แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 58-03895
สัญญาเลขที่ 58-00-1886

ชื่อโครงการ เกษตรอินทรีย์สร้างรายได้บ้านในหัน
รหัสโครงการ 58-03895 สัญญาเลขที่ 58-00-1886
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายศุภกิจ กลับช่วย
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 16 กุมภาพันธ์ 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 สิงหาคม 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายประจวบ ไหมนุ้ย 59/1 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 0870183634
2 นายนัฐพงษ์ พรหมจรรย์ 70/1 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 087-8986827

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้คนในชุมชนทำเกษตรอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี

1.ครัวเรือนในชุมชนใช้สารอินทรีย์แทนสารเคมี 60 ครัวเรือน
2.มีครัวเรือนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ 30 ครัวเรือน
3.เกิดกลุ่มการทำการเกษตรแบบอินทรีย์ ในชุมชน 1 กลุ่ม

2.

เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหาร่วมกัน

  1. คนในชุมชนเข้าใจและเข้าร่วมโครงการ 60 ครัวเรือน
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการใช้การเกษตรแบบชีวภาพแทนการใช้สารเคมีอย่างน้อย 60 ครัวเรือน

3.

เพื่อให้คนในชุมชนใช้สารอินทรีย์และชีวภาพในการทำการเกษตร

  1. ทำปุ๋ยหมักปุ๋ยชีวภาพจำนวน 60 ครัวเรือน
  2. มีแปลงสาธิตการปลูกผักชุมชน 1 แปลง

4.

เพื่อให้เกิดสภาผู้นำในชุมชนที่สามารถขับเคลื่อนชุมชนสู่ชุมชนที่เข้มแข็งได้

1.เกิดสภาผู้นำที่สามารถแก้ไขปัญหาชุมชนได้ 1 กลุ่มมีสมาชิกอย่างน้อย 20 คน ร่วมติดตาม ประเมินผล และร่วมพัฒนากิจกรรมในโครงการอย่างต่อเนื่อง

5.

เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนและทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง

1.ครัวเรือนในชุมชนสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้องร้อยละ 80
2.มีแผนปฏิบัติการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ของครัวเรือน
3.มีการรวมกลุ่มทำน้ำยาอเนกประสงค์ จำนวน 50 ครัวเรือน

6.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสารเคมีเพื่อการเกษตรi

5,500.00 100 ผลผลิต

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจาก รพ.สต.ชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์พัฒนาได้มาร่วมดำเินการเจาะเลือดหาสารตกข้างของผู้เข้าร่วมโครงการ มีอสม.จำนวน 4 คน มาเป็นผู้ช่วยการปฎิบัติงานครั้งนี้ โดยมีเข้าร่วม วัยเรียน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ รวมทั้งหมด 88 คน ทางเจ้าหน้าที่ของโรงพยายาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้มีการนัดฟังผลจากการตรวจหาสารพิษในเลือดในอาทิต์ถัดไป


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในชุมชนได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดได้มีผู้เข้าร่วมมตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดจำนวน 88 คน ได้มี วัยเรียน วัยทำงาน และผู้สูงอายุ และคนในชุมชนมีความตระหนักและให้ค่วามร่วมือในการจัดกิจกรรมในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • เด็กวัยเรียน 20 คน

  • วัยทำงาน 33 คน

  • ผู้สูงอายุ 35 คน
5,500.00 5,500.00 100 88 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในชุมชนได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดได้มีผู้เข้าร่วมมตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดจำนวน 88 คน ได้มี วัยเรียน วัยทำงาน และผู้สูงอายุ และคนในชุมชนมีความตระหนักและให้ค่วามร่วมือในการจัดกิจกรรมในชุมชน

กิจกรรมหลัก : ร่วมเรียนรู้และฝึกปฏิบัติทำปุ๋ยชีวภาพ น้ำหมักไล่แมลงi

12,300.00 70 ผลผลิต

คนในชุมชนร่วมเรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพ ยาไล่แมลงและการทำปุ๋ยหมัก โดยปราชญ์ในุชุมชนคือ นายเหียบคงพัน ซึ่งเป็นเกษตรอาสาและมีความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ น้ำยาไล่แมลงร่วมไปถึงการทำปุ๋ยหมักการทำปุ๋ยหมักนั้น 1.ต้องมีความชอบที่จะทำ และเห็นประโยชน์ 2.มีวัสดุที่เหลือใช้ไม่ว่าจะเป็นวัชพืช ซึ่งอยู่ในสวนไร่นา วิธีการทำปุ๋ยหมัก 1.เตรียมเศษวัชพืชที่ต้องการใช้ไว้จำนวนหนึ่ง 2.เตรียมมูลสัตว์ไว้ 3.สารเร่ง พงด. 24 คอก เพื่อเก็บวัชพืชและผ้าคลุมวิธีการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ 1.เตรียมเศษพืชผลไม้ที่ไม่ได้ใช้แล้ว 2.เศษเนื้อสัตว์หรือขี้ปลาที่ไม่ได้ใช้แล้ว 3.กากน้ำตาล 4.สารเร่ง พงด.7แล้วนำมาหมักรวมกันในถังที่มีฝาปิด วิธีการทำน้ำยาไล่แมลง 1.นำเศษพืชที่มีรสขม เช่น สะเดา ขี้เหล็ก ฟ้าทลายโจร ฯลฯ 2.นำพืชหรือเศษพืชที่มีรสเมาเช่นยาเส้น ก้านใบลำต้น 3.ต้นพืช ต้นของพืชที่มีฤทธิ์ทำให้ถูกตัวตาย เช่น หัวหนอนตายยาก โดยนำมาหมักร่วมกัน แล้วนำเอาน้ำ ไปฉีดพ้นแมลง สิ่งเหล่านี้เป็นของธรรมชาติ ไม่ต้องใช้สารเคมีเข้ามา ใช้ในการปลูกพืช เราก็สามารถมีพืชที่ปราศจากสารเคมีและพิษต่าง ๆ ซึ่งเป็นบ่อเกิดโรคตามมา และสุขภาพที่ไม่ดี ซึ่งจะได้เห็นจากการปฏิบัติจริงอีกครั้งหนึ่ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ครัวเรือนที่เข้าร่วมได้รับการเรียนรู้ จำนวน 60 ครัวเรือน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงวิธีการทำ ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ยาไล่แมลง ครัวเรือนจำนวน 60 ครัวเรือน ได้ใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ที่ทำขึ้นไว้ใช้เอง โดยไม่ต้องซื้อ และได้กินผักปลอดสารเคมีอีกด้วย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คนทำงาน 69 คน

12,300.00 12,300.00 70 69 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครัวเรือนที่เข้าร่วมได้รับการเรียนรู้ จำนวน 69 ครัวเรือน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงวิธีการทำ ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ยาไล่แมลง ครัวเรือนจำนวน 69 ครัวเรือน ได้ใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ที่ทำขึ้นไว้ใช้เอง โดยไม่ต้องซื้อ และได้กินผักปลอดสารเคมีอีกด้วย

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้ปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษi

14,900.00 60 ผลผลิต

เจ้าหน้าที่เกษตรตำบลชี้แจงแนะนำให้ชาวบ้านผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบถึงขั้นตอนและวิธีการปลูกผักโดยไม่ไช้ปุ๋ยเคมี ใช้ปุ๋ยหมักมูลสัตว์แทน ได้สาธิตและแนะนำวิธีการปลูกพืชปลูกผักในครัวเรือนหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีเพื่อใช้ไว้กินเองภายในครัวเรือน มีผักบุ้ง คะน้ำ ถั่ว และพืชอื่น ๆ ที่สามารถหาปลูกได้ในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้ร่วมโครงการ 39 คนได้รับการเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 30 คน

  • ผู้สูงอายุ 9 คน

14,900.00 14,900.00 60 39 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้ร่วมโครงการ 39 คนได้รับการเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน

  • สมาชิกครอบครัว 39 ครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการ ลดรายจ่ายในครัวเรือน และมีรายได้เพิ่มขึ้น

กิจกรรมหลัก : ลงแขกเตรียมพื่นที่และปลูกแปลงสาธิตการปลูกผักชุมชนi

9,200.00 60 ผลผลิต

คนในชุมชนร่วมกันลงแขกทำแปลงสาธิตมีจำนวน 2 จุด ชุมชน 1 จุดและโรงเรียนอีก 1 จุด จัดเตรียมสถานที่ไว้เพื่อในการปลูกและเรียนรู้วิธีการปลูกผักอย่างไรให้ปลอดสารเคมี ส่วนชุมชนนั้นได้มีครัวเรือนหลายครัวเรือนที่เป็นจุดในการเรียนรู้ เรื่องการปลูกผักที่ใช้สารอินทรีย์และไม่นำสารเคมีมาใช้ ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นแหล่งอาหารของชุมชนและครัวเรือน นอกจากนั้นแล้วยังสามารถไปขายเพื่อเป็นรายได้ให้ครอบครัวในส่วนที่เหลือกินเหลือใช้


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีครัวเรือนไม่น้อยกว่า 50 ครัวเรือนที่รู้จักการปลูกผักกินเอง และมีความรู้ในเรื่องการใช้สารอินทรีย์ไม่ว่าเป้นปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำชีวภาพ น้ำยาไล่แมลงแบบชีวภาพ โดยไม่หันมาใช้สารเคมี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้สูงอายุ คนทำงาน และเด็ก

9,200.00 9,200.00 60 61 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีครัวเรือนไม่น้อยกว่า 50 ครัวเรือนที่ร่วมเรียนรู้การจัดทำแปลงสาธิต และมีความรู้ในเรื่องการใช้สารอินทรีย์ไม่ว่าเป้นปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำชีวภาพ น้ำยาไล่แมลงแบบชีวภาพ โดยไม่หันมาใช้สารเคมี

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้และปฏิบัติการทำน้ำยาเอนกประสงค์i

10,200.00 60 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน ได้เรียนรู้การทำน้ำหมักอเนกประสงค์เพื่อใช้เองในครอบครัวและเป็นการลดจ่าย โดยปราญ์ในชุมชนมาพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องนำยาอเนกประสงค์ การทำน้ำยาอเนกประสงค์ ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ 1.ใช้หลักธรรมชาติ และแบบที่ 2 ใช้หัวน้ำยาอเนกประสงค์มาละลายใส่ถังแล้วกวนให้เข้ากัน ได้น้ำยาที่ทำขึ้นมีคุณภาพที่ลดค่าใช้จ่ายของคนในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนได้เรียนรู้การทำน้ำยาอเนกประสงค์และปฏิบัติจริง มีน้ำยาอเนกประสงค์ได้ไว้ใช้จำนวน 58 คน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 50 คน

  • ผู้สูงอายุ 8 คน

10,200.00 9,780.00 60 58 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนได้เรียนรู้การทำน้ำยาอเนกประสงค์และปฏิบัติจริง มีน้ำยาอเนกประสงค์ได้ไว้ใช้จำนวน 58 คน 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีการแบ่งบทบาทหน้าที่การช่วยเหลือกันในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ทีมงานมีความสามารถดำเนินการได้ดี

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

มีดำเนินกิจกรรมสำเร็จตามเป้าหมาย

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

ทีมงานสามารถบริหารจัดการได้การเบิกจ่ายเงินมีเจ้าหน้าที่การเงินเป็นผู้ดูแล

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายงบประมาณถูกต้อง

2.3 หลักฐานการเงิน

มีเอกสารหลักฐานการใช้จ่ายเงินครบ เอกสารหลักฐานทางการเงินถูกต้อง

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

มีการดำเนินโครงการตามกิจกรรมของโครงการแต่ปรับเปลี่ยนระยะเวลาดำเนินตามความเหมาะสมของพื้นที่ มีคณะกรรมการโครงการ คนในชุมชนให้ร่วมมือดำเนินกิจกรรมตามโครงการ มีการเตรียมการและวางแผนจัดการโครงการ การมีจัดทำเอกสาร ทะเบียน บันทึกค่าใช้จ่ายในการทำกิจกรรม

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

มีการดำเนินโครงการตามกิจกรรมของโครงการแต่ปรับเปลี่ยนระยะเวลาดำเนินตามความเหมาะสมของพื้นที่ มีคณะกรรมการโครงการ คนในชุมชนให้ร่วมมือดำเนินกิจกรรมตามโครงการ มีการเตรียมการและวางแผนจัดการโครงการ การมีจัดทำเอกสาร ทะเบียน บันทึกค่าใช้จ่ายในการทำกิจกรรม

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong