แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 58-03895
สัญญาเลขที่ 58-00-1886

ชื่อโครงการ เกษตรอินทรีย์สร้างรายได้บ้านในหัน
รหัสโครงการ 58-03895 สัญญาเลขที่ 58-00-1886
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายศุภกิจ กลับช่วย
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 สิงหาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 ตุลาคม 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายประจวบ ไหมนุ้ย 59/1 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 0870183634
2 นายนัฐพงษ์ พรหมจรรย์ 70/1 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 087-8986827
3 นางมลทิพย์สิทธิสังข์ 162/5ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 0923546792

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้คนในชุมชนทำเกษตรอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี

1.ครัวเรือนในชุมชนใช้สารอินทรีย์แทนสารเคมี 60 ครัวเรือน
2.มีครัวเรือนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ 30 ครัวเรือน
3.เกิดกลุ่มการทำการเกษตรแบบอินทรีย์ ในชุมชน 1 กลุ่ม

2.

เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหาร่วมกัน

  1. คนในชุมชนเข้าใจและเข้าร่วมโครงการ 60 ครัวเรือน
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการใช้การเกษตรแบบชีวภาพแทนการใช้สารเคมีอย่างน้อย 60 ครัวเรือน

3.

เพื่อให้คนในชุมชนใช้สารอินทรีย์และชีวภาพในการทำการเกษตร

  1. ทำปุ๋ยหมักปุ๋ยชีวภาพจำนวน 60 ครัวเรือน
  2. มีแปลงสาธิตการปลูกผักชุมชน 1 แปลง

4.

เพื่อให้เกิดสภาผู้นำในชุมชนที่สามารถขับเคลื่อนชุมชนสู่ชุมชนที่เข้มแข็งได้

1.เกิดสภาผู้นำที่สามารถแก้ไขปัญหาชุมชนได้ 1 กลุ่มมีสมาชิกอย่างน้อย 20 คน ร่วมติดตาม ประเมินผล และร่วมพัฒนากิจกรรมในโครงการอย่างต่อเนื่อง

5.

เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนและทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง

1.ครัวเรือนในชุมชนสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้องร้อยละ 80
2.มีแผนปฏิบัติการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ของครัวเรือน
3.มีการรวมกลุ่มทำน้ำยาอเนกประสงค์ จำนวน 50 ครัวเรือน

6.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : วิเคราะห์บัญชีครัวเรือนนำไปปฏิบัติi

9,600.00 80 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 70 คน ร่วมกันนำข้อมูลที่ได้จากการบันทึกบัญชีครัวเรือนเพื่อนำมาแลกเปลี่ยน ผลที่ได้จากการบันทึกบัญชีครัวเรือนทำเป็นแนวทางการไปปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรคในการจัดทำบัญชีพบว่าปัญหาของการทำสมุดบัญชีครัวเรือน มีปัญหาอะไรบ้าง ซึ่งครัวเรือนที่ทำบัญชีครัวเรือนเสนอมา ปัญหาตัวหนังสือเล็กไป ไม่สามารถมองเห็น ชาวบ้านไม่สามารถแยกแยะว่าเป็นรายจ่ายหรือรายรับ ชาวบ้านไม่ได้บันทึกทุกๆวัน เลยเกิดปัญหาการลืมของวันก่อน ทำให้ขาดการบันทึกไม่ครบถ้วน ปัญหาสุดท้ายถือว่าเป็นการยุ่งยาก ของการบันทึกสำหรับครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุ ไม่มีเด็กช่วยบันทึก และมีการสรุปผลการปฏิบัติลดค่าใช้จ่ายเพิ่มการออม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีจำนวนครัวเรือนที่บันทึกสมุดบัญชีครัวเรือน 45 ครัวเรือน ที่เสร็จสมบูรณ์ มีอีก 22 ครัวเรือน ที่มีปัญหาในการบันทึกและแก้ไข มีจำนวนครัวเรือนไม่น้อยกว่า 60 ครัวเรือนที่อยากบันทึกแต่มีอุปสรรคสายตากับอายุที่มาก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 50 คน

  • ผู้สูงอายุ 20 คน

9,600.00 9,600.00 80 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีจำนวนครัวเรือนที่บันทึกสมุดบัญชีครัวเรือน 45 ครัวเรือน ที่เสร็จสมบูรณ์ มีอีก 22 ครัวเรือน ที่มีปัญหาในการบันทึกและแก้ไข มีจำนวนครัวเรือนไม่น้อยกว่า 60 ครัวเรือนที่อยากบันทึกแต่มีอุปสรรคสายตากับอายุที่มาก

กิจกรรมหลัก : ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสารเคมีเพื่อการเกษตรi

5,500.00 100 ผลผลิต

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจาก รพ.สต.ชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์พัฒนาได้มาร่วมดำเินการเจาะเลือดหาสารตกข้างของผู้เข้าร่วมโครงการ มีอสม.จำนวน 4 คน มาเป็นผู้ช่วยการปฎิบัติงานครั้งนี้ โดยมีเข้าร่วม วัยเรียน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ รวมทั้งหมด 88 คน ทางเจ้าหน้าที่ของโรงพยายาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้มีการนัดฟังผลจากการตรวจหาสารพิษในเลือดในอาทิต์ถัดไป


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในชุมชนได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดได้มีผู้เข้าร่วมมตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดจำนวน 88 คน ได้มี วัยเรียน วัยทำงาน และผู้สูงอายุ และคนในชุมชนมีความตระหนักและให้ค่วามร่วมือในการจัดกิจกรรมในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • เด็กวัยเรียน 20 คน

  • วัยทำงาน 33 คน

  • ผู้สูงอายุ 35 คน
5,500.00 5,500.00 100 88 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในชุมชนได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดได้มีผู้เข้าร่วมมตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดจำนวน 88 คน ได้มี วัยเรียน วัยทำงาน และผู้สูงอายุ และคนในชุมชนมีความตระหนักและให้ค่วามร่วมือในการจัดกิจกรรมในชุมชน

กิจกรรมหลัก : ร่วมเรียนรู้และฝึกปฏิบัติทำปุ๋ยชีวภาพ น้ำหมักไล่แมลงi

12,300.00 70 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 69 คน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพ ยาไล่แมลงและการทำปุ๋ยหมัก โดยปราชญ์และเกษตรในชุมชนได้ร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ โดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในชุมชนนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่นมีวัสดุที่เหลือใช้ไม่ว่าจะเป็นวัชพืช ซึ่งอยู่ในสวนไร่นา มูลสัตว์ เศษพืชผลไม้ที่ไม่ได้ใช้แล้ว เศษเนื้อสัตว์หรือขี้ปลาที่ไม่ได้ใช้แล้ว นำมาฝึกปฏิบัติทำปุ๋ยชีวภาพ น้ำหมักไล่แมลงโดยความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ครัวเรือนที่เข้าร่วมได้รับการเรียนรู้ จำนวน 69 ครัวเรือน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงวิธีการทำ ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ยาไล่แมลง ครัวเรือนจำนวน 69 ครัวเรือน ได้ใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ที่ทำขึ้นไว้ใช้เอง โดยไม่ต้องซื้อ และได้กินผักปลอดสารเคมีอีกด้วย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คนทำงาน 69 คน

12,300.00 12,300.00 70 69 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครัวเรือนที่เข้าร่วมได้รับการเรียนรู้ จำนวน 69 ครัวเรือน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงวิธีการทำ ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ยาไล่แมลง ครัวเรือนจำนวน 69 ครัวเรือน ได้ใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ที่ทำขึ้นไว้ใช้เอง โดยไม่ต้องซื้อ และได้กินผักปลอดสารเคมีอีกด้วย

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้ปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษi

14,900.00 60 ผลผลิต

เจ้าหน้าที่เกษตรตำบลชี้แจงแนะนำให้ชาวบ้านผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบถึงขั้นตอนและวิธีการปลูกผักโดยไม่ไช้ปุ๋ยเคมี ใช้ปุ๋ยหมักมูลสัตว์แทน ได้สาธิตและแนะนำวิธีการปลูกพืชปลูกผักในครัวเรือนหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีเพื่อใช้ไว้กินเองภายในครัวเรือน มีผักบุ้ง คะน้ำ ถั่ว และพืชอื่น ๆ ที่สามารถหาปลูกได้ในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้ร่วมโครงการ 39 คนได้รับการเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 30 คน

  • ผู้สูงอายุ 9 คน

14,900.00 14,900.00 60 39 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้ร่วมโครงการ 39 คนได้รับการเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน

  • สมาชิกครอบครัว 39 ครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการ ลดรายจ่ายในครัวเรือน และมีรายได้เพิ่มขึ้น

กิจกรรมหลัก : ลงแขกเตรียมพื่นที่และปลูกแปลงสาธิตการปลูกผักชุมชนi

9,200.00 60 ผลผลิต

คนในชุมชนร่วมกันลงแขกทำแปลงสาธิตมีจำนวน 2 จุด ชุมชน 1 จุดและโรงเรียนอีก 1 จุด จัดเตรียมสถานที่ไว้เพื่อในการปลูกและเรียนรู้วิธีการปลูกผักอย่างไรให้ปลอดสารเคมี ส่วนชุมชนนั้นได้มีครัวเรือนหลายครัวเรือนที่เป็นจุดในการเรียนรู้ เรื่องการปลูกผักที่ใช้สารอินทรีย์และไม่นำสารเคมีมาใช้ ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นแหล่งอาหารของชุมชนและครัวเรือน นอกจากนั้นแล้วยังสามารถไปขายเพื่อเป็นรายได้ให้ครอบครัวในส่วนที่เหลือกินเหลือใช้


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีครัวเรือนไม่น้อยกว่า 50 ครัวเรือนที่รู้จักการปลูกผักกินเอง และมีความรู้ในเรื่องการใช้สารอินทรีย์ไม่ว่าเป้นปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำชีวภาพ น้ำยาไล่แมลงแบบชีวภาพ โดยไม่หันมาใช้สารเคมี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้สูงอายุ คนทำงาน และเด็ก

9,200.00 9,200.00 60 61 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีครัวเรือนไม่น้อยกว่า 50 ครัวเรือนที่ร่วมเรียนรู้การจัดทำแปลงสาธิต และมีความรู้ในเรื่องการใช้สารอินทรีย์ไม่ว่าเป้นปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำชีวภาพ น้ำยาไล่แมลงแบบชีวภาพ โดยไม่หันมาใช้สารเคมี

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้และปฏิบัติการทำน้ำยาเอนกประสงค์i

10,200.00 60 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 58 คน ได้เรียนรู้การทำน้ำหมักอเนกประสงค์เพื่อใช้เองในครอบครัวและเป็นการลดจ่าย โดยปราญ์ในชุมชนมาพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องนำยาอเนกประสงค์ การทำน้ำยาอเนกประสงค์ ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ 1.ใช้หลักธรรมชาติ และแบบที่ 2 ใช้หัวน้ำยาอเนกประสงค์มาละลายใส่ถังแล้วกวนให้เข้ากัน ได้น้ำยาที่ทำขึ้นมีคุณภาพที่ลดค่าใช้จ่ายของคนในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนได้เรียนรู้การทำน้ำยาอเนกประสงค์และปฏิบัติจริง มีน้ำยาอเนกประสงค์ได้ไว้ใช้จำนวน 58 คน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 50 คน

  • ผู้สูงอายุ 8 คน

10,200.00 9,780.00 60 58 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนได้เรียนรู้การทำน้ำยาอเนกประสงค์และปฏิบัติจริง มีน้ำยาอเนกประสงค์ได้ไว้ใช้จำนวน 58 คน 

กิจกรรมหลัก : ติดตามผลตามบ้านi

7,200.00 60 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 51 คนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการติดตามครัวเรือนที่ได้ทำการปลูกผักมีจำนวนครัวเรือนที่เพิ่มขึ้นจากเดิม ประมาณ 30 ครัวเรือน เป็น 60 ครัวเรือนที่รู้จักการหลีกเลี่ยงการปลูกพืชที่ไม่ใช้สารเคมี ซึ่งก่อประโยชน์ให้กับบุคคลในครัวเรือนซึ่งผลจากการเจาะหาสารเคมีในเลือดเป็นครั้งที่ 2


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

1.มีจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักกินเองจาก 30 ครัวเรือน ขยายเพิ่มเป็น 60 ครัวเรือน และยังมีครัวเรือนที่สนใจและอยากเข้าโครงการ
2.ได้ทราบถึงปริมาณ สารเคมีในเลือดลดลงเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 20% ซึ่งทราบผลจากตารางตรวจเลือด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ครัวเรือนที่เป็นสมาชิกเศรษฐกิจพอเพียง 51 ครัวเรือน

7,200.00 7,200.00 60 51 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักกินเองจาก 30 ครัวเรือน ขยายเพิ่มเป็น 60 ครัวเรือน และยังมีครัวเรือนที่สนใจและอยากเข้าโครงการ

  • ได้ทราบถึงปริมาณ สารเคมีในเลือดลดลงเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 20% ซึ่งทราบผลจากตารางตรวจเลือด

กิจกรรมหลัก : ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสารเคมีเพื่อการเกษตรi

5,500.00 0 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมในการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างจำนวน 70 คน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับ อสม. ดำเนินการให้ความรู้เรื่องการสารเคมีตกค้างในเลือด การดูแลสุขภาพ การป้องกัน พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ของคนในชุมชน และเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่พร้อมทั้งเก็บเลือดไปตรวจและจะมีการแจ้งสรุปผลการตรวจในครั้งต่อไป


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

1.ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับการประเมินตรวจหาสารเคมีตกค้าง คร้ังที่ 2
2.ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงโทษและประโยชน์ของอาหารที่บริโภคสามารถเลือกซื้ออาหารได้ดีขึ้นใส่ใจเป็นห่วงสุขภาพคนในครอบครัวมากขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 60 คน

  • ผู้สูงอายุ 10 คน

5,500.00 5,500.00 100 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับการประเมินตรวจหาสารเคมีตกค้าง คร้ังที่ 2
2.ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงโทษและประโยชน์ของอาหารที่บริโภคสามารถเลือกซื้ออาหารได้ดีขึ้นใส่ใจเป็นห่วงสุขภาพคนในครอบครัวมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : มหกรรมเกษตรอินทรีย์ของดีชุมชนi

22,000.00 150 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 130 คนได้ร่วมงานมหกรรมเกษตรอินทรีย์ของดีชุมชน โดยมีตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการได้นำเอาผลผลิตจากการปลูกผัก จากการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมัก การทำน้ำยาอเนกประสงค์ มาแสดงให้ผู้สนใจและคนที่มาร่วมกิจกรรมได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีการแสดงของนักเรียนโรงเรียนบ้านสะพานหัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ มีการบรรยายสรุปผลงานการเข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์รายงานผลสำรวจการเจาะหาสารเคมีในเลือด นอกจากนี้ยังได้มีการเรียนรู้วิธีการลดรายจ่ายในครอบครัวลงโดยการทำสมุดบัญชีครัวเรือน ปลูกพืชที่กิน ลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น สร้างความสนใจ ความร่วมไม้ร่วมมือของคนในชุมชนในการจัดกิจกรรมร่วมกัน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสนใจ ร่วมไม้ร่วมมือในการจัดกิจกรรม สร้างความกลมเกลียงสมัครสมานสามัคคีของคนในชุมชนเด็กเยาวชนในชุมชนได้มีส่วมร่วมในชุมชน เกิดครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 60 ครัวเรือน ได้กินผักที่ปลอดสารเคมี นอกจากนี้ยังมีครัวขยายอีกหลาย ๆ ครัวเรือน และคาดหวังว่าทุกครัวในหมู่ที่ 4 บ้านในหันจะเป็นครัวเรือนที่มีสุขภาพดีและปลอดสารเคมี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

วัยเรียน วัยทำงาน และผู้สูงอายุ

22,000.00 22,000.00 150 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 60 ครัวเรือน ได้กินผักที่ปลอดสารเคมี นอกจากนี้ยังมีครัวขยายอีกหลาย ๆ ครัวเรือน และคาดหวังว่าทุกครัวในหมู่ที่ 4 บ้านในหันจะเป็นครัวเรือนที่มีสุขภาพดีและปลอดสารเคมี

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีประชาสัมพันธ์ยื่นข้อเสนอในชุมชนขยายให้ดำเนินการต่อเนื่องi

7,200.00 60 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 55 คน โดยผู้ใหญ่บ้านได้ร่วมกันจัดเวทีประชาสัมพันธ์เพื่อสรุปผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา ได้สอบถามถึงกิจกรรมที่ผ่านมา และได้เข้าร่วมมหกรรมของดีบ้านในหัน และเพื่อส่งต่อกิจกรรมดี ๆ สู่ครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชนให้ร่วมดำเนินกิจกรรมตามโครงการอย่างต่อเนื่องและขยายในครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สมาชิกในชุมชนมีความสนใจและเห็นความสำคัญของการดำเนินโครงการของหมู่บ้านพร้อมจะร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้สูงอายุ 10 คน

  • วัยทำงาน 45 คน

7,200.00 7,200.00 60 55 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  จำนวนครัวเกษตรอินทรีย์ มีจำนวนมากขึ้น 55ครัวเรือน และครัวที่จะเข้าร่วม กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงจะต้องมีการทำสมุดบัญชีครัวเรือน และเกิดครัวตัวอย่าง 30 ครัวเรือน ในการรู้จักปลูกพืชและรู้จักซื้ออาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ

กิจกรรมหลัก : ถอดบทเรียนi

10,100.00 80 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 81 คน โดยมีได้มีการแลกเปลี่ยนนำผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการที่ผ่านมาสรุปผลที่ได้จากการจัดทำเรื่องบัญชีครัวเรือน การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักไล่แมลง น้ำยาอเนกประสงค์ การปลูกผักปลอดสารพิษ การเจาะหาสารเคมีในเลือด การติดตามเยี่ยมบ้าน ตลอดจนการจัดกิจกรรมมหกรรมเกษตรอินทรีย์ของดีชุมชน เพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลเป็นเนื้อหาของชุมชนเพื่อถ่ายทอดและร่วมเรียนรู้ต่อไป


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในชุมชนมีการเรียนรู้การนำความรู้ที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมของชุมชนมาสรุปเป็นข้อมูลบทเรียน ข้อมูลการเรียนรู้ของชุมชน เกิดการทำงานเป็นกลุ่ม โดยมีกติกาและระเบียบของกลุ่มยึดแนวทางในการปฏิบัติ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 50คน

  • ผู้สูงอายุ 11คน

  • เด็ก 20คน

10,100.00 10,100.00 80 81 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการทำงานเป้นกลุ่ม จำนวน 4 กลุ่ม โดยมีกติกาและระเบียบของกลุ่ม ยึดแนวทางในการปฏิบัติ และการอยู่ร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 170 ครัวเรือน ได้ครอบครัวตัวอย่างแบบเกษตรอินทรีย์ ได้รู้ว่าชุมชนมีของดีที่จะให้ชุมชนอื่นได้รู้จัก

กิจกรรมหลัก : สรุปปิดโครงการi

2,900.00 20 ผลผลิต

ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 23 คนได้ร่วมกันสรุปผลการดำเนินโครงการจากการดำเนินกิจกรรม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สรุปผลการดำเนินโครงการจากการดำเนินกิจกรรม การทำบัญชีครัวเรือน การตรวจหาสารเคมีในเลือด การรู้จักความเป้นมาของชุมชน การทำน้ำหมัก/ไล่แมลงแบบชีวภาพ การปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี มีแหล่งเรียนรู้ถึงการปลูกผักแบบหยั่งชีพ และเหลือจำหน่าย มีจำนวนครัวเรือนที่พัฒนาสุขภาพและความเป็นอยู่ 60 ครัวเรือน จากการเข้าร่วมโครงการเกิดกติกาสังคมที่ใช้ในการปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันแบบหมู่และกลุ่มก้อน และมีครัวขยายอีก 20 ครัวเรือนที่สนใจอยากเข้าร่วมในการพัฒนาสุขภาพและครอบครัวเพื่อความเป็นสุขที่ยั่งยืน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

วัยทำงาน 23 คน

2,900.00 2,900.00 20 23 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 23 คนได้ร่วมกันสรุปผลการดำเนินโครงการจากการดำเนินกิจกรรม การทำบัญชีครัวเรือน การตรวจหาสารเคมีในเลือด การรู้จักความเป้นมาของชุมชน การทำน้ำหมัก/ไล่แมลงแบบชีวภาพ การปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี มีแหล่งเรียนรู้ถึงการปลูกผักแบบหยั่งชีพ และเหลือจำหน่าย มีจำนวนครัวเรือนที่พัฒนาสุขภาพและความเป็นอยู่ 60 ครัวเรือน จากการเข้าร่วมโครงการเกิดกติกาสังคมที่ใช้ในการปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันแบบหมู่และกลุ่มก้อน และมีครัวขยายอีก 20 ครัวเรือนที่สนใจอยากเข้าร่วมในการพัฒนาสุขภาพและครอบครัวเพื่อความเป็นสุขที่ยั่งยืน

คณะกรรมการโครงการและตัวแทนครัวเรือน 75 คน

0.00 0.00 75 75 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมประเมินการดำเนินโครงการเกิดการร่วมวิเคราะห์ แลกเปลี่ยน ซักถาม พูดคุย ในการแก้ปัญหาของชุมชนร่วมกันชุมชนมีข้อเสนอร่วมกันในการวางแผนโดยเสนอให้นำเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเข้าแผนชุมชน แผนตำบลต่อไป

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต

คณะทำงานเข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการ จำนวน 2 คน รับฟังการบริหารจัดการโครงการ เรียนรู้การจัดทำรายงานต่างๆรายงานการเงิน การลงทะเบียน การจัดทำรายงานผ่านเวปไซต์ การเขียนใบสำคัญรับเงิน และได้ร่วมเรียนรู้การเขียนรายงานที่ถูกต้อง การหักภาษี ณ ที่จ่าย


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานทราบและเข้าใจการบริหารจัดการโครงการ สสส

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

400.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การปฐมนิเทศ การรายงานกิจกรรมในระบบเวปไซค์ ระเบียบการเงิน การบันทึกกิจกรรม นำความรู้ที่ได้มาปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

400.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการได้เรียนรู้การกำหนดปฏิทินโครงการให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เรียนรู้แนวทางการบริหารจัดการโครงการสู่ความสำเร็จ และการจัดทำเอกสารหลักฐานการเบิก-จ่ายงบประมาณ พร้อมทั้งการบันทึกข้อมูลกิจกรรมลงในเว็บไซต์

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมเเต่ละโครงการจำนวน 2 คน มีความรู้ในกระบวนการบริหารจัดการโครงการให้ประสบความสำเร็จตั้งแต่เริ่มจนสิ้นสุดโครงการ ได้แนวทางการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนรายงานผลการดำเนินงาน การบันทึกข้อมูลทางเวปไซต์ การจัดการเอกสารการเงินที่ถูกต้องเหมาะสม และการหักภาษี ณ ที่จ่าย รวมทั้งได้เรียนรู้ประเด็นปัญหาจากตัวอย่างของโครงการอื่น ๆ ที่นำมาร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน

200.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการเรียนรู้และฝึกทักษะการลงรายงานบันทึกกิจกรรม รูปภาพ และการเขียนผลผลิต ผลลัพท์ของกิจกรรม และเรียนรู้เรื่องการหักภาษีณ ที่จ่่าย

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน

400.00 200.00 2 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปผลการจัดกิจกรรมงวดที่1 พร้อมจัดทำรายงานปืดงวด และตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆโดยสจรส มอและพี่เลี้ยง

คณะกรรมการโครงการ จำนวน 2 คน

400.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการตรวจเอกสารทางด้านการเงิน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคํญรับเงิน ใบกำกับภาษี รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม เพื่อให้โครงการจัดทำให้ถูกต้อง 

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน

0.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

หลังปิดงวดที่ 1 ทำกิจกรรมไปแล้ว 2 กิจกรรม 1. ทำบัญชีครัวเรือน นัดตรวจทุก 3 เดือน แจกไป 80 ครัวเรือน ส่วนใหญ่กรรมการทุกคนจะทำแต่ชาวบ้านมักไม่ค่อยทำเพราะบอกว่าทำไม่ถูก
2. สำรวจปัจจัยเสี่ยงต่อการได้รับสารเคมี ส่วนใหญ่ผู้สำรวจเป็นโรคเรื้อรัง อาหารส่วนใหญ่ปรุงเอง 3. ตรวจเลือดโดย รพ.สต. มีผู้ตรวจ 82 คน ขอตัวแทนครัวเรือน ผลการตรวจ ปกติ 2คน ปลอดภัย 8 คน เสี่ยง 43 คน ไม่ปลอดภัย 30 คน / เป็นเด็ก(อายุ 9-12 ปี) 21 คน (เสี่ยง 16 คน ปลอดภัย 4 คน ไม่ปลอดภัย 1 คน) กิจกรรมต่อไป 1. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษตามบ้านเรือน 2. ส่งเสริมการปลูกผักในโรงเรียน จากเด็กนักเรียน 90 กว่าคน ซึ่งครูในโรงเรียนจะจัดทำแปลงสนับสนุนปลูกผักในโรงเรียน และได้ปรับอาหารกลางวัน เป็นการซึ่งผักในหมู่บ้าน แต่ไม่เพียงพอจึงต้องซื้อจากตลาด 3. กิจกรรมทำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง ส่งที่ สจรส.ม.อ. ต้องปรับปรุง - การเขียนใบหักภาษี กรณีค่าใช้จ่ายที่ต้องหักภาษี การตรวจสอบเอกสารการเงิน - ฝ่ายการเงินสามารถทำเอกสารการเงินได้ถูกต้องดีขึ้นกว่าการทำการเงินงวด 1 ที่ผ่านมา

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

3,000.00 700.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมประชุมได้ร่วมกันทำรายงาน และแก้ไขข้อผิดพลาดตามความหมาะสมของพี่เลี้ยง

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

3,000.00 1,800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมาก

2.ได้ศึกษาเรียนรู้กันหลายกิจกรรม

3.ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน

ผลลัพธ์

1.กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

2.ได้สร้างเครือข่ายกันระหว่างกลุ่มเป้าหมาย

3.ได้แนวคิดในการจัดทำแผนชุมชนต่อไป

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

3,000.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้สรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์  จัดทำเอกสารการเงินเเละลงรายละเอียดโครงการ  ได้มีการลงรายละเอียดของกิจกรรมตามความเป็นจริง  สรุปโครงการเเละประเมินผลโครงการ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
น้ำหมักไล่แมลง

วิธีการทำน้ำยาไล่แมลง 1.นำเศษพืชที่มีรสขม เช่น สะเดา ขี้เหล็ก ฟ้าทลายโจร ฯลฯ 2.นำพืชหรือเศษพืชที่มีรสเมาเช่นยาเส้น ก้านใบลำต้น 3.ต้นพืช ต้นของพืชที่มีฤทธิ์ทำให้ถูกตัวตาย เช่น หัวหนอนตายยาก โดยนำมาหมักร่วมกัน แล้วนำเอาน้ำไว้สำหรับฉีดพ่นไล่แมลง

นำไปฉีดพ่นไล่แมลง ไม่ต้องใช้สารเคมี สำหรับใช้ในการปลูกพืชผักต่าง ๆ

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายอำนวย มีพวกมาก 107 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

แกนนำด้านปลูกผักปลอดสารพิษ

นางมลทิพย์ สิทธิสังข์ 162/5 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

แกนนำด้านปลูกผักปลอดสารพิษ

นางสมบูรณ์ เมืองจันทร์ 43 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

แกนนำด้านเศรษฐกิจพอเพียง

นายเหงียบ คงพันธ์ 52 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

แกนนำด้านทำปุ๋ยชีวภาพ

นางดวงฤดีอิ่มอวยพร 46 ม.4 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

แกนนำด้านการจัดทำบัญชีครัวเรือน

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

แปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ

เกิดแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษจำนวน 2 จุดคือในชุมชม 1 จุด และโรงเรียนบ้านสะพานหัน 1 จุด เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

การดำเนินงานของโครงการเป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้ แม้ว่าจะจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระยะเวลาการทำกิจกรรม แต่กลุ่มแกนนำสามารถแก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างดี

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

กลุ่มแกนนำและผู้รับผิดชอบโครงการสามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามเป้าหมาย มีชาวบ้านในชุมชนให้ความสนใจกิจกรรมร่วมกิจกรรม

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

การดำเนินกิจกรรมของโครงการเป็นไปตามแผนที่วางไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

กลุ่มมีการทำบันทึกการใช้เงินไว้อยู่ในระดับดี

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามกิจกรรมที่ได้วางไว้ และมีการจดบันทึกอย่างถูกต้อง

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานทางการเงินของโครงการมีความถูกต้อง เป็นไปตามกิจกรรมที่ได้วางไว้

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

โครงการสามารถดำเนินกิจกรรมได้ครบตามแผนการดำเนินโครงการที่วางไว้ มีคณะกรรมการโครงการร่วมวางแผน แก้ไข และดำเนินกิจกรรม คนในชุมชนมีร่วมทำ ร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น คนในชุมชนตระหนักและได้รับการประเมินสารเคมีตกค้างในเลือดและร่วมมือจัดมหกรรมเกษตรอินทรีย์ในชุมชนมีการจัดทำและเก็บรวบรวมเอกสาร หลักฐานการจ่ายเงิน ครบตามกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

คนในชุมชนมีส่วนร่วมการสรุปวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาของชุมชนเพื่อให้คนในชุมชนทำเกษตรอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีร่วมเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนเพื่อลดรายจ่าย เกิดครัวเรือนในชุมชนใช้สารอินทรีย์แทนสารเคมี มีครัวเรือนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ มีกลุ่มการทำการเกษตรแบบอินทรีย์ในชุมชน มีการใช้สารอินทรีย์และชีวภาพในการทำการเกษตรทำปุ๋ยหมักปุ๋ยชีวภาพ มีแปลงสาธิตการปลูกผักชุมชน 1 แปลง โดยมีเด็กเยาวชนในชุมชนได้ร่วมทำกิจกรรม มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์คนจากปราชญ์ในชุมชนโดยใชทรัยากรที่มีในชุมชน และมีกลุ่มคณะทำงานในชุมชนที่เข้มแข็งและประสานความร่วมมือของคนในชุมชนในการทำกิจกรรมและแก้ปัญหาของชุมชน

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong