แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ ”

ม.8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่

หัวหน้าโครงการ
นาย สุวิทย์ หมาดเส็ม

ชื่อโครงการ ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ

ที่อยู่ ม.8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่

รหัสโครงการ 58-03838 เลขที่ข้อตกลง 58-00-1891

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ม.8 บ้านหัวหิน ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ รหัสโครงการ 58-03838 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 199,200.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 446 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดสภาผู้นำชุมชนและแกนนำที่เข้มแข็ง
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดตั้งและประชุมสภาชุมชนในการดำเนินงานโครงการชุมชนปลอดขยะบ้านหัวหินทุกเดือนครั้งที่ 1

    วันที่ 15 กันยายน 2558 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงานเพื่อรับรู้บทบาทหน้าที่ในการทำกิจกรรมโครงการ
    2. จัดตั้งฝ่ายประสานงาน ประชาสัมพันธ์
    3. จัดตั้งฝ่ายบันทึกข้อมูล
    4. จัดตั้งฝ่ายการเงิน
    5. จัดตั้งฝ่ายสถานที่
    6. จัดตั้งฝ่ายวิชาการ
    7. จัดตั้งฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดคณะทำงานในโครงการบ้านหัวหิน จำนวน 10 คน
    • คณะทำงานรับรู้บทบาทหน้าที่ที่ตัวเอง และวางแผนการดำเนินงาน ตลอดจนความรับผิดชอบเพื่อได้ทำงานอย่างต่อเนื่อง โดยแบ่งเป็นฝ่าย ประสานงาน ประชาสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ฝ่ายบันทึกข้อมูล ฝ่ายการเงิน ฝ่ายสถานที่ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม

     

    10 10

    2. ตรวจสอบเอกสารสัญญาโครงการกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 21 กันยายน 2558 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงปรึกษาการวางแผนการทำโครงการ และตรวจสอบข้อมูลในเอกสารสัญญาโครงการให้ตรงกับข้อมูลในเว็บไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจเอกสารสัญญาโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง
    • ผลการตรวจสอบเอกสารสัญญาโครงการมีความถูกต้อง ครบถ้วนตรงกับข้อมูลหน้าเว็บ

     

    2 2

    3. ประชุมปฐมนิเทศ ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ ภาคใต้

    วันที่ 29 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการ วันที่ 29-30 กันยายน 2558 ณ โรงแรมธรรมรินทร์ธนา จ.ตรัง มีการอบรมให้ความรู้ เรื่อง การวางแผนลงปฏิทินกิจกรรม การบันทึกรายการกิจกรรมบนหน้าเวบไซต์ รายงานผลกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนด และการจัดทำเอกสารการเงินให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีความเข้าใจในการทำเพื่อปฏิบัติตามปฏิทินโครงการ
    2. มีความเข้าใจในการบันทึกรายการกิจกรรมบนหน้าเว็บไซต์
    3. มีความเข้าใจในการรายงานผลกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนด
    4. มีความเข้าใจในการการออกใบเสร็จรับเงิน

     

    2 2

    4. พบพี่เลี้ยงรับฟังคำแนะนำการทำรายงานหน้าเว็ปและใบเสร็จรับเงิน

    วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. รับฟังคำแนะนำในการบันทึกข้อมูลหน้าเว็บไซต์
    2. ฝึกปฎิบัติการบันทึกข้อมูลหน้าเว็บไซต์และดำเนินการจัดทำเอกสารการเงินให้ถูกต้องในกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลหน้าเว็ปและสามารถบันทึกได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ ได้ฝึกการรายงานกิจกรรมที่ผ่านมา พี่เลี้ยงให้คำแนะนำว่าต้องเพิ่มข้อมูลให้ชัดเจน และได้จัดทำใบเสร็จรับเงินเสร็จทุกกิจกรรมที่ทำผ่านมา

     

    2 2

    5. จัดตั้งและประชุมสภาชุมชนเพื่อแบ่งบทบาทและหน้าที่แต่ละฝ่ายร่วมกันรับผิดชอบ ครั้งที่ 2

    วันที่ 17 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงการทำโครงการ สสส.และทบทวนบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจต่อโครงการ สสส.เข้าใจวัตถุประสงค์และเห็นกิจกรรมทั้งหมดของโครงการ
    • ทุกคนรับรู้หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เช่น การประชาสัมพันธ์ให้พี่น้องชุมชนได้รับทราบ การประสานงานภาคีและเครือข่าย ในช่วงจัดกิจกรรม และนัดหมายประชุมเตรียมและสรุปกิจกรรมทุกเดือน

     

    10 10

    6. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 20 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00-16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะกรรมการร่วมวางรูปแบบของป้ายพร้อมภาพและชื่อโครงการ
    2. นำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการไปติดที่อาคารศาลาประชาคมของหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีภาพป้ายประชาสัมพันธ์เปิดตัวโครงการและป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่ จำนวน 1 ป้าย เพื่อรณรงค์ให้เป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ในหมู่บ้าน และชาวบ้านให้ความร่วมมือไม่มีการสูบบุหรี่ในช่วงทำกิจกรรมและบริเวณที่ติดป้าย

     

    250 250

    7. ประชุมพร้อมเปิดตัวโครงการชุมชนปลอดขยะบ้านหัวหิน

    วันที่ 22 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เตรียมสถานที่
    2. ประสานงานทำหนังสือเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมข้องร่วมประชุม
    3. แจ้งประชาสัมพันธ์
    4. จัดเวทีเปิดตัวโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะพร้อมประชาสัมพันธ์โลโก้ สสส.ชี้แจงโครงการโดยผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยงช่วยเพิ่มเติมข้อมูล
    5. แกนนำร่วมเสวนาโครงการร่วมสร้างให้ชุมชนน่าอยู่ เรื่องขยะในชุมชนบ้านหัวหิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีผู้เข้าร่วมประชุมตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ 100 คน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ ได้รับฟังข้อมูลและร่วมงานเปิดตัว ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานโครงการ
    2. ผู้เข้าร่วมเปิดงาน มีความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์การทำโครงการ และมีความเข้าใจในปัญหาของชุมชน คือปัญหาเรื่องขยะ พร้อมให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามโครงการร่วมสร้างให้ชุมชนน่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ

     

    100 100

    8. พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบรายงาน และเอกสารการเงิน ครั้งที่ 1

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พบพี่เลี้ยงตรวจรายงานสมุดบันทึกเงินสด
    2. ตรวจสอบข้อมูลสัญญาโครงการให้ตรงกับในเวบไซต์
    3. ตรวจเอกสารค่าใช้จ่ายที่ทำผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดความเข้าใจในการทำเอกสารการเงิน และการบริหารจัดการโครงการ ทำให้เอกสารหลักฐานการเงินถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้ทุกกิจกรรม

     

    1 1

    9. จัดตั้งและประชุมคณะทำงานชุดย่อยในจัดเก็บข้อมูลขยะในชุมชน 2 วัน

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดตั้งคณะทำงานชุดย่อยเด็กเยาวชนจำนวน 30 คน
    2. ออกแบบสร้างเครื่องมือในการสำรวจ
    3. วางแผนการดำเนินการเก็บข้อมูลขยะในชุมชนจำนวน 233 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีคณะทำงานย่อยประกอบด้วยเด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน
    2. คณะทำงานได้ร่วมกันออกแบบเครื่องมือแบบสอบถาม ที่ได้จากการค้นหาทางอินเตอร์เนตและปรึกษาพี่เลี้ยงโครงการ ทั้งหมด 3 หน้า
    3. มีการประชุมและวางแผนการดำเนินงานเก็บข้อมูลขยะในชุมชนบ้านหัวหิน โดยให้เยาวชนจำนวน 30 คน เป็นทีมเก็บข้อมูล ซึ่งเป็นเยาวชนที่เรียนโรงเรียนอิสลามศึกษาพื้นฐานที่เปิดทำการสอนในวันเสาร์อาทิตย์ และมีคณะกรรมการเป็นที่ปรึกษาทีมเยาวชน ใช้เวลาช่วงตอนเย็น วันหยุด และวันเสาร์อาทิตย์ในการเก็บข้อมูลขยะ

     

    40 40

    10. อบรมการเขียนรายงานและการจัดการเอกสารการเงิน

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. อบรมการเขียนรายงานกิจกรรม และให้ความรู้เรื่องการจัดทำหลักฐานที่ถูกต้อง
    2. ตรวจสอบเอกสารการเงินและใบสำคัญรับเงินตามสัญญาโครงการ
    3. อบรมเรียนรู้แบบเสียภาษี ภ.ง.ด.3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการและฝ่ายการเงินมีความรู้ในการจัดทำเอกสารการเงินเพิ่มขึ้น เข้าใจการหักภาษี ณ ที่จ่าย ซึ่งเป็นเรื่องใหม่
    2. มีการประสานงานคณะทำงานโครงการในการดำเนินกิจกรรม และจะนำสิ่งที่ได้ไปแจ้งกับคณะกรรมการโครงการในเวทีประชุมประจำเดือน

     

    2 2

    11. จัดตั้งและประชุมสภาชุมชนในการดำเนินงานโครงการชุมชนปลอดขยะบ้านหัวหินครั้งที่3

    วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการ สรุปผลการทำกิจกรรมที่ผ่านมา และระดมความคิดการจัดหาจิตอาสาจัดการขยะ เพื่อขยายผลการทำโครงการ รวมทั้งประชุมหารือการจัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลการทำกิจกรรมที่ผ่านมาได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคนในชุมชน
    • ระดมความคิดในการจัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน คณะทำงานร่วมกับเด็กเยาวชน จัดการรับซื้อขยะทุกวันอาทิตย์ ทุกครอบครัวให้ความร่วมมือและมีรายได้เพิ่ม ประมาณมากกว่า 30 บาทต่อครัวเรือน/เดือน
    • กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลขยะที่ผ่านมา มีผู้ร่วมในการจัดเก็บข้อมูลเด็กเยาวชน/อสม.จำนวน 40 คน ให้ข้อมูลในด้านปัญหาขยะในชุมชนว่ามีขยะอะไรบ้าง เช่น ประเภทขยะมาจาก ครัวเรือนและขยะมาจากนักท่องเที่ยว
    • มีจิตอาสาในการรณรงค์คัดแยกขยะ ผลสรุปขยะน้อยลง

     

    10 15

    12. จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้และดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะครัวเรือนจำนวน 2 วัน

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมซักซ้อมทำความเข้าใจในการเก็บข้อมูลขยะในชุมชน มีวิทยากรให้ความรู้เรื่องการคัดแยกประเภทของขยะ เพื่อให้ความรู้กับทีมเก็บข้อมูลก่อนลงไปดำเนินการจริง
    • ดำเนินการจัดเก็บขยะ 2 วัน โดยมีทีมจัดเก็บขยะจำนวน 40 คน แบ่งการเก็บขยะออกเป็นโซนตามการดูแลของ อสม.ทำให้เก็บข้อมูลได้เร็วและได้ข้อมูลครบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เยาวชนมีความรู้ในการสำรวจข้อมูลขยะในชุมชนมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ร่วมกับอสม.ซึ่งเป็นพี่เลี้ยงประจำโซน ในการสำรวจข้อมูลขยะ ข้อมูลขยะแบ่งออกเป็นขยะตามบ้านเรือน จะพบขยะเปียกและขยะที่นำมารีไซเคิลได้ และอีกประเภทขยะในที่สาธารณะจะเป็นขยะที่นำมารีไซเคิลได้
    2. ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์จำนวน 1 ชุด
    3. มีการทำงานร่วมกันของเยาวชนและคนในชุมชน

     

    40 40

    13. จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ

    วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมคณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ ณ อาคารอเนกประสงค์มัสยิดบ้านหัวหิน
    2. คณะทำงานทีมเยาวชนนัดหมายรวบรวมข้อมูลและแบบสอบถามเพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์
    3. เปิดการประชุมเวลา 9.30 น.โดยนายสุวิทย์ หมาดเส็ม ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวเปิดประชุม พร้อมกล่าวขอบใจเด็กเยาวชนที่มีความสนใจเรื่องเอกสารมีความตั้งในการทำงานพร้อมเรียนรู้ไปกับพี่เลี้ยง อสม.ที่ให้คำแนะนำในการจัดเก็บข้อมูล เรียนรู้เกี่ยวกับชุมชนด้านปัญหาขยะ โครงการ ให้พี่เลี้ยง อสม.ตรวจสอบข้อมูลจากการสำรวจที่ผ่านมาทบทวนและจัดทำสรุปข้อมูลแต่ละครัวเรือน แต่ละโซน เช่น ผู้ให้ข้อมูล วุฒิการศึกษา รายได้โดยเฉลี่ย อาชีพ จำนวนสมาชิกในครัวเรือน พร้อมกันนี้ให้สรุปข้อมูลขยะแยกประเภท พร้อมกับจำนวนปริมาณขยะ ครัวเรือนที่ที่มีการแยกขยะกี่ครัวเรือน
    4. ช่วงบ่ายรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ข้อมูลจากการสำรวจ ดังนี้

    1.ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้ข้อมูล ดังนี้

    • เพศชาย 42 คน เพศหญิง 155 คน รวม 197 ครัวเรือน คิดเป็น 85 เปอร์เซ็นต์
    • สถานภาพในชุมชน กรรมการหมู่บ้าน 9 คน อสม. 20 คน สมาชิกกลุ่ม 58 คน พนักงาน 5 คนประชาชนทั่วไป 105 คน

    2.ระดับการศึกษา

    • ต่ำกว่า ป.4 จำนวน 15 คน ,ป.4 จำนวน 183 คน ,ป.6 จำนวน 170 คน ,ม. 3 จำนวน 246 คน ,ม.6 จำนวน 32 คน และระดับปริญญา 28 คน ,กำลังศึกษา 242 คน ไม่ได้เรียน6 คน เป็นกลุ่มเด็ก 190 คน

    3.อาชีพ

    • ทำสวน 95 คน ค้าขาย 15 คน รับราชการ 7 คน ลูกจ้าง 37 คน แม่บ้าน 197 คน ประมง 17 คน(หมายเหตุทำสวนและทำประมง)34 คน

    4.รายได้และรายจ่ายเฉลี่ยต่อปี 2558

    • รายได้เฉลี่ยต่อคน/ปี 30,000 บาท
    • รายจ่ายเฉลี่ยคน/ปี 35,000 บาท

    5.สมาชิกในชุมชน 1,112 คน ชาย 571 คน หญิง 471 คน

    6.ข้อมูลจากการสำรวจขยะ

    • ขยะที่ต้องกำจัด ถุงพลาสติก 23.3 ก.ก/สัปดาห์ กล่องโฟม 20 ก.ก/สัปดาห์
    • แพมเพริดร์ 40 ก.ก/สัปดาห์
    • ขยะพิษมีแต่ยางยนต์ 10 ก.ก/สัปดาห์
    • ขยะรีไซเคิล กระดาษ/กระดาษลัง 20 ก.ก/สัปดาห์กระป๋องอลูมิเนียม 8 ก.ก/สัปดาห์ ขวดแก้ว 10 ก.ก/สัปดาห์ขอบยางพีวีซี 5 ก.ก/
    • ขยะอินทรีย์ เศษอาหาร/ผลไม้/ผัก/เศษใบไม้ 1,630 ก.ก/สัปดาห์

    7.ด้านการจัดเก็บขยะ

    • เก็บรวม 152 ครัวเรือน= 77.5%
    • คัดแยก 45 ครัวเรือน=22.5%

     

    40 40

    14. 6.จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชนบ้านหัวหิน

    วันที่ 16 มกราคม 2559 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชนบ้านหัวหินเพื่อหารูปแบบการดำเนินงานจัดการขยะในชุมชน
    2. ประชาสัมพันธ์การจัดทำเวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชน โดยเชิญตัวแทนภาคีเครือข่ายเข้าร่วม
    3. ผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอเพิ่มเติมและสรุปฐานข้อมูลจากการสำรวจ
    4. นำเสนอร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้และข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการนำเสนอข้อมูลขยะที่พบในชุมชน ทำให้ชาวบ้านได้รับทราบปริมาณขยะ ให้ความสนใจพร้อมเรียนรู้ในการจัดการขยะในชุมชน ชุมชนเริ่มมีแนวคิดในการนำขยะมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งภาคีเครือข่ายร่วมเสนอแนะคืนข้อมูลให้แก่ชุมชน

     

    100 100

    15. เพื่อติดตามการทำรายงานหน้าเวปและรายงานการเงิน

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ตรวจเอกสารการเงินใบสำคัญรับเงิน
    2. ตรวจรายงานหน้าเว็บตามแผนกิจกรรม
    3. ตรวจรายงานบันทึกเงินสด
    4. เพิ่มแบบสรุปรายงานการใช้เงินในกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบโครงการและฝ่ายไอทีได้เรียนรู้และมีข้อมูลมากขึ้นจากคำแนะนำของพี่เลี้ยงโครงการ ซึ่งจากการตรวจสอบเอกสารการเงินพบว่า ยังมีการลงรายละเอียดที่ไม่ถูกต้องในรายการค่าใช้จ่าย

     

    3 2

    16. ประชุมจัดทำการรายงาน ปิดรายงาน งวดที่ 1

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้าร่วมกับพี่เลี้ยงและทีม สจรส.ม.อ. ได้ทำการตรวจสอบใบสำคัญรับเงิน ตรวจรายงานในเวบไซต์ และให้คำแนะนำเรื่องการทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ตรวจเอกสารหลักฐานการเงินมีความสมบูรณ์เกือบ 100%
    2. เงินเหลือในบัญชีธนาคารตรงกับสมุดคุมเงินสด
    3. เอกสาร ง1 และ ส1 มีความถูกต้อง

     

    2 2

    17. การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส. ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม ครั้งที่ 2

    วันที่ 29 เมษายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ตรวจรายงานเอกสารการเงิน ครั้งที่1 2.การยื่นแบบแสดงการเสียภาษีสรรพกร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและฝ่ายการเงินเข้าใจในการกรอกรายละเอียดเอกสารใบสำคัญรับเงินและการยื่นแบบแสดงการเสียภาษีสรรพกร

     

    1 2

    18. จัดตั้งและประชุมสภาชุมชนในการดำเนินงานโครงการชุมชนปลอดขยะบ้านหัวหินครั้งที่4

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะทำงาน

    2.ผู้รับผิดชอบการประสานงาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    3.วางแผนในการดำเนินงานกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

    2.ผลการทำกิจกรรมที่ผ่านมาได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคนในชุมชน

    3.ระดมความคิดในการจัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน คณะทำงานร่วมกับเด็กเยาวชน จัดการรับซื้อขยะทุกวันอาทิตย์ ทุกครอบครัวให้ความร่วมมือและมีรายได้เพิ่ม ประมาณมากกว่า 30 บาทต่อครัวเรือน/เดือน

    4.กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลขยะที่ผ่านมา มีผู้ร่วมในการจัดเก็บข้อมูลเด็กเยาวชน/อสม.จำนวน 40 คน ให้ข้อมูลในด้านปัญหาขยะในชุมชนว่ามีขยะอะไรบ้าง เช่น ประเภทขยะมาจาก ครัวเรือนและขยะมาจากนักท่องเที่ยว

    5.มีจิตอาสาในการรณรงค์คัดแยกขยะ ผลสรุปขยะน้อยลง

     

    14 14

    19. .จัดประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางมาตราการในการลดการนำเข้าขยะในชุมชนและร้านค้า

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดประชุมประชาคมชาวบ้านเพื่อพิจารณาจัดทำมาตราการ กฎกติกาการจัดการขยะในชุมชนบ้านหัวหิน
    2.ประกาศมาตราการการจัดการขยะสู่ชุมชน 7 ข้อ ได้แก่
    2.1ให้มีที่กขยะในเขตบริเวรชุมชนจุดนักท่องเที่ยว
    2.2 มีป้ายประชาสัมพันธ์ ลด/ละ/เลิก/ห้ามทิ้งขยะ
    2.3 จัดมาตราการทำความสะอาดทุก 1 เดือน
    2.4 ประกาศมัสยิดสีขาว/ปลอดบุหรี่/มีการคัดแยกขยะ/รับบริจาคขยะ
    2.5 ประกาศให้ทุกครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ
    2.6 ประกาศมาตราการโซนสะอาดบ้านน่ามอง
    2.7 มาตราการร้านค้าลดขยะที่ต้นทางและให้มีที่แยกขยะ 3.จัดทำป้ายประกาศมาตรการและติดตั้งในชุมชน
    4.ขอความร่วมมือร้านค้าชุมชน ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีผู้เข้าร่วมจัดทำมาตรการจัดการขยะบ้านหัวหิน จำนวน 100คน
    2. เกิดมาตรการและกฎกติกาในการจัดการขยะในชุมชนให้ทุกคนได้ทราบและได้ขอความร่วมมือกับร้านค้าในชุมชน เพื่อขอให้ลดปริมาณใช้ในการใช้ถุงพลาสติกสรุปจากเวทีประชุมมีการนำเสนอให้จัดตั้งมาตราการไว้ 7 ข้อ ได้แก่ 1.ให้มีที่กขยะในเขตบริเวรชุมชนจุดนักท่องเที่ยว 2. มีป้ายประชาสัมพันธ์ ลด/ละ/เลิก/ห้ามทิ้งขยะ
      3.จัดมาตราการทำความสะอาดทุก 1 เดือน
      4.ประกาศมัสยิดสีขาว/ปลอดบุหรี่/มีการคัดแยกขยะ/รับบริจาคขยะ
    3. ประกาศให้ทุกครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ
    4. ประกาศมาตราการโซนสะอาดบ้านน่ามอง
    5. มาตราการร้านค้าลดขยะที่ต้นทางและให้มีที่แยกขยะ

     

    100 100

    20. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่

    วันที่ 16 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ออกเดินทางกิจกรรมศึกษาเรียนรู้ต่างพื้นที่ เทศบาลควนโดน จ.สตูลโดยรถตู้รับจ้างจำนวน 2 คัน
    2. ได้รับการต้อนรับจากทีมวิทยากรชุมชนบ้านควนโดน กล่าวต้อนรับทีมงานชุมชนบ้านหัวหิน ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่
    3. ได้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้ทางวิทยากรได้ให้ข้อมูลในการจัดการขยะในชุมชนเทศบาลควนโดนตามบริบทพื้นที่ในการจัดการคัดแยกขยะ แยกเป็น3 ฐาน เพื่อให้ชุมชนบ้านหัวหินได้เก็บข้อมูลและนำไปขยายต่อตามบริบทและได้เข้าเยี่ยมชมและจดบันทึกข้อมูลตามฐานกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ ฐานที่ 1 ฐานเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะเปียก วิธีการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์และทำปุ๋ยน้ำหมักอินทรีย์ วิธีขั้นตอนการทำหัวเชื้อน้ำหมักจุลินทรีย์ เตรียมเศษผัก 3 กก.เติมกากน้ำตาล 1 ลิตร หมักไว้ 15วัน เกิดหัวเชื้อแล้วเติมน้ำ 10 ลิตร หมักต่ออีก 75 ลิตร ได้หัวเชื้อน้ำหมักจุลินทรีย์ตามต้องการ ประโยชน์ที่ได้ 1.ช่วยปรับสภาพเศษอาหาร จากครัวเรือนให้กลายเป็นปุ๋ยหมักที่มีประโยชน์ต่อพืชผักและไม้ผล 2.ช่วยปรับสภาพน้ำเสียจากอาคารบ้านเรือน โรงงานโรงแรม หรือแหล่งน้ำเสีย 3.ช่วยดับกลิ่นเหม็นจากเศษอาหาร กองขยะมูลฝอย 4.ช่วยดับกลิ่น ใช้ทำความสะอาดละลายไขมันในห้องน้ำ ฐานที่2 ฐานเรียนรู้ก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ วิธีการผลิตก๊าซชีวภาพประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1 .การคัดแยกสิ่งปะปนออกจากจากขยะอินทรีย์และการบดย่อยขยะอินทรีย์ 2.การหมักขยะอินทรีย์ในถังระบบปิด 3.การจัดการกับตะกอนที่เหลือจากการหมักและปรับสภาพการนำไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ ฐานที่3 ฐานเรียนรู้การคัดแยกขยะรีไซเคิลให้ชุมชนแยกจากต้นทาง หรือเข้าฐานกิจกรรมเช่น ร้านค้า 0 บาท และธนาคารขยะ กิจกรรมร้านค้า 0 บาทโดยชุมชนนำขยะรีไซเคิลมาแลกของในร้านค้าที่เข้าโครงการ /ขยะแลกไข่/ ขยะแลกค่าธรรมเนียม/ร้านตัดผม/ร้านน้ำชามีขยะเอามาแลกค่าบริการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะศึกษาดูงานได้มีรายงานสรุปผลการศึกษาดูงานจำนวน 1 ชุด ได้แก่1). เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะเปียก 2). เรียนรู้ก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์และ3). เรียนรู้การคัดแยกขยะรีไซเคิลให้ชุมชนแยกจากต้นทาง หรือเข้าฐานกิจกรรมเช่น ร้านค้า 0 บาท และธนาคารขยะ กิจกรรมร้านค้า 0 บาทโดยชุมชนนำขยะรีไซเคิลมาแลกของในร้านค้าที่เข้าโครงการ /ขยะแลกไข่/ ขยะแลกค่าธรรมเนียม/ร้านตัดผม/ร้านน้ำชามีขยะเอามาแลกค่าบริการ
    2. คณะที่ไปศึกษาดูงานได้รับความรู้และมีความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างครบวงจร
    3. เกิดแนวคิดในการดำเนินงานการจัดการขยะในชุมชนบ้านหัวหินต่อไป
    4. มีการคัดเลือกคณะทำงานที่ไปดูงานจำนวน 1 ชุด ประกอบด้วย ทีมเยาวชน จำนวน 20 คน อสม. 10 คน กรรมการมัสยิด 5 คน คณะทำงาน 5 คน
    5. ข้อมูลจากการไปศึกษาดูงานจะนำไปประยุกต์ใช้และคืนข้อมูลให้คับคนในชุมชนบ้านหัวหินจำนวน 237 ครัวเรือนได้รับรู้

     

    40 40

    21. จัดเวทีคืนข้อมูลจากการไปศึกษาดูงานให้กับชุมชน

    วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเวทีคืนข้อมูลจากการศึกษาดูงานให้กับชุมชนบ้านหัวหิน
    2. คณะทำงานร่วมเวทีคืนข้อมูลจากการไปศึกษาดูงานที่ จ.สตูล

    2.1 นางมยุรี หลานอาร์ ได้พูดถึงข้อมูลจากการศึกษาดูงานมีกระบวนการคัดแยกขยะให้มีค่าและเพิ่มมูลค่า เช่น ขวดพลาสติกกิโลละ 10 บาท จำนวน 34 ขวด ถ้านำมาแปรรูปเพิ่มมูลค่าจะมีราคามากกว่าถึง 10 เท่า

    2.2 คุณ ศิราณี ทิมทอง ได้พูดถึงข้อมูลจากการไปศึกษาดูงานที่ควนโดน ได้มีแนวความรู้และแนวคิดการจัดการขยะเพื่อให้เกิดการสร้างนวัตรกรรมเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งประดิษฐ์จากขยะ เช่น การทำแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร

    2.3 คุณ จันทนา เส็นใหญ่ ได้พูดถึงข้อมูลและสื่อให้พี่น้อบ้านหัวหินได้รับทราบจากการไปดูงานประทับใจร้านค้า 0 บาท อยากให้ชุมชนเรามีแนงคิดทำแบบนั้น เพราะมันสื่อถึงขยะมีค่าซื้ออะไรก็ได้

    3.สมาชิกชุมชนสมัครเป็นครัวเรือนนำร่อง 50 ครัวเรือน

    4.มีจุดเรียนรู้เรื่องขยะในชุมชนและรับซื้อขยะในหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. จากการไปศึกษาดูงานคณะทำงานได้มีข้อมูลฐานเรียนรู้แต่ละฐานให้ชุมชนบ้านหัวหินได้รับทราบ
    2. ชุมชนจำนวน 40 คน มีความตั้งใจและร่วมกันลด คัด แยกขยะ แล้วนำเอาไปใช้ประโยชน์
    3. สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่ครัวเรือนได้จำนวน 65.44 บาท/2 เดือน เฉลี่ยเดือนละ 32.72 บาท
    4. ชุมชนที่ร่วมประชุมจำนวน 50 คนเข้าใจและรวมกลุ่มกันเรียนรู้การคัดแยกขยะครัวเรือน

     

    50 50

    22. จัดตั้งและประชุมสภาชุมชนในการดำเนินงานโครงการชุมชนปลอดขยะบ้านหัวหินครั้งที่5

    วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดตั้งและประชุมสภาชุมชนในการดำเนินงานโครงการชุมชนปลอดขยะบ้านหัวหิน 1.มีการนำเสนอเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้วและกิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการจากกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้วมีความสำเร็จความร่วมมือมากน้อยแค่ไหน ชุมชนมีความเข้าใจในการลด/ละ/เลิกการจัดการขยะ การเพิ่มมูลค่าจากการแยกขยะอย่างต่อเนื่อง จากการนำเสนอในที่ประชุมมีครัวเรือนที่เข้ามาสมัครเป็นสมาชิกร่วมกันจัดการขยะหลายครัวเรือน ดังตัวชี้วัดจากข้อมูลจุดรับซื้อขยะขายได้ ซึ่งทางฝ่ายธนาคารขยะนำขยะออกขายจำนวน 4 ครั้งรวมนำ้หนักทั้ง 4 ครั้งจำนวน 346 ซึ่งเป็นขยะที่กลายเป็นเงิน จำนวน 4581 บาท นี่คือผลผลิตที่ชุมชนร่วมกัน ลด/ละ/เลิก/และเก็บ/คัด/แยก สร้างกระบวนการแนวคิดเพิ่มรายได้เงินไม่ใช่น้อย และวันที่ 27 นี้จัดกิจกรรมเปิดตัวโครงการจัดตั้งธนาคารขยะ กิจกรรมรายละเอียดการทำบัญชีขยะครัวเรือน การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการกองทุนขยะพร้อมประชาสัมพันธ์รับสมัครสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ เปิดรับฝากและรับซื้อขยะทุกวันเสาร์อาทิตย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีคณะทำงาน/ผุ้นำศาสนา/อสม./ฝ่ายปกครอง
    2. มีข้อมูลจากกิจกรรมที่ผ่านมา เช่น ธนาคารขยะ นำขยะออกขาย จำนวน 346 กก. คิดเป็นเงิน 4,581 บาท
    3. ชุมชนเข้ามาสมัครเป็นสมาชิกลด ละ เลิก ในด้านจัดการขยะมากกว่า 80 ครัวเรือน

     

    10 10

    23. จัดประชุมเชิงประปฎิบัติการเปิดตัวโครงการจัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน

    วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดอบรมเชิงปฎิบัติการเรียนรู้หลักการทำบัญชี รายรับรายจ่ายบัญชีขยะครัวเรือนร่วมกับสมาชิกในชุมชน เช่น ขยะแห้ง ขยะเปียก ขยะรีไซเคิล ขยะขายได้ ขยะจะต้องทำลาย
    2.จัดตั้งหลักกองทุนและการจัดสวัสดิการกองทุนขยะจากรายได้ขายขยะสวัสดิการให้เด็กนักเรียนที่ด้อยโอกาส/พร้อมจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย พร้อมป้ายโครงการ 3. รับสมัครสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 4. เปิดรับฝากและรับซื้อขยะทุกวันเสาร์-อาทิตย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชุมชนจำนวนมากกว่า 70 ครัวเรือนมีการทำบัญชีขยะครัวเรือน
    2. มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการขยะ 1 กองทุนพร้อมป้ายโครงการ
    3. รับสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ฝากและขายขยะที่สมัครแล้วจำนวน 64 ครัวเรือน
    4. ประกาศวันรับซื้อทุกวันเสาร์-อาทิตย์ และจุดรับซื้อบ้านนายสุชาติ

     

    80 80

    24. จัดตั้งและประชุมสภาชุมชนในการดำเนินงานโครงการชุมชนปลอดขยะบ้านหัวหินครั้งที่6

    วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมสภาผู้นำชุมชน
    2. จัดทำกิจกรรมตามแผนงาน
    3. ร่วมวางแผนออกแบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะทำงานดำเนินการจัดการขยะประชาสัมพันธ์ในกิจกรรมให้ 237 ครัวเรือนได้รับข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน
    2. คณะทำงานสามารถเป็นแกนนำหรือแบบอย่างให้ครัวเรือนใกล้เคียงได้เห็นแบบอย่างมากกว่า 70 ครัวเรือน

     

    10 10

    25. 11.รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน-จัดกิจกรรมB ig cleaning มัสยิดทุกวันอาทิตย์และประกาศมาตราการให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาด

    วันที่ 3 กันยายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชนจัดกิจกรรม big cleaning มัสยิด ทุกวันอาทิตย์และประกาศมาตราการให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาดไม่มีขยะในพื้นที่สาธารณ-รณรงค์การใช้ตระกร้าไปจ่ายตลาด-รณรงค์ในการคัดแยกขยะ-ร่วมปลูกต้นไม้กินได้ในที่สาธารณเพื่อเป็นสัญลักษ์-ใช้เสื่อทางหอกระจ่ายข่าวของหมู่บ้านประชาสัมพันธ์-ในมัสยิดใช้เวลาก่อนละหมาดวันศุกร์โดยให้โต๊ะอีหม่ามประชาสัมพันธ์รณรงค์เพื่อให้มัสยิดเป็นพื้นที่ปลอดขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 50 คน

    2.มัสยิดและบริเวรมีความสะอาดมมากขึ้น

    3.มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การใช้ถุงผ้าและตระกร้าไปจ่ายตลาด

    4.ชุมชน 237 ครัวเรือนได้ฟังการประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ร่วมกันทำความสะอาดประเด็นการจัดการขยะ

    5.อีหม่ามประกาศมาตราการมัสยิดและชุมชนที่มีความสะอาด100%

     

    50 50

    26. กิจกรรมครอบครัวปั่นจักรยานเก็บขยะ- Keep Huahin Clean ครั้งที่ 1

    วันที่ 4 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะทำงาน กำหนดรูปแบบกิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน
    2.ประสานบริษัททัวร์และแกนนำชุมชน
    3.ประชาสัมพันธ์กิจกรรมทางสื่อวิทยุ เฟซบุ็ค และแผ่นพับ
    4.ดำเนินกิจกรรมปั่นจักรยานเก็บขยะโดยเยาวชนและประชาชนในชุมชน
    5.ประกาศผลและมอบรางวัล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมครอบครัวตัวอย่าง 29 ครอบครัว
    2. มีรถจักรยานที่เป็นพาหนะจำนวน 19 คัน
    3. มีขยะที่เก็บได้ในวันที่ 4 กันยายน 59 จำนวนขวดพลาสติก 4 กก. ขวดกระเบื้อง 14 กก. กระป๋องอลูมิเนียม 2 กก. ขยะทั่วไป เช่น ถุงพลาสติก/กล่องนม/เศษกระดาษจำนวน 56 กก.
    4. เขตบริเวณสองทางมีความสะอาดมากขึ้น

     

    50 50

    27. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยงที่ติดตามโครงการ ณ.รพ.คลองท่อม จ.กระบี่
    2. พี่เลี้ยงตรวจโครงการและทำความเข้าใจกับผู้รับผิดชอบโครงการ
    3. ตรวจเอกสารใบสำคัญรับเงิน/ตรวจสมุดบันทึกการดำเนินงาน/ตรวจหน้าสมุดบัญชี/ตรวจรายงานหน้าเวปการรายงานกิจกรรมครบทุกกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยงที่ติดตามโครงการตรวจเอกสารงวดที่ 2 และ 3 ครบทุกกิจกรรมตามปฎิทินโครงการเพื่อตรวจทานก่อนทีมพี่เลี้ยงสจรส.มอ.สรุปจากการตรวจพื้นที่โครงการสามารถทำกิจกรรมแล้วเสร็จตามที่กำหนด

     

    2 2

    28. กิจกรรมครอบครัวปั่นจักรยานเก็บขยะ- Keep Huahin Clean ครั้งที่ 2

    วันที่ 10 กันยายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะทำงาน กำหนดรูปแบบกิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน
    2.ประสานบริษัททัวร์และแกนนำชุมชน
    3.ประชาสัมพันธ์กิจกรรมทางสื่อวิทยุ เฟซบุ็ค และแผ่นพับ
    4.ดำเนินกิจกรรมปั่นจักรยานเก็บขยะโดยเยาวชนและประชาชนในชุมชน
    5.ประกาศผลและมอบรางวัล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 % เกิน 50 คน
    2. มีครอบครัวร่วมปั่นจักรยานมากกว่า 10 ครัวเรือน
    3. มีจักรยานเข้าร่วมเพิ่มขึ้น 7 คัน
    4. เขตบริเวณสองข้างทางมีความสะอาดตลอดจนบริเวณเขตท่องเที่ยวมีความสะอาด

     

    50 50

    29. 13.ประชุมคณะกรรมการจัดทำเกณฑ์ประกวดครัวเรือนต้นแบบ และโซนสะอาดบ้านน่ามอง

    วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะกรรมการจัดทำเกณฑ์การประกวดครัวเรือนโซนสะอาดบ้านน่ามองจำนวน15คน
    2.เชิญภาคีเครือข่ายร่วมจัดทำเกณฑ์ประกวดครัวเรือน
    3.มีการแบ่งโซนและรวบรวมข้อมูลจำนวน 7โซน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเสนอที่ประชุม มี 9 ตัวชี้วัดคะแนนเต็ม 100 คะแนน ใน 9 ตัวชี้วัด มีผลลัพท์จากเกณฑ์ที่ประชุม ดังนี้

    1. การมีส่วนร่วมในการประชุม / ทำกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมของครัวเรือน10คะแนน
    2. เขตบริเวรรอบบ้าน / ข้างเคียงมีความสะอาด10คะแนน
    3. มีการคัดแยกขยะอินทรีย์ / ขยะขายได้ / ขยะจำจัด / ขยะทั่วไป15คะแนน
    4. เส้นทางในการหลังการคัดแยกขยะแล้วดำเนินการอะไรต่อ20 คะแนน
    5. แยกทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ / น้ำหมักชีวภาพ 10 คะแนน
    6. แยกไว้ขาย 10 คะแนน
    7. แยกไว้ทำสิ่งประดิษฐ์ 5 คะแนน
    8. แยกไว้อบต. จัดเก็บ10 คะแนน
    9. แยกไว้กำจัดเอง

     

    15 15

    30. 14.ดำเนินการลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการจำนวน 2วัน

    วันที่ 15 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ดำเนินการลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการจำนวน 2วัน
    2.แบ่งหน้าที่กันทำงานแต่ละโซน
    3.สำรวจรวบรวมข้อมูลแต่ละครัวแต่ละโซน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลิต

    1. มีโซนเข้าร่วมประกวดจำนวน 7 โซน
    2. มีครัวเรือนเข้าร่วมโครงการประกวดจำนวน 165 ครัวเรือน
    3. มีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะมากกว่า 10 ครัวเรือน

    ผลลัพธ์

    1. ชุมชนให้ความร่วมมือในการสมัครเข้าประกวดครัวเรือนต้นแบบมากกว่าเป้าหมายที่กำหนด
    2. มีการดำเนินงานโดยภาคีเครือข่ายในพื้นที่

     

    15 15

    31. จัดกิจกรรมประกาศผลการการประกวดครัวเรือนต้นแบบ โซนบ้านน่ามอง บ้านหัวหิน

    วันที่ 18 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดประชุมคณะการประกวด เพื่อการเตรียมจัดงาน
    2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบครัวเรือนดีเด่น/โซนดีเด่น/คนดีเด่น
    3.มอบรางวัลผู้ชนะการประกวด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีครัวเรือนเข้าร่วมโครงการประกวด 165 ครัวเรือน
    2. มีครัวสะอาดบ้านน่ามองจำนวน 1 โซน
    3. มีคนดีเด่นจำนวน 10 คน
    4. มีครัวเรือนที่ชนะในการประกวดจำนวน 10 ครัวเรือน
    5. ชุมชนให้ความสำคัญและเข้าร่วมการประกวดครัวเรือนต้นแบบโซนบ้านน่ามอง
    6. บ้านหัวหิน มีความสะอาดมากขึ้น

     

    50 50

    32. ประชุมผู้ประกอบการ/แม่ค้าแผงลอย/ร้าค้าชุมชนและบริษัททัวร์ ตลอดจนบริษัทแพขนานยนต์ เพื่อชี้แจงและขอความร่วมมือในการจัดการขยะในแหล่งท่องเที่ยวบ้านหัวหิน

    วันที่ 24 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมผู้ประกอบการ และบริษัททัวร์ ตลอดจนบริษัทแพขนานยนต์
    2.แม่ค้าแผงลอย ร้านค้าชุมชน 3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
    4.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ AECไม่ทิ้งขยะในเขตชุมชนและที่สาธารณะ/ส่วนบุคคล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีครอบครัวและผู้ที่เกี่ยวข้องมาเข้าร่วมกิจกรรมมากกว่า 70 % ของจำนวนกลุ่มเป้าหมาย
    2. มีป้ายโครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในการลดขยะในชุมชนบ้านหัวหินจำนวน มากกว่า 4 ป้าย
    3. มีครัวเรือนเป็นแกนต้นแบบในการจัดการขยะมากกว่า 10 ครัวเรือน
    4. มีโซนสะอาดบ้านน่ามองดีเด่น ได้แก่โซนม่วงใหญ่จำนวน 1 โซน
    5. มีกลุ่มทำปุ๋ยหมักขยะครัวเรือน มากกว่า 70 ครัวเรือน
    6. มีกลุ่มทำสิ่งประดิษฐ์จากการแยกขยะเพื่อเพิ่มมูลค่า จำนวน 1 กลุ่ม
    7. มีกลุ่มเด็กเยาวชนร่วมศึกษาเรียนรู้ จำนวน 1 กลุ่ม

    ผลลัพธ์

    1. ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องในชุมชนให้ความร่วมมือในการจัดการขยะในชุมชนบ้านหัวหิน
    2. เกิดภาพความสะอาดในสถานที่ท่องเที่ยวบ้านหัวหิน
    3. ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่สะอาดแก่นักท่องเที่ยวที่ผ่านมา

     

    100 100

    33. วันที่ 3-5 ร่วมงานสร้างสุขคนใต้

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมงานกิจกรรมที่หอประชุมนานาชาติ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาชมการแสดงทางวัฒนธรรมของการแสดงโขน และได้ฟังปฐถาพิเศษจากอดีตนายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธ์ เวชชาชีวะ เรื่องบทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนา นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซี่ยน มีการกล่าวรายงานโดยผส.ดร.ภก.พงษ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการสุขภาพ(สจ.รส.มอ)และมีเวทีเสวนาด้านการเสริมสร้างนวัตกรรมสร้างสุข ส่วนในวันที่ 4. ต.ค 59 มีพื้นที่บ้านหัวหินปลอดขยะ ขึ้นเวทีย่อยในหัวข้อเรื่องเล่า ร้าวพลังในการการลด/คัด/แยกขยะและวิธีเพิ่มมูลค่าให้กับขยะ พร้อมกับวิธีการนำทีมชุมชนมาร่วมกิจกรรม โดยชุมชนมีความต้องการอยู่ 2 ประเด็นสาเหตุหลัก 1 ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนมีผลกระทบมากเท่าใดต้องการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน 2 คือต้องการสิ่งที่ดีๆที่มีอยู่เพื่อเป็นการต่อยอด เป็นการพัฒนาให้ดีขึ้นเพื่อหวังให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังนั้นต้องทีมชุมชนที่มีใจจิตอาสาที่รักความสะอาดมาร่วมกิจกรรมมีการนำขยะที่แยกแล้วขยะขายได้ก็ไปฝากขายที่ธนาคาร ส่วนขยะถุงพลาสติกให้อบต.จัดเก็บ แล้วขยะอินทรีย์นำไปทำปุ๋ยหมักครัวเรือนซึ่งมีคุณภาพที่ดีมีการขยายผลทำกันหลายครอบครัว เช่นใส่แปลงผักเกษตรอินทรีย์ แปลงนาข้าวเกษตรอินทรีย์ สวนยาง สวนปล์าม ให้มีความอุดมสมบูรณ์ด้านสุขภาพ กาย จิต ใจ ทั้งชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้เรียนรู้ปัญหาขยะและกลไกการบริหารการจัดการทุกด้าน
    2. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากชุมชนอื่นๆ ได้นำเสนอเรื่องเล่าเร้าพลัง ทำให้รู้สึกภูมิใจมาก
    3. ได้ฟังปฐถาพิเศษและบทบาทการเป็นผู็นำ การพัฒนานวัตรกรรมสร้างเสริมสุขภาพ

     

    2 2

    34. การถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประสานงานกับพี่เลี้ยงโครงการและจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีป้ายประชาสัมพันธ์และประกาศมาตราการจัดการขยะติดตั้งในชุมชนจำนวน 4 จุด /มีป้ายปลอดเขตบุหรี่ที่มัสยิดจำนวน 1 จุด
    2.มีรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 ฉบับ
    3.มีภาพกิจกรรมติดที่อาคารอเนกประสงค์

     

    2,000 446

    35. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.พี่เลี้ยงนัดตรวจเอกสารที่ รพ.คลองท่อม จ.กระบี่เพื่อตรวจ/ใบสำคัญรับเงิน/ตรวจเงินสดในมือจากสมุด/ตรวจสมุดบัญชีธนาคาร/และตรวจรายงานหน้าเวป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.พี่เลี้ยงตรวจเอกสารพร้อมกับให้คำแนะนำผู้รับผิดชอบโครงการพร้อมทำความเข้าใจในการตรวจเอกสารใบสำคัญรับเงิน/เงินสดในมือ/สมุดบัญชีธนาคาร/และตรวจการบันทึกรายงานกิจกรรมหน้าเวปมีการบันทึกทุกกิจกรรม 2.พื้นที่โครงการสามารถจัดทำกิจกรรมและได้รายงานตามแผนกิจกรรมตามสสส.กำหนดไว้

     

    2 2

    36. ตรวจรายงานเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเอกสาร หลักฐาน การเงินโครงการ มาตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อย เพื่อความสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ตรวจสอบเอกสารการเงินที่ไม่ถูกต้องได้ถูกเเก้ไขให้ถูกต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ถูกต้อง
    2. ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดทำรายงานการเงินให้ถูกต้องตามคำแนะนำได้
    3. สามารถปิดรายงาน การเงิน ง 2 ได้

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดสภาผู้นำชุมชนและแกนนำที่เข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด : 1. มีการประชุมประจำทุก 1 เดือน 2. การประชุมแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆตามข้อเสนอสภาชุมชน 4. มีมาตรการการดำเนินงานแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน

    1.คณะทำงานได้มีการประชุมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เข้าใจร่วมกันตามวัตถุประสงค์ ร่วมกันวางแผนงานทุกๆเรื่อง 2.มีทีมสภาผู้นำอบต.ฝ่ายปกครอง/กรรมการมัสยิด/กรรมการอสม.แม่บ้าน 3.มีการนำเสนอปัญหาในที่ประชุมเพื่อร่วมกันวางแผนแก้ไข 4.มีการวางมาตราการแก้ปัญหาขยะทั้งระยะสั้นและระยะยาว

    2 เพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.มีข้อมูลขยะในชุมชน1 ชุด 2.มีเยาวชนเข้าร่วมการอบรมให้ความรู้ในการเก็บข้อมูลขยะ 100% 3.มีคณะทำงานจัดเก็บข้อมูลจำนวน 1ชุด 4.มีแผนการดำเนินงานขยะจากฐานข้อมูล1ชุด 1.มีการปฏิบัตการด้านการจัดการขยะตามแผนงานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2.ครัวเรือนมีความรู้และการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 3.มีการคัดแยกขยะจากบ้านเรือนและร้านค้าในชุมชน เพิ่มขั้นร้อยละ 80 4.มีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากขยะ 5.เกิดธนาคารขยะ จำนวน 1 แห่ง 6.มาตราการทางสังคม จำนวน 1 เรื่อง 7.มีป้ายประชาสัมพันธ์และประกาศมาตรการจัดการขยะติดตั้งในชุมชนและสถานที่ท่องเที่ยว จำนวน 7จุด 8.เกิดมัสยิดปลอดบุหรี่ จำนวน 1แห่ง

    มีข้อมูลขยะที่จัดเก็บ 4 ประเภท 1.ขยะที่ต้องกำจัดประมาณ108 กก./สัปดาห์ 2.ขยะที่กำจัดยากประมาณ 97 กก./สัปดาห์ 3.ขยะรีไซเคิลประมาณ 165 กก./สัปดาห์ 4.ขยะอินทรีย์ประมาณ 1529 กก./สัปดาห์ ชุมชน/ร้านค้า/ผู้ประกอบการ/มีความรู้และเข้าใจมากขึ้นในการคัดแยกขยะให้ถูกวิธี มีการนำขยะมาขายและฝากที่ธนาคารขยะ พร้อมมีป้ายประชาสัมพันธ์มาตราการจัดการขยะในชุมชน

    3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

    1.มีการร่วมประชุมกับพี่เลี้ยงและสจรส.มอ จำนวน 11 ครั้ง 2.มีป้ายปลอดบุหรี่ที่มัสยิดจำนวน 1ป้าย 3.มีการถ่ายภาพทุกกิจกรรมเพื่อรายงานสสส.ตามที่กำหนด

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดสภาผู้นำชุมชนและแกนนำที่เข้มแข็ง (2) เพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ

    รหัสโครงการ 58-03838 รหัสสัญญา 58-00-1891 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ชุมชนได้รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับขยะในชุมชน ทำให้ทราบประเภทขยะ ที่มาและการคัดแยกขยะในชุมชนบ้านหัวหิน

    เอกสารรายงาน/ภาพถ่าย

    นำข้อมูลไปคืนให้กับชุมชนเพื่อดำเนินการจัดการขยะต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การดำเนินงานพัฒนาชุมชนโดยเยาวชนเข้ามาเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

    รายงาน/ภาพถ่าย /รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    สามารถต่อยอดสู่การดำเนินกิจกรรมพัฒนาด้านอื่นๆของชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    เป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานที่ดึงเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมกับผู้ใหญ่ในชุมชน

    รายงาน/ภาพถ่าย /รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    สามารถต่อยอดสู่การดำเนินกิจกรรมพัฒนาด้านอื่นๆของชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    มีเยาวชนคนรักษ์หัวหิน เป็นกลุ่มเยาวชนที่เข้ามาร่วมกิจกรรมพัฒนาชุมชนบ้านหัวหิน

    รายงาน/ภาพถ่าย

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    -

    -

    -

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ชุมชนได้มีการจัดการเกี่ยวกับขยะในบ้าน ครัวเรือน และร้านค้าทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้หันมาจัดการขยะในบ้านเรือนตนเอง

    ภาพถ่าย /รายงาน

    สามารถต่อยอดสู่การดำเนินกิจกรรมพัฒนาด้านอื่นๆของชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    มีการจัดทำป้ายสัญญลักษณ์ปลอดบุหรี่เพื่อกระตุ้นเตือนไม่ให้สูบบุหรี่ในสถานที่กำหนด เช่น มัสยิด สถานที่ประชุมในหมู่บ้าน

    ภาพถ่าย/รายงาน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    เยาวชนมีพื้นที่สร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับชุมชนเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และป้องกันการมั่วสุมในทางไม่ดีของเยาวชน

    รายงานกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    คนในชุมชนเกิดการจัดการขยะ การคัดแยกและนำไปใช้ใหม ทำให้ชุมชนสะอาดขึ้น

    ภาพถ่าย

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

    -

    -

    -

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    คนในชุมชนเกิดการจัดการขยะ การคัดแยกและนำไปใช้ใหม ทำให้ชุมชนสะอาดขึ้น

    ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    เยาวชนมีพื้นที่สร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับชุมชนเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และป้องกันการมั่วสุมในทางไม่ดีของเยาวชน

    ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการคัดแยกขยะ และนำไปขายเพิ่มมูลค่าให้กับครัวเรือน

    รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดกติกาการจัดตัั้งกลุ่มกองทุนขยะบ้านหัวหิน

    รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    มีมาตรการชุมชนในการคัดแยกขยะ และการเพ่ิมมูลค่าให้ขยะในชุมชนตลอดจนการจัดตั้งกองทุนขยะชุมชนบ้านหัวหิน

    รายงาน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    ชุมชนมีมติร่วมกันในการจัดการขยะในชุมชน เกิดข้อตกลงเกี่ยวกับการจัดการขยะและกองทุนขยะบ้านหัวหิน

    รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    -

    -

    -

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการทำงานร่วมกันของเครือข่ายในและนอกชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม.กลุ่มแม่บ้านและเยาวชนตลอดจนร้านค้้าในชุมชน

    รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ชุมชนมีเวทีการประชาคมและวิเคราะห์ปัญหาตลอดจนวางแผนการดำเนินงานแก้ปัญหาร่วมกันในการจัดการขยะ

    ภาพกิจกรรม /รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการนำเยาวชนในชุมชนมาร่วมกันสำรวจและค้นหาข้อมูลขยะในชุมชน

    ภาพถ่าย

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการประชุมคณะทำงานร่วมกันและมีเวทีการพูดคุยติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

    ภาพถ่าย/รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ชุมชนมีการพูดคุย และค้นหาแนวทางการจัดการขยะในชุมชน

    ภาพถ่าย รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    ชุมชนมีการนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการดำเนินงานและปฏิบัติตามแผนที่วางไว้

    ภาพถ่าย รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

    -

    -

    -

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    เยาวชนะและคณะทำงานมีความภาคภูมิใจในการร่วมกันทำงานโครงการ

    ภาพถ่าย

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ชุมชนมองเห็นปัญหาและแนวโน้มปัญหาในอนาคตร่วมกัน ถ้าไม่มีการจัดการปัญหาขยะในชุมชน

    รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    มีการใช้ชีวิตทีเรียบงาน ปฏิบัติตามศาสนกิจอย่างสมำ่เสมอ

    ภาพถ่าย

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีภาพการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างเด็ก เยาวชน และผู้สูงอายุโดยมีคณะทำงานเป็นแกนนำในการดำเนินงาน

    ภาพถ่าย

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    ชุมชนได้นำข้อมูลขยะมาร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการจัดการขยะในชุมชนโดยมีการศึกษาดูงานจากภายนอกและนำมาปรับใช้ในชุมชน

    ภาพถ่าย/รายงาน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

    -

    -

    -

    ร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านหัวหินปลอดขยะ จังหวัด กระบี่

    รหัสโครงการ 58-03838

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย สุวิทย์ หมาดเส็ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด