วัน

    วันที่ 15 ธันวาคม 2558 เวลา 10.00 - 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนการเข้าร่วมกิจกรรมโดยมีสภาผู้นำอำนวยความสะดวกในการลงทะเบียน
    • เมื่อลงทะเบียนแล้าร่วมฟังผู้รับผิดชอบโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด (นายสิทธิคงเรือง) อธิบายถึงจุดประสงค์ในการที่จะลงพื้นที่สำรวจข้อมูลสมุนไพรในชุมชน ว่าต้องการข้อมูลอะไรบ้างในแต่ละบ้านที่จะไปสำรวจ
    • แจกแบบฟอร์มการลงข้อมูล
    • ร่วมรับประทานอาหารว่าง
    • ออกไปสำรวจพื้ที่ในชุมชน พร้อมทั้งนัดสถานที่รับประทานอาหารเที่ยงในวัดสุวรรณคูหา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถรู้ถึงข้อมูลพืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านในชุมชนว่ามีอะไบ้าง จำนวนเท่าไร โดยสามารถสรุปข้อมูลพืชสมุนไพร และผักพื้นบ้านได้ดังนี้

    • มีสมุนไพร จำนวน 4 ประเภท ได้แก่

      • สมุนไพรใช้เหง้าหรือหัว เช่น ขมิ้น ไพร ขิง ข่า ว่านชักมดลูก เป็นต้น
      • สมุนไพรใช้ดอกเช่นเทียนบ้าน อัญชัญ ขี้เหล็ก เป็นต้น
      • สมุนไพรกินใบเช่น บัวบก แมงลัก พลู กะเพรา เป็นต้น
      • สมุนไพรใช้ต้นหรือเถาเช่นตะไคร้บระเพ็ด ดีปลีเชือกเป็นต้น
    • รู้ถึงความต้องการสมุนไพรและผักพื้นบ้านของคนในชุมชน ว่าต้องการสมุนไพร อาทิเช่น ขมิ้นชันหัวไพรพริกไทยเป็นต้น

    • คนในชุมชนกะตือรือร้นในการให้ข้อมูลเมื่อลงพื้นที่สำรวจ เมื่ออธิบายจุดประสงค์ของโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด ให้ฟังอีกครั้งและบอกการดำเนิดกิจกรรมในครั้งต่อไป และผลปรากฎว่า คนในชุมชนพร้อมที่จะเข้าร่วมกิจกรรมที่จะทำครั้งต่อไป

     

    30 30

    11. ประชุมสภาผู้นำ เดือนมกราคม 2559

    วันที่ 7 มกราคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำ
    • นายสิทธิ คงเรือง อธิบายผลการดำเนินโครงการ และบอกถึงปัญหาที่เกิดกับการดำเนินงาน และเสนอกิจกรรมที่จะดำเนินต่อไป พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากสภาผู้นำ และเสนอแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป พร้อมทั้งจัดแบ่งหน้าที่ตามความถนัดของแต่ละบุคล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะกรรมการพัฒนาศักยภาพเป็นสภาผู้นำ จากกิจกรรม โดยมีการประชุม ทบทวน วางแผน ติดตาม การดำเนินงานตลอดปี มีการจัดทำข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการนำเสนอข้อมูลสู่สาธารณะ
    • กลุ่มเป้าหมายรู้และเข้าใจโครงการร่วมกัน ว่าชุมชนต้องการทำอะไร และจะได้ประโยชน์อย่างไรในการดำเนินโครงการตามแผนงานที่วางไว้
    • กลุ่มเป้าหมายทราบปัญหาด้านสุขภาพในชุนชน ว่า มีโรคอะไรที่คนในชุมชนเป็นมากที่สุด และแก้ไขโดยการใช้สมุนไพรบำบัดได้ในบางส่วน
    • เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน คือคนในชุมชนทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการเพื่อนำความรุ้ไปใช้ในครัวเรือนและเผยแผ่ให้บุคคลภายนอก

     

    40 40

    12. จัดเวทีทำแผนที่ทรัพยากรพืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านในชุมชน

    วันที่ 8 มกราคม 2559 เวลา 10.00 น. - 15.00 น, น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมจัดทำแผนที่ทรัพยากรพืชผักสมุนไพรในชุมชน
    • เชิญวิทยากรให้ความรู้ด้านการเก็บข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • วิทยากร พูดว่าวิธีการจัดทำแผนที่ทำอย่างไรทำแล้วจะเกิดประโยชน์กับชุมชนคือ สามารถนำข้อมูลที่มีอยู่ในแผนที่ว่า บ้านของใครมีสมุไพรชนิดใดบ้างโดยง่ายในการจะไปหาสมุนไพรชนิดนั้น
    • วิทยากรพูดว่าวิธีการเขียนแผนที่ชุมชนในการจัดทำแผนที่ทรัพยากรพืชผักสมุนไพรในชุมชนเขียนอย่าไร ลงข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีเพื่อง่ายในการทำงาน
    • ทราบถึงชนิดและจำนวนของสมุนไพรในเขตพื้นที่ของชุมชนและจัดทำแผนที่ทรัพยากรสมุนไพรของชุมชนเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาเรียนรู้และจัดทำหนังสือสมุนไพรของชุมชน โดยชุมชนบ้านถ้ำผุด มีสมุนไพร จำนวน 4 ประเภท ได้แก่ -สมุนไพรใช้เหง้าหรือหัว เช่น ขมิ้น ไพร ขิง ข่า ว่านชักมดลูก เป็นต้น -สมุนไพรใช้ดอก  เช่น  เทียนบ้าน อัญชัญ ขี้เหล็ก เป็นต้น
      • สมุนไพรกินใบ  เช่น บัวบก แมงลัก พลู กะเพรา เป็นต้น
      • สมุนไพรใช้ต้นหรือเถา  เช่น  ตะไคร้  บระเพ็ด ดีปลีเชือก  เป็นต้น

     

    30 30

    13. สสส.เยี่ยมชมโครงการสมุนสร้างสุขบ้านถำ้ผุด

    วันที่ 10 มกราคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทีมงานโครงการ นำสื่อจาก สสส. ลงพื้นที่ในชุมชน และสัมภาษณ์บุคคลดังต่อไปนี้

      • นายสิทธิ คงเรือง ผู้รับผิดชอบโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด
      • นายนบภาโสภา นายก อบต. ตำบลต้นยวน
      • นายวิสุทธิ์ สรรพากำนันตำบลต้นยวน
      • นางพิกุล วงศ์พลัด หัวหน้า รพสต.บ้านเขานาใน
      • นางหนูเรียง จีนจูดประธานกลุมสมุนไพรนางไพร
      • นางอารีย์จบฤทธิ์ ผู้ปลูกสมุนไพรและแปรรูปสมุนไว้เพื่อกินเพื่อใช้ในครัวเรือน
      • ทีมงานโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด โดยมีนางสาครดำใสนางสาวุนันทาด้วงเรืองนางละวรรณสงดำนางอารีย์จบฤทธิ์ นางสาวิตรีตุ๊กสุวรรณ
    • ร่วมรับประทานอาหารเย็นร่วมกัน

    • ถ่ายรูปพร้อมทีมงานสสส.ที่ลงตรวจเยี่ยมชุมชนเพื่อเป็นที่ระลึกและทีมงานโครงการสมุนไพรกล่าวขอบคุณ ทีมงาน สสส. ที่ให้การสนับสนุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คนในชุมชนให้ความร่วมมือ และเกิดการตื่นตัว เมื่อมีทีมสื่อจาก สสส. ลงมาถ่ายทำสื่อในพื้นที่
    • สสส. เยี่ยมชมพื้นที่รอบชุมชนบ้านถำ้ผุดโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

      • กลุ่มที่ 1สภาผู้นำพาเจ้าหน้าที่ สสส. เยี่ยมชมสถานศึกษา โรงเรียนบ้านเขานาใน ซึ่งเป็นภาคีเครือข่ายที่ร่วมกิจกรรมกับโครงการสมุนไพรสร้างสุขมาโดยตลอด และทางโรงเรียนได้มีนโยบายให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับชุมชนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเข้าถึงชุมชนโดยง่ายและสามารถรู้ข้อมูลในชุมชนไปพร้อม ๆ กัน และลงพื้นที่เยี่ยมชมบ้าน ผู้ปลูกสมุนไพร บ้านนายสวัสดิ์ดำสีใหม่ปลูกพืชสมุนไพรไว้เกิอบทุกชนิด อาทิเช่น พริกไทย พริกขี้หนู ตะไคร้ ใบมกรูด เป็นต้น ล้วนแต่เป็นสมุนไพรที่รับประทานอยู่ทุกวัน และ เกิดเป็นรายได้ให้กับครอบครัวหลังจากเหลือกินเหลือใช้บ้านนายเลียบ พลูแก้ว ปลูกพืชสมุนไพรทุกชนิด และเป็นศูนย์การเรียนรู้เศษรฐกิจแบบพอเพียงตามรอยในหลวงของเรา
      • กลุ่มที่ 2 สสส. ถ่ายทำวิดิโอ ภาคีเตรือข่าย โดยมี นายนบภาโสภา นายก อบต.นายวิสุทธิ์สรรพากำนันตำบลต้นยวนนางพิกุล วงศ์พลัดหัวหน้า รพสต. คณะครูและเด็กนักเรียน จาก รร. บ้านเขานาในและเยียมชม บ้านนางอารีย์จบฤทธิ์ผู้ปลูกสมุนไพรและแปรรูปสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือนได้กล่าวถึงการเข้า่วมโครงการสมุนไพรสร้างสุข ว่าเกิดประโยชน์กับชุมชนอย่างไร มีส่วนช่วยเหลือชุมชนในรูปแบบไหน เพื่อจะได้เดินไปในทิศทางเดียวกัน

     

    7 48

    14. อบรมเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้า ง. 1

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรม
    • แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างเพื่อนร่วมโครงการ สสส.
    • การจัดทำบัญชีเพื่อปิดงบดุลโครงการงวดแรกตรวจความเรียบร้อยของเอกสารทางการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับรู้ข่าวสารของเพื่อนร่วมโครงการและจะได้นำข้อดีของเพื่อนสมาชิกไปปรับใช้ในโครงการของตัวเองได้และจะปรับปรุงปัญหาของโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด
    • ได้ความรู้ในเรื่องการจัดเตรียมเอกสารด้านการเงิน การลงข้อมูลเอกสารทางการเงินและเรียบเรียงรายละเอียดเอกสารให้สมบูรณ์
    • ตรวจทานข้อผิดพลาดในการทำเอกสารทางการเงิน
    • ได้เล่าสู่กันฟังปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด ว่า ชาวบ้านในพื้นที่ ม.11 บ้านถำ้ผุด ได้รู้จักถึงคุณสมบัติของสมุนไพรในชุมชนและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนได้

     

    2 3

    15. ประชุมสภาผู้นำ เดือนกุมภาพันธ์ 2559

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำ
    • นายนาคินทร์ สงดำ ซึ่งได้เข้าร่วมอบรมในการจัดทำเอกสารทางการเงินและปิดงบดุลโครงการงวดที่ 1 ได้ชี้แจงรายละเอียดในการปิดงบดุลและจัดทำเอกสารทางการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สภาผู้นำและคนในชุมชนได้รับรู้ข่าวสารทางการเงินของโครงการและที่มาที่ไปการใช้เงิน โดยนายนาคินทร์ สงดำ ซึ่งได้เข้าร่วมอบรมในการจัดทำเอกสารทางการเงินและปิดงบดุลโครงการงวดที่ 1 ได้ชี้แจงรายละเอียดในการปิดงบดุลและจัดทำเอกสารทางการเงินของโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด ว่า ในการดำเนินกิจกรรมโครงการซึ่งได้รับงบประมาณทั้งหมด192,800บาท และได้รับเงินงวดแรก77,120บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

      • กิจกรรมที่ 11 ครั้งที่ 1 พัฒนากลไกสภาผู้นำ ใช้งบประมาณ 2850บาท
      • กิจกรรมที่ 1จัดตั้งสภาผู้นำ ครั้งที่ 1 ใช้งบประมาณ1600 บาท
      • กิจกรรมจัดทำไวนิว ใช้งบประมาณ 1320บาท
      • กิจกรรมที่ 1ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 2 ใช้งบประมาณ1600 บาท
      • กิจกรรมที่ 2 เวทีชี้แจงโครงการสมุนไพรสร้างสุข ใช้งบประมาณ11000บาท
      • กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพชุมชนในการเรียนรู้พืชสมุนไพร ใช้งบประมาณ10850บาท
      • กิจกรรมที่ 7คณะสภาผู้นำชุมชนและสมาชิกร่วมติดตามเยี่ยมชมแปลงปลูกของครัวเรือนสมาชิกครั้งที่ 1ใช้งบประมาณ7110บาท
      • กิจกรรมที่ 1ครั้งที่ 3จัดประชุมสภาผู้นำ ใช้งบประมาณ4190บาท
      • กิจกรรมที่ 11ประชุมร่วมกับสจรส.มอ. ใช้งบประมาณ1300 บาท
      • กิจกรรมที่ 4สำรวจข้อมูลพืชผักสมุนไพรและผักพืชบ้านในชุมชน ใช้งบประมาณ7385บาท
      • กิจกรรมที่ 1ประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 4 ใช้งบประมาณ 3680 บาท
      • กิจกรรมที่ 4จัดทำเวทีทำแผนที่ ใช้งบประมาณ8560 บาท
      • กิจกรรมที่ 11สสส.เยี่ยมชมโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถำ้ผุด ใช้งบประมาณ2000บาท
      • กิจกรรมที่ 11การจัดทำรายงานทางการเงินและปิดงบดุล ใช้งบประมาณ800บาท
      • กิจกรรมที่ 1ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 5 ใช้งบประมาณ 1200 บาท
      • รวมทั้งหมด 14 กิจกรรมเป็นเงิน 64645บาทมีเงินสดในมือ 355 บาท และคงเหลือเงินในบัญชี12650.70 บาท
    • ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมการจัดตั้งกติกาการปลูกและดูแลสมุนไพรไปเป็นวันที่ 27ก.พ.2559เพื่อให้ผู้ที่สนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมรับทราบ

     

    40 40

    16. อบรมและจัดทำกติกาการปลูกและการดูแลสมุนไพร

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 10:00-15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมการจัดทำกติกา
    • ร่วมรับฟังการบรรยายดูแลสมุนไพรและการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรจากนายสิทธิโชค อนุจันทร์
    • ร่วมกันจัดตั้งกฎกติการ่วมกันในการปลูกการดูแลและการใช้ประโยชน์จากสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการเรียนรู้เรื่องสมุนไพร การดูแลสมุนไพร การรักษาสมุนไพร และการใช้สมุนไพร โดยนายสิทธิโชค อนุจันทร์ ได้ให้ความรู้ว่าสมุนไพรแต่ละชนิดมีระยะเวลาในกาปลูกไม่เท่ากัน ดังนันการเก็บเกี่ยวผลผลิตส่วนมากจะเก็บเกี่ยวช่วงฤดูแล้งะดีที่สุดเพาะสารอาหารจะเติบโตเต็มที่และสารอาหารจะมีมากที่สุด
    • ร่วมกันจัดตั้งกฎกติการ่วมกันในการปลูกการดูแลและการใช้ประโยชน์จากสมุนไพร จนเกิดกติกาการปลูกการดูแลสมุนไพรและการแปรรูปสมุนไพรดังนี้
    1. ใช้การถางหรือถอนแทนการฉีดยากำจัดวัชพืช
    2. ใช้นำ้จากแหล่งนำ้ที่สะอาด
    3. ลดการใช้ปุ๋ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยคอกแทน
    4. ต้องได้รับการรับรองจาก จีเอพี
    5. เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อถึงเวลาการเก็บเกี่ยว

     

    30 30

    17. ประชุมสภาผู้นำ เดือนมีนาคม 2559

    วันที่ 7 มีนาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมรายงานผลการดำเนินกิจกรรมการจัดตั้งกติการการปลุกและดูแลสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ร่วมจัดการรับฟังผลการดำเนินงานในการจัดตั้งกฎกติกาการปลูกและการดูแลสมุนไพรว่ามีผลเป็นที่น่าพอใจ มีคนให้ความร่วมมือมากเกินเป้าหมายที่วางไว้และวางแผนการดำเนินงานในการเพาะกล้าสมุนไพร พร้อมนัดวันที่จะทำการเพาะปลูก ในวันที่ 31 มีนาคม 2559
    • สภาผู้นำได้รับมอบหายหน้าที่ในการไปจัดเตรียมอุปกรณ์การเพาะกล้า และจัดซื้อจัดหาพันธุ์สมุนไพรมาเพาะปลูกเพิ่มเพื่อแจกจ่ายให้กับคนในชุมชน

     

    40 40

    18. เยาวชนเพาะกล้าสมุนไพร

    วันที่ 31 มีนาคม 2559 เวลา 10:00-14.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียน
    • ฟังการอบรม จากวิทยากรอบรมเรื่อง "วิธีการปลูกสมุนไพรให้ได้ผลดีและอัตราการงอกของสมุนไพร"
    • ช่วงบ่ายร่วมกันผสมดินกับมูลสัตว์คุกเคล้าให้เข้ากันแล้วบรรจุลงถุงเพาะ และใส่สมุนไพรลงในถุงเพาะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • วิทยากร คือ นายสวัสดิ์ ดำสีใหม่ และ นางปฤษณา ร่มนวน ให้ความรู้เรื่อง "วิธีการปลูกสมุนไพรให้ได้ผลดีและอัตราการงอกของสมุนไพร" พร้อมถึงการเตรียมสมุนไพรสำหรับปลูกเมื่อปลูกแล้วควรรดนำ้อย่างไรให้ได้ผลดี แต่สมุนไพรบางตัวจะงอกเมื่อถึงฤดูกาลเท่านั้้น และจะขุดเมื่อครบฤดูกาล เช่น ขมิ้น หัวไพร ว่านชักมดลูก เป็นต้น และร่วมรับประทานอาหาร
    • ช่วงบ่ายร่วมกันผสมดินกับมูลสัตว์คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วบรรจุลงถุงเพาะ และใส่สมุนไพรลงในถุงเพาะ ได้สมุนไพรที่เพาะลงถุง จำนวน 1000 ถุง ได้แก่
    1. ขมิ้น 500 ถุง
    2. หัวไพล 300 ถุง
    3. ขมิ้นอ้อย 200 ถุง

     

    30 25

    19. พัฒนากลไกการทำงานพัฒนาชุมชน (สภาผู้นำ)

    วันที่ 7 เมษายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมและรายงานผลการดำเนินงานและเสนอปัญหาที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชุมคณะกรรมการหมูบ้าน คณะทำงานโครงการ กลุ่ม อสม. กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ที่มีในชุมชน
    • รายงานความก้าวหน้า ติดตามการดำเนินงานโครงการ และวางแผนการจัดกิจกรรมในแต่ละครั้งและแก้ไขปัญหาอื่นๆ ในชุมชนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
    • มีการปรึกษาหารือเรื่องสมุนไพรที่จะแลกเปลี่ยนมีจำนวนน้อยจึงจัดสรรงบประมาณเพื่อซื้อสมุนไพรมาเพาะเพิ่มเติมที่ประชุมเห็นชอบด้วยเพื่อให้ชุมชนมีสมุนไพรเพิ่มมากขึ้นส่วนสมุนไพรที่เหลือเก็บไว้เพื่อรอการแจกจ่ายในกิจกรรมแจกจ่ายพันธุ์สมุนไพร

     

    40 40

    20. ประชุมสภาผู้นำ

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสภาผู้นำจำนวน 40 คน ร่วมแสดงความคิดเห็นและเสนอวิธีแก้ปัญหาในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป วางแผนและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับสภาผู้นำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการร่วมมือร่วมใจของสภาผู้นำในการทำงานเพื่อพัฒนาชุมชน ได้การออกความคิดเห็นเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา แบ่งตามหน้าที่ ทำความเข้าใจกับคนในชุมชนให้มากขึ้น มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมต่อไป
    • จะให้มีการนำสมุนไพรที่ตนเองมีมาแลกสมุนไพรตัวใหม่ไปปลูกเพื่อจะผลัดเปลี่ยนกันไปปลูกคนละหลายชนิดหากใครไม่มีก้อไม่เป็นไร
    • ช่วยกันแบ่งและแจกจ่ายให้ได้กันทั่วถึงเพื่อเป็นพันธุ์เพาะปลูก
    • มีการจัดการในระบบการทำงานให้เป็นขั้นตอน แบ่งออกตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย นำข้อมูลที่ได้มาเข้าสู่ระบบการจัดการ

     

    40 40

    21. ประชุมสภาผู้นำ

    วันที่ 7 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรมต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • วางแผนการดำเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนสมุนไพรเพื่อใช้ประโยชน์
    • เตรียมพันธุ์สมุนไพรมาไว้เพื่อแลกเปลี่ยนและแจกจ่ายให้ครัวเรือนสมาชิกในชุมชนและผู้ที่สนใจเพื่อนำไปเพาะขยายพันธ์ุ
    • พูดถึงแนวทางการจัดจำหน่ายหากมีสมุนไพรเพิ่มขึ้นและแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ทำจากสมุนไพรในชุมชนเพื่อสร้างอาชีพเสริมและลดการใช้จ่ายในครอบครัวเพื่มรายได้จากสมุนไพรที่เหลือจากใช้และให้ทางรัฐเข้ามาหนุนเสริมการใช้สมุนไพรการดูแลสมุนไพร และการขายสมุนไพรแบบครบวงจร

     

    40 40

    22. ประชุมสภาผู้นำ เดือนกรกฎาคม 2559

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    • ประเมินผลการทำงานและนัดแนะการจัดกิจกรรมทำลูกประคบสมุนไพรเชิญชวนให้ประชาชนเข้าร่วมอบรม
    • สรุปผลการทำงานและแบ่งจ่ายหน้าที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การประเมินผลการทำงานและนัดแนะการจัดกิจกรรมทำลูกประคบสมุนไพรเชิญชวนให้ประชาชนเข้าร่วมอบรม ปรากฎว่า มีผู้สนใจที่จะทำลูกประคบเป็นจำนวนมากเนื่องจากเป็นความรู้ใหม่แก่คนในชุมชนและคนในชุมชนเห็คุณประโยชน์ที่จะได้รับจากลูกปรคบ
    • เกิดการมีส่วนร่ามในการดำเนินกิจกรรม โดยการสรุปผลการทำงานและแบ่งจ่ายหน้าที่ ทุกคนมีส่วนร่วม ดังนี้

      • นางสาวิตรี ตู๊กสุวรรณ รับหน้าที่ในการประสานงานติดต่อวิทยากร และจัดทำเอกสาร
      • นางละวรรณ สงดำ รับหน้าที่ในการจัดทำเอกสารทางการเงิน
      • นางสาวสุนันทา ด้วงเรือง รับหน้าที่ในการประชาสัมพันธิ์
      • นางปฤษณา ร่มนวน รับหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์และแจกเอกสารเรียนเชิญผู้เข้าร่วมกิจกรรม
      • นางอารีย์ จบฤทธิ์ รับหน้าที่ด้านอาหารและอาหารว่าง และ จัดหาสมุนไพรในการนำมาทำลูกประคบ
      • นายสิทธิ คงเรือง รับหน้าที่ในการตรวจดูแลความเรียบร้อยในการจัดกิจกรรม
    • เกิดการสนับสนุนการสร้างเสริมอาชีพ รายได้ คือลูกประคบสามารถนำมาเป็นอาชีพเสริมและสร้างรายได้ให้กับชุมชนและครอบครัวได้มากเนื่องจากในชุมชนมีสมุนไพรอยู่แล้วและนำสมุนไพรเหล่านั้นมาเพิ่มมูลค่าให้กับตัวสมุนไพร

     

    40 40

    23. การแลกเปลี่ยนสมุนไพรเพื่อใช้ประโยชน์

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2559 เวลา 10:00-15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมการอบรมและวิทยากรและวิทยากรให้ความรู้ด้านสมุนไพรโดย นายนาคินทร์ สงดำ  และนายสัมพันธ์  พรหมฤทธิ์และร่วมรับประธานอาหาร ช่วงบ่ายร่วมกันแจกจ่ายสมุนไพร เพื่อนำไปปลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • วิทยากร คือ นาย สัมพันธ์ พรหมฤทธิ์ ให้ความรู้แนะนำการปลูกและดูแลสมุนไพรเบื้องต้น และนายนาคินทร์ สงดำ แจกพันธ์ุสมุนไพรที่เหลืออยู่ให้กับผู้เข้าร่วมการอบรมนำมาแบ่งปันกันเพื่อกระจายให้ทั่วถึงโดยแบ่งสมุนไพร ดังนี้

      • หัวไพร 2 กก.ต่อคน
      • ขมิ้นชัน 3 กก.ต่อคน
      • ขมิ้อ้อย 1 กก.ต่อคน
    • มีการแลกเปลี่ยนเรื่องประโยชน์ของสมุนไพร ร่วมกับเยาวชน ทำให้เกิดความรู้การรักษาโดยสมุนไพรพื้นบ้าน เช่น ขมิ้นชันสามารถรักษาแก้โรคกะเพาะได้ซึ่งที่ผ่านมาจะรู้ว่าขมิ้นใช้ในการทำอาหารเท่านั้น

     

    30 33

    24. ประชุมสภาผู้นำ

    วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสภาผู้นำเพื่อดำเนินงานออกแบบ วางแผนกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เลื่อนประชุมสภาผู้นำมาเป็นวันที่ 5 สิงหาคม 2559 เนื่องจากวันที่ 7 สิงหาคม 2559 มีการเลือกตั้งประชามติ
    • วางแผนพัฒนาแปลงสาธิตการปลูกสมุนไพรเพื่อการเรียนรู้กับสมาชิกผู้ปลูกสมุนไพรในชุมชน เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในการบริโภคและดูแลสุขภาพเบื้องต้น
    • นัดผู้เข้าร่วมการอบรมพร้อมกันในวันที่ 6 สิงหาคม 2559

     

    40 40

    25. พัฒนาแปลงสาธิตการปลูกสมุนไพรเพื่อการเรียนรู้กับสมาชิกผู้ปลูกสมุนไพรในชุมชน

    วันที่ 6 สิงหาคม 2559 เวลา 10:00-15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียน
    • ช่วยกันเพาะชำสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดแปลงสาธิใตสมุนไพรในชุมชน 1 จุดเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ร่วมกับนายอารีย์ จบฤทธิ์ จัดทำแปลงเรียนรู้สมุนไพรเพื่อให้คนในชุมชน และคนนอกชุมชนที่สนในมาศึกษาเรียนรู้โดยจัดทำป้ายสื่อความหมาย ป้ายบอกสรรพคุณให้เรียนรู้ประโยชน์ มีการเพาะชำกล้าสมุนไพรไว้แจกจ่ายผู้ที่สนใจในการปลูกพืชสมุนไพรเพื่อศึกษาเรียนรู้ได้ที่ศุนย์ของนางอารีย์จบฤทธิ์และสามารถไปขอพันธุืสมุนไพรมาปลูกได้

     

    30 30

    26. คณะสภาผู้นำชุมชน และสมาชิกร่วมติดตามเยี่ยมชมแปลงปลูกของครัวเรือน ครั้งที่ 2

    วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 10:00-15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมและเริ่มพัฒนารอบชุมชนและรอบบ้านครัวเรือนสมาชิกแล้วร่วมรัปประทานอาหารผลปรากฎว่าคนในชุมชนมาร่วมพัฒนาเป็นจำนวนมากทำให้รอบชุมชนหน้าอยู่ขึ้น
    • ช่วงบ่ายพร้อมลงพื้นที่เยี่ยมบ้านของผู้ปลูกสมุนไพรว่ามีการปลูกสมุนไพรชนิดใดบ้างแล้วช่วยกันพัฒนาพื้นที่รอบบ้านผู้ปลูกและปลูกสมุนไพรเพิ่มเติม เช่น ไพรขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อยกรูด เป็นต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คนในชุมชนมีความกระตือรือร้นในการร่วมใจกันพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่และคนในชุมชนพัฒนารอบบ้านของตัวเองและศูนย์การเรียนรู้ในชุมชน บ้านนางอารีย์ จบฤทธิ์ และถือโอกาสถวายพระพรให้กับ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
    • ผู้ปลูกสมุนไพรในชุมชนปลูกเพื่อใช้เองหากมีส่วนที่เหลือก็จะจำหน่ายให้กับคนในพื้นที่หรือผู้ที่ขอซื้อบางครั้งนำมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตัวสมุนไพร เช่น ตากแห้ง บดผงบรรจุแคปซูน แปรรูปเป็นสินค้าโอท๊อป

     

    30 44

    27. ประชุมสภาผู้นำ

    วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมเพื่อรายงานผลการทำงาน แลละออกแบบการทำงานร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการร่วมมือร่วมใจของสภาผู้นำในการทำงานเพื่อพัฒนาชุมชน ได้การออกความคิดเห็นเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา และแบ่งตามหน้าที่
    • ทำความเข้าใจกับคนในชุมชนให้มากขึ้น
    • มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมต่อไป
    • มีการจัดการในระบบการทำงานให้เป็นขั้นตอน แบ่งออกตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย นำข้อมูลที่ได้มาเข้าสู่ระบบการจัดการตามการวางแผนของโครงการที่ดำเนินไว้อย่างเป็นระบบ

     

    40 40

    28. การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม

    วันที่ 17 กันยายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรมรายงานทางการเงินและปรับแก้เอกสารทางการเงินให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การทำรายงานทางการเงินงวดที่ 2 ตรวจเอกสารรายงานทางการเงินให้ถูกต้องมีข้อผิดพลาดในเรื่องรายชื่อผู้เข้าร่วมการอบรมยังไม่ครบถ้วน บัตรประจำตัวประชาชนหมดอายุส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตไม่เรียบร้อย

     

    2 3

    29. พัฒนาการแปรรูปสมุนไพร(ลูกประคบ ยาหม่องสมุนไพร)

    วันที่ 25 กันยายน 2559 เวลา 10:00-15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมการอบรม
    • สาธิต ร่วมกันทำลุูประคบสมุนไพร
    • พักรับประทานอาหารเท่ี่ยง
    • ร่วมกันทำยาหม่องสมุรไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้นำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์คือทำลูกประคบสมุนไพร มีส่วนประกอบดังนี้

    1. ส่วนผสมสูตรลูกประคบสมุนไพรแบบแห้ง (150 กรัม ต่อ 1 ลูก)
    • ผิวมะกรูด 20 กรัม
    • ไพล 20 กรัม
    • ผักเสี้ยนผี 20 กรัม
    • ข้าวคั่ว 20 กรัม
    • พิมเสน 20 กรัม
    • การบูร 40 กรัม
    • เกลือตัวผู้ 10 กรัม

    สรรพคุณของลูกประคบสมุนไพรแบบสดและแบบแห้ง

    • ตัวยาสมุนไพรของลูกประคบสมุนไพรส่วนใหญ่มีสรรพคุณในการแก้เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำดำเขียว ทำให้เส้นเอ็นของกล้ามเนื้อหย่อนเมื่อผสมผสานกับความร้อนจากลูกประคบสมุนไพร ก็เท่ากับเสริมฤทธิ์ในการรักษาซึ่งกันและกัน สมุนไพรที่ใช้ตามตำรานี้ เป็นทั้งสมุนไพรแบบสดและสมุนไพรแบบแห้ง เป็นตัวยาที่มีน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรซึ่งเป็นสารในการออกฤทธิ์ที่สำคัญนอกจากนี้เราอาจจะใช้สมุนไพรชนิดอื่น ๆ มาร่วมอีกก็ได้ เช่น ว่านนางคำ หัวหอม ใบพลับพลึง ขิงสด ว่านน้ำ ดีปลี เปราะหอม ผักบุ้ง เปลือกชะลูด ถ้าหาไม่ได้ก็ไม่เป็นไร ใช้เท่าที่มี

    วัตถุดิบและส่วนประกอบ

    1. พิมเสน 1 ส่วน
    2. การบูร 1 ส่วน
    3. วาสลีน 5 ส่วน
    4. เมนทอล 2 ส่วน
    5. ไพลสด 2 ส่วน
    6. พาราฟิน 2 ส่วน
    7. น้ำมันระกำ

    ยาหม่องสมุนไพรสูตรไพร

    ขั้นตอนการผลิต

    1. นำไพลล้างให้สะอาด หั่นและทุบให้ไพลค่อนข้างละเอียดแล้วนำไปตุ๋นในหม้อ ประมาณ 3 ชั่วโมง แล้วกรองเอาแต่น้ำ
    2. นำส่วนผสมทั้ง 5 รายการ ลงผสมเข้าด้วยกันให้ละลายเป็นเนื้อเดียวกัน
    • พิมเสน 1 ช้อนโต๊ะ
    • เมนทอล 1 ช้อนโต๊ะ
    • การบูร 1 ช้อนโต๊ะ
    • น้ำมันระกำ 1 ช้อนโต๊ะ
    • น้ำมันไพล 5 ช้อนโต๊ะ

    3.นำพาราฟิน 1 1/2 ช้อนโต๊ะ, วาสลีน 1 ช้อนโต๊ะ ใส่หม้อตุ๋นตั้งไฟให้ละลาย

    4.นำส่วนผสมในข้อ 1 ใส่รวมกับข้อ 2 ตุ๋นไฟอ่อนๆ คนจนเป็นเนื้อเดียวกัน (ละลายเป็นน้ำ)

    5.นำยาหม่องไพลที่ผสมแล้วในข้อ 3 ขณะที่ยังร้อนใส่ขวดทิ้งไว้ให้แข็งตัว (ในขณะที่ยาหม่องยังไม่แข็งตัว ห้ามเคลื่อนย้ายเพราะจะทำให้ปากขวดเลอะ)

     

    30 30

    30. งานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 12.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • วันที่ 3 จัดบู๊ทแสดงสินค้าและสมุนไพรพื้นบ้าน  ชมการแสดงโดยกลุมเด็กและเยาวชน และชมพิธีเปิด  งานสร้างสุขฅนใด้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับความรู้ในด้านการสร้างเสริมสุขภาพการนำการแสดงจากเด็กและเยาวชนผู้มีส่วนร่วม
    • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานในการพัฒนาชุมชนด้านต่างๆ กับพื้นที่ในจังหวัดภาคใต้
    • เห็นกระบวนการทำงานของพื้นที่ต่างๆ ผ่านเวทีเสวนา การจัดนิทรรศการ
    • เห็นนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่
    • เห็นภาคีเครือข่ายการทำงานของ สสส. สจรส.มอ. สช. สปสช. ในประเด็นต่างๆ ทั้งสุขภาพ ความมั่นคงด้านอาหาร เด็กและเยาวชน นโยบายสาธารณะ

     

    2 3

    31. ประชุมสภาผู้นำ

    วันที่ 7 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมและร่วมประชุมกิจกรรมที่จะจัดในวันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพว่าจะจัดงานในรูปแบบอย่างไรให้ช่วยกันแนะนำหรือคิดวิธีรูปแบบการจัดงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ร่วมประชุมกิจกรรมที่จะจัดในวันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพว่าจะจัดงานในรูปแบบอย่างไรให้ช่วยกันแนะนำหรือคิดวิธีรูปแบบการจัดงาน โดยมีคณะทำงานเสนอว่าจัดในรูปแบบใช้วัตถุดิบในชุมชนและอาหารเพื่อสุขภาพทำข้าวยำสมุนไพรเลี้ยงเป็นอาหารกลางวัน และจัดประกวดข้าวยำรสเด็ดโดยให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมการแข่งขันและประกาศรายชื่อ ผู้ที่จะได้รับเกียรติบัตรในวันงาน และจะจัดกิจกรรมในวันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 10.00 น.-15.00 น.
    • สภาผู้นำพร้อมรับหน้าที่ไปทำ แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบไปตามความถนัด
    • เกิดการร่วมกลุ่มของสภาผู้นำและคนในชุมชนในการร่วมกันทำงานให้กับชุมชน
    • ชุมชนสามารถนำสมุนไพรมาใช้ในการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ

     

    40 40

    32. ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 10.30-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
    • เสนอผลงานที่ผ่านมา 1 ปี
    • วิเคราะห์ผลปัญหาที่เกิดขึ้นและผลที่ได้รับจากโครงการนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นำเสนอผลงานที่ผ่านมาตลอด 1 ปี ว่าดำเนินกิจกรรมดังนี้
    1. ประชุมสภาผู้นำ
    2. เวทีชี้แจงโครงการสมุนไพรสร้างสุข
    3. พัฒนาศักยภาพชุมชนในการเรียนรู้พืชสมุนไพร
    4. สำรวจข้อมูลพืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านในชุมชน
    5. ส่งเสริมการปลูกและการดูแลสุขภาพ
    6. พัฒนาแปลงสาธิตการปลูกสมุนไพรเพื่อการเรียนรู้กับสมาชิกผู้ปลูกในชุมชน
    7. คณะสภาผู้นำชุมชนและสมาชิกร่วมติดตามแปลงปลูกสมุนไพรของครัวเรือนสมาชิก
    8. พัฒนาการแปรรูปสมุนไพร
    9. ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
    10. วันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • พบว่ากิจกรรมที่ผ่านมามีปํญหาเล็กน้อยแต่ก็แก้ไขได้ดี
    • ภาพร่วมคนในชุมชนให้ความสนใจมากและสนับสนุนโครงการดีร่วมกิจกรรมทุกครั้งที่มีการกิจกรรม

     

    65 65

    33. กิจกรรมวันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 10.30-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 10.00 น.ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมวันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    • 10.15 น. พิธีเปิดงานวันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ โดยนายวิสุทธิ์สรรพา กำนันตำบลต้นยวน
    • 10.30 น.พักรับทานอาหารว่าง
    • 10.45 น. เสวนาเรื่องสมุนไพรในชุมชนโดยนายนิคมปานสุวรรณปราญสมุนไพรในชุมชน นายเติมเพชรอนันต์และ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุดโดยนายนบภาโสภา นายกองการบริหารส่วนตำบลต้นยวน
    • 12.00 น.ร่วมรับประทานอาหารกลางวันข้าวยำสมุนไพร
    • 13.00 น. ประกาศรายชื่อผู้ได้รับการยกย่อง พร้อมมอบเกรียติ มีดังนี้

      • สุขภาพดีมีส่วนร่วม
      • บ้านสมุนไพร
      • สูงวัยใสใจสุขภาพ
      • เยาวชนรักดี
      • คนกล้า ลด ละ เลิก
    • 14.00 น.ประกวดข้าวยำสมุนไพรรสเด็ด พร้อมรับประทานอาหารว่าง

    • 15.00 น.ปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นายวิสุทธ์สรรพากำนันตำบลต้นยวนกล่าวว่า โครงการสมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด เป็นโครงการที่ดีมาก เป็นโครงการที่สามารถทำประโยชน์ให้กับชุมชนทำให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆที่โครงการจัดขึ้น และชุมชนได้ร่วมกันสร้างพันธุ์สมุนไพรต่างๆเพิ่มมากขึ้น และการนำสมุนไพรม่ดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้
    • นายนบภาโสภากล่าวว่ากิจกรรมวันกินอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพนี้ทำใหชุมชนตระหนักถึงการนำสมุนไพรในชุมชนที่ใช้ในชีวิตประจำวันมาประกอบอาหารและเป็นยารักษาโรคได้ดีโดยเฉพาะข้าวยำสมุนไพรซึ่งใช้ส่วนประกอบของผักสมุนไพรพื้นบ้านมาทำอาหารแม้กระทั่งเครื่องผสม และผักเรื่องเคียง ในข้าวยำสมุนไพรและอาหารอีกหลายชนิดเราจึงควรรักษาพันธุ์สมุนไพรไว้
    • นายสิทธิคงเรืองผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้ใหญ่บ้าน กล่าวว่า ทาง มุ่งเน้นส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยสมุนไพรพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชน นำสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งทางอาหารและทางยา ซึ่งทางอาหาร คือได้กินเข้าสู่ร่างกายทุกวันและทางยาคือเมื่อมีอาการป่วยก็นำมารักษาร่างกายก่อนไปหายาปฎิชีวนะจากโรงพยาบาล จึงจัดกิจกรรมวันกินอาหารสมุนไพรขึ้นและมีการให้ประกาศนียบัตรแก่บุคคลเหล่านี้คือ

    • บ้านสมุนไพร

    1. นายสวัสดิ์ดำสีใหม่
    2. นายเทพนมธรรมเมือง
    3. นายนิคมปานสุวรรณ
    • สุขภาพดีมีส่วนร่วม
    1. นายร่านรอดแก้ว
    2. นายวิโรจน์ด้วงเรือง
    3. นางวาสนาขวัญชุม
    • สูงวัยใสใจสุขภาพ
    1. นายเติมเพชรอนันต์
    2. นายภิญโญชุมสวัสดิ์
    3. นางน้ำเชื่อมใจบุญ

    - เยาวชนรักดี

    1. นางสาวประกายดาวร่มนวน
    2. เด็กชายนครินทร์สงดำ
    3. เด็กชายภานุวัฒน์ปนสุวรรณ
    4. นายอากรแก่นแก้ว
    5. เด็กชายจิระพันธ์สว่างวงค์
    • คนกล้า ลด ละ เลิก
    1. นายสอดทองสุข
    2. นายประเสริฐจบฤทธิ์
    • กรรมการตัดสิน5 ท่าน ดังนี้
    1. ว่าที่ร้อยตรีหญิงดวงพรมณีโชติ ครู โรงเรียนบ้านเขานาใน
    2. นางกชพร ศรประดิษฐ์ ครู โรงเรียนบ้านเขานาใน
    3. นางเสาวณียินเสียงครู โรงเรียนบ้านเขานาใน
    4. นางรพีพรรณจันทร์ศรี เจ้าหน้าที่รพสต.บ้านเขานาใน
    5. นางสาวณัฐดีตันประมวลเจ้าหน้าที่รพสต.บ้านเขานาใน
    • พร้อมทั้งประกวดข้าวยำสมุนไพรรสเด็ดจำนวน 9 ราย มีผู้ได้รับรางวัลดังนี้
    1. นางอำนวย สงดำ ชนะเลิศอันดับที่หนึ่ง
    2. นางนิภาภรณ์ ด้วงเรือง ชนะเลิศอันดับที่สอง
    3. นางยุพิน สำเนียงเหล็ก ชนะเลิศอันดับที่สาม
    4. นางอุบล สุดสะอาด รางวัลชมเชย
    5. นางอารีย์ จบฤทธิ์ รางวัลชมเชย
    6. นางหนูภา กรงไกรจักร รางวัลชมเชย
    7. นางสาวเขียวหวาน คงเรือง รางวัลชมเชย
    8. นางละออง หนู่หยู่ รางวัลชมเชย
    9. นางชุมทอง ดำสีใหม่ รางวัลชมเชย

     

    100 110

    34. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ / ภาพถ่ายโครงการ

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าพบพี่เลี้ยงโครงการที่ ม.อ. สุราษฎร์ธานี เพื่อตรวจสอบรายงาน เอกสารการเงินโครงการ และจัดทำรายงานปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สามารถจัดทำรายงานได้สมบูรณ์
    • รายงานการเงินมีความถูกต้อง เอกสารการเงิน ยังต้องมีการแก้ไขการลงรายมือชื่อในการรับ จ่าย พร้อมแนบเอกสารประกอบให้สมบูรณ์

     

    2 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 พัฒนากลไกขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่
    ตัวชี้วัด : 1. สภาผู้นำชุมชนประชุมทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง 2. มีเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. การประชุมทุกครั้ง มีการหารือเรื่องโครงการ และเรื่องอื่นๆ ของชุมชน
    • สภาผู้นำมีการเข้าร่วมประชุมเดือนละ 1 ครั้ง ทุกเดือน รวม 12 ครั้ง
    • ในการประชุมทุกครั้ง มีสภาผู้นำเข้าร่วมประชุม มากกว่าร้อยละ 90
    • ทุกครั้งในการประชุมจะมีการหารือเรื่องของโครงการและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
    2 เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในบริโภค และการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
    ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายและสภาผู้นำมีความรู้เรื่องสมุนไพรเพิ่มขึ้น และมีการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้เป็นอาหาร ใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น อย่างน้อย 30 ครัวเรือน - กลุ่มเป้าหมายมีการปลูกสมุนไพรเพิ่มขึ้นในครัวเรือน อย่างน้อย 5 ชนิด - เกิดแปลงรวมสมุนไพรเพื่อการเรียนรู้ จำนวน 1 แปลง ที่บ้านเลขที่ 49 บ้านถ้ำผุด ม.11 ตำบลต้นยวนอำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี - เกิดกติกาการดูแล ใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในชุมชน
    • กลุ่มเป้าหมายและสภาผู้นำมีความรู้เรื่องสมุนไพรเพิ่มขึ้น และมีการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้เป็นอาหาร ใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น ผลการปลูกสมุนไพรในชุมชนมากกว่า 30 ครัวเรือน
    • ครัวเรือนปลูกสมุนไพรมากกว่า 5 ชนิด เช่น ขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย ไพล มะกรูด ตะไคร้ ทือ
    • เกิดแปลงรวมสมุนไพรเพื่อการเรียนรู้ จำนวน 1 แปลง ที่บ้านเลขที่ 49 บ้านถ้ำผุด ม.11 ตำบลต้นยวนอำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี
    • เกิดกติกาการดูแล ใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในชุมชน จำนวน 5 ข้อ คือ
    1. ใช้การถางหรือถอนแทนการฉีดยากำจัดวัชพืช
    2. ใช้นำ้จากแหล่งนำ้ที่สะอาด
    3. ลดการใช้ปุ๋ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยคอกแทน
    4. ต้องได้รับการรับรองจาก จีเอพี
    5. เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อถึงเวลาการเก็บเกี่ยว
    3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • มีการเข้าร่วมประชุมทุกครั้งที่มีการจัดอบรมของพี่เลี้ยงโครงการ ของ สจรส. มอ. จำนวน 5 ครั้ง
    • มีการรณรงค์และจัดทำป้ายปลอดบุรี่ และป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย ขนาดใหญ่
    • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานครบทุกกิจกรรม
    • ส่งรายงานตามระยะเวลาที่กำหนดทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากลไกขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ (2) เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในบริโภค และการดูแลสุขภาพเบื้องต้น (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ สมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด

    รหัสโครงการ 58-03905 รหัสสัญญา 58-00-1927 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ความรู้ในการบริหารจัดการโครงการ

    การดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับแผน และบริบทชุมชน

    สามารถพัฒนาโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากแหล่งทุนอื่นๆ ได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดสภาผู้นำชุมชน จำนวน 25 คน

    มีการประชุมสภาผู้นำ แกนนำชุมชน ทุกเดือน เพื่อพูดคุยเรื่องราวต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในชุมชน เป็นการประชุมอย่างมีส่วนร่วม ให้คนในชุมชนได้ออกแบบกิจกรรมร่วม

    ใช้สภาผู้นำในการดำเนินงานพัฒนาในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ศูนย์เรียนรู้สมุนไพรในชุมชน 1 แห่ง

    มีการดำเนินงานจัดทำบ้านครูภูมิปัญญา นางอารีย์ จบฤทธิ์ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เพิ่มป้ายสื่อความหมาย และการบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับสมุนไพร

    พัฒนาแหล่งเรียนรู้สู่การจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น ขยายผลสู่โรงเรียน ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการส่งเสริมให้มีการปลูกและบริโภคสมุนไพรเพิ่มขึ้น

    ศูนย์เรียนรู้สมุนไพร และการเพิ่มจำนวนสมุนไพรในชุมชนกว่า 2000 ต้น

    ส่งเสริมการพัฒนา เพิ่มมูลค่าสมุนไพรในการบริโภค ในการดูแลสุขภาพ ในการเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมรายได้ครัวเรือนอีกทาง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    การรณรงค์ให้พื้นที่ัวัด สถานที่จัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงานโครงการ เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่

    มีการติดป้ายรณรงค์ ให้วัดถ้ำผุด ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพร หรือสถานที่ที่จัดกิจกรรมในชุมชนเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่

    สร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับเด็กและเยาวชนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    การจัดกิจกรรมทางศาสนาร่วมกับกิจกรรมของชุมชน

    ในการดำเนินงานโครงการ บางครั้งใช้วัดเป็นสถานที่จัดกิจกรรม และจัดในวันพระ ทำใ้หมีคนหลากหลายเข้าร่วม และให้วัดเป็นศูนย์รวมคน

    พัฒนาวัดเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านต่างๆ ได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการสมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นลูกประคบ ยาหม่อง เพื่อให้คนในชุมชนใช้ในการดูและสุขภาพ ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ดูแลผิวภัณฑ์ เช่น สบู่สมุนไพร ผงถ่าน ผงขมิ้นขัดหน้า

    ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ได้ได้รับมาตรฐานการผลิต (มผช.)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรโดยลดใช้สารเคมี

    กติกาชุมชนในเรื่องการถางป่า ตัดหญ้า แทนการใช้สารเคมี

    ส่งเสริมเรื่องเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัยในเรื่องอื่นๆ ด้วย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน

    มีพื้นที่เรียนรู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน ที่บ้านนางอารีย์ จบฤทธิ์ เพื่อให้คนในชุมชนเรียนรู้ด้านสมุนไพรในการดูแล

    ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอื่นๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรแบบปลอดภัยเพื่อการบริโภคและแปรรูป

    มีการปลูกสมุนไพรในชุมชนเพิ่มขึ้นกว่า 2000 ต้น จำนวน 5 ชนิด

    ส่งเสริมการแปรรูป เพิ่มมูลค่าสมุนไพร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ส่งเสริมการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ

    มีการนำสมุนไพรมาแปรรูปเป็นลูกประคบเพื่อดูแลสุขภาพ

    ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพด้านอื่นๆ โดยเน้นสมุนไพรที่มีในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดกติกาชุมชน 5 ข้อ

    1. ใช้การถางหรือถอนแทนการฉีดยากำจัดวัชพืช
    2. ใช้นำ้จากแหล่งนำ้ที่สะอาด
    3. ลดการใช้ปุ๋ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยคอกแทน
    4. ต้องได้รับการรับรองจาก จีเอพี
    5. เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อถึงเวลาการเก็บเกี่ยว

    ดูแลการใช้กติกาชุมชนให้ครอบคลุมทั้งชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชน

    การเข้าร่วมเป็น 20 ชุมชน ที่ดำเนินงานเกี่ยวกับ cutter สมุนไพร ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

    เข้าร่วมกิจกรรมของเครือข่ายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อพัฒนา ต่อยอดผลิตภัณฑ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    มีการเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน ทำงานแบบมีส่วนร่วม

    ใช้เวทีประชุมสภาผู้นำชุมชนในการประเมินปัญหาเพื่อจัดทำโครงการ มีการวางแผนการดำเนินงานโครงการรายกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน มีการปฏิบัติการตามแผน และประเมินผลโดยการใช้วงพูดคุย เวทีประชุมสภาผู้นำ

    ส่งเสริมให้สภาผู้นำดำเนินกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน คือ สมุนไพรที่มี และครูภูมิปัญญา

    นำความรู้จากครูภูมิปัญญา และสมุนไพรที่มีในชุมชน มาส่งเสริม อบรม พัฒนาการแปรรูปให้คนในชุมชนนำไปใช้ต่อ

    พัฒนาคุณภาพสมุนไพร และผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการขับเคลื่อนงานของสภาผู้นำ กลุ่มสมุนไพร อย่างสม่ำเสมอ

    มีการประชุมสภาผู้นำ แกนนำชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง

    ใช้กลไกสภาผู้นำในการขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ใช้กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม

    ใช้วงประชุม วางแผน ออกแบบ สรุปกิจกรรมทุกครั้งที่มีการทำงาน

    ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วมในทุกระบวนการพัฒนาชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    เกิดทักษะในการจัดการโครงการ

    มีการตัดสินใจดำเนินงานโครงการโดยใช้ข้อมูลทุน ศักยภาพ ใช้สถานการณ์ชุมชน และใช้แผนปฏิบัติการในการทำงาน

    ส่งเสริมการจัดทำแผนปฏิบัติการ แผนพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการทำงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    มีการจัดทำข้อมูลเผยแพร่การทำงานของกลุ่มให้เครือข่ายทราบ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล โดยมีการทำงานแบบมีส่วนร่วม

    มีการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการทำงาน

    ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการทำงานของชุมชนทุกระดับ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    มีการส่งเสริมให้ปลูกพืชสมุนไพร ผักบริโภคเองในชุมชน

    มีการปลูกผัก ปลูกสมุนไพรเพิ่มในชุมชนกว่า 2000 ต้น

    ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัย บริโภคเองในชุมชนเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ชุมชนมีความรัก ความเอื้ออาทร ความสามัคคี

    มีการแบ่งปันสมุนไพรที่นำมาปลูก ใช้การแจกจ่าย แลกเปลี่ยนกันในชุมชน

    ฟื้นวิถี แลกเปลี่ยน แบ่งปันในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    มีการประชุม ระดมสมองในการทำงาน โดยกลไกสภาผู้นำ

    มีการประชุมเตรียมความพร้อม วางแผนการทำงาน และรายงานผลการทำงานผ่านเวทีประชุม

    พัฒนาศักยภาพ สร้างความเข้มแข็งให้สภาผู้นำ เพื่อเคลื่อนงานพัฒนาในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    สมุนไพรสร้างสุขบ้านถ้ำผุด จังหวัด สุราษฎร์ธานี

    รหัสโครงการ 58-03905

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย สิทธิ คงเรือง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด