แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ เยาวชนอาสา บ้านผังปาล์ม 7 อนุรักษ์ทรัพยากร ”

บ้านผังปาล์ม 7 ม.7ต.ปาล์มพัฒนาอำเภอมะนังจังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาว อิ๊ด สินมณี

ชื่อโครงการ เยาวชนอาสา บ้านผังปาล์ม 7 อนุรักษ์ทรัพยากร

ที่อยู่ บ้านผังปาล์ม 7 ม.7ต.ปาล์มพัฒนาอำเภอมะนังจังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 58-03972 เลขที่ข้อตกลง 58-00-1985

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"เยาวชนอาสา บ้านผังปาล์ม 7 อนุรักษ์ทรัพยากร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านผังปาล์ม 7 ม.7ต.ปาล์มพัฒนาอำเภอมะนังจังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยาวชนอาสา บ้านผังปาล์ม 7 อนุรักษ์ทรัพยากร



บทคัดย่อ

โครงการ " เยาวชนอาสา บ้านผังปาล์ม 7 อนุรักษ์ทรัพยากร " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านผังปาล์ม 7 ม.7ต.ปาล์มพัฒนาอำเภอมะนังจังหวัดสตูล รหัสโครงการ 58-03972 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 212,950.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 140 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
  2. เพื่อการป้องกัน และอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  3. เพื่อลดการทำลาย ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. จัดตั้งสภาองค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงานของชุมชน
  5. กลไกลชุมชนเข้มแข็ง
  6. ชุมชนมีการตั้งกติกาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ จำนวน 1 แผน
  7. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 7 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับฟังนโยบาย และรายละเอียดการจ่ายเงินงบประมาณการคีย์กิจกรรมเข้าเวปไซด์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คีย์กิจกรรมต่างๆเข้าเวปไซด์ทั้งรายละเอียดกิจกรรม และรายละเอียดงบประมาณต่างๆ งบประมาณที่คีย์เข้าระบบพอดีกันกับกิจกรรมที่ได้วางไว้

     

    2 2

    2. ทำป้ายปลอดบุหรี่

    วันที่ 15 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 2 ป้าย ป้าย ลด ละ เลิก จำนวน 2 ป้าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 2 ป้าย
    • ป้ายลด ละ เลิก จำนวน 2 ป้าย
    • คนในชุมชนเกิดความตระหนักและยึดถือปฏิบัติตาม นำไปสู่การ ลด ละ เลิกในอนาคต

     

    140 140

    3. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(1/12)

    วันที่ 15 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน เพื่อวางแผนขับเคลื่อนการดำเนินงานออกแบบการการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน เดือนละ1 ครั้ง
    2. จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการโครงการ ใช้เวลา 1 วัน โดยการแต่งตั้งแกนนำกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ในชุมชนมาร่วมบริหารโครงการ รวม 30 คนทำหนังสือเชิญและประสาน ความร่วมมือรายบุคคลก่อนประชุม กำหนดการ ช่วงเช้าอบรมบทบาทหน้าที่สภาฯ โดยมีการแบ่งหน้าที่ออกเป็น 3 ฝ่าย
      • ฝ่ายสถานที่มีนายอำนวยจันทร์แดง เป็นประธานดูแลเรื่องสถานที่ในการจัดกิจกรรมในภาพรวม
      • ฝ่ายอาหารมีนางสาวปรีดา หวังจิเป็นประธานดูแลเรื่องอาหาร และอาหารว่างในแต่ละกิจกรรมในภาพรวม
      • ฝ่ายจัดกิจกรรมมีนายสมยศวิทยานิลพันธ์เป็นประธานดูแลเรื่อง การกำหนดและวางแผนการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามโครงการ

    ช่วงบ่ายทำความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรมโครงการ และร่วมวางแผนกิจกรรมซึ่งในครั้งนี้เงินงบประมาณยังไม่ได้โอนลงมาแต่ทางแกนนำและสมาชิกกลุ่ม มีข้อตกลงว่าจะเริ่มดำเนินการไปก่อนเพราะถ้าปล่อยให้ยืดเยื้อออกไป เมื่อเข้าฤดูแล้งกิจกรรมการปลูกป่า ไม่สามารถทำได้ ส่วนแผนการจัดกิจกรรมต่างๆว่าจะจัดวันไหนบ้างจะมีการประชุมในครั้ง ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. แต่งต้ังคณะกรรมการของแต่ละกิจกรรม
    2. มอบหมายหน้าที่รับผิดแต่ละกิจกรรม
    3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการ
    4. วางแผนการทำงาน

     

    20 20

    4. อบรมให้ความรู้เรืองทรัพยากรธรรมชาติ

    วันที่ 20 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดกิจกรรม หาแกนนำเติมความรู้ เริ่มกิจกรรม เวลา 09.00 - 09.30ลงทะเบียนและรับเอกสารประกอบการอบรม

    09.30 - 12.00 วิทยากรให้ความรู้เรื่องกฏหมายเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า และผลกระทบจากการปลูกผลผลิตในเขตป่าต้นน้ำ 12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.30 วิทยากรให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของทรัพยากร และการอยู่ร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีคณะกรรมการดำเนินงาน 25 คน
    • กำหนดบทบาทและหน้าที่ในการช่วยกันดูแลรักษาป่า
    • มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องกฏหมายเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า และผลกระทบจากการปลูกผลผลิตในเขตป่าต้นน้ำ นำไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง
    • มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องประโยชน์ของทรัพยากร และการอยู่ร่วมกัน ได้ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนต่อไป

     

    80 80

    5. เยาวชนนำทีมสำรวจ ทำแผนทรัพยากรชุมชน

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำทีมกลุ่ม เยาวชนอาสา อนุรักษ์ทรัพยากรบ้านผังปาล์ม 7 จำนวน 25 คน ลงพื้นที่ป่าชุมชน แปลงที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำทีมกลุ่ม เยาวชนอาสา อนุรักษ์ทรัพยากรบ้านผังปาล์ม 7 จำนวน 25 คน ลงพื้นที่ป่าชุมชน แปลงที่ 1 เพื่อ

    1. มีการสำรวจข้อมูลพันธ์ุไม้ต่างๆ ภายในป่าชุมชนพร้อมจับพิกัด ระบุตำแหน่งที่ตั้งของต้นไม้
    2. มีการจัดทำประวัติต้นไม้ พร้อมทั้งลงข้อมูลเข้าระบบgisเพื่อขึ้นเป็นผังต้นไม้และขอบเขตป่าชุมชน
    3. มีจัดทำแผนพัฒนาพื้นที่
    4. มีฐานข้อมูลทรัพยากรและแผนที่คุณค่าทรัพยากร
    5. เกิดแกนนำเยาวชน
    6. แกนนำเยาวชนเกิดการรักถิ่นฐาน หวงแหนทรัพยากร

     

    25 25

    6. เยาวชนนำทีมสำรวจ ทำแผนทรัพยากรชุมชน

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน -สำรวจต้นไม้ใหญ่ จำนวน60 ต้น -สำรวจสมุนไพรจำนวน 3 ชนิด ประกอบด้วยปลาไหลเผือก พญาเสือโคร่ง -สำรวจต้นน้ำเพื่อเตรียมพื้นที่จัดทำฝายขนาดเล็ก
    2. จัดทำแผนทรัพยากรธรรมชาติโดยเยาวชนแกนนำและชุมชน ใช้เวลา 5 วัน

     

    25 25

    7. เยาวชนนำทีมสำรวจ ทำแผนทรัพยากรชุมชน

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน -สำรวจต้นไม้ใหญ่
      -สำรวจสมุนไพร -สำรวจต้นน้ำเพื่อเตรียมพื้นที่จัดทำฝายขนาดเล็ก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน

    - สำรวจต้นไม้ใหญ่ จำนวน60 ต้น - สำรวจสมุนไพรจำนวน 3 ชนิด ประกอบด้วยปลาไหลเผือก พญาเสือโคร่ง - สำรวจต้นน้ำเพื่อเตรียมพื้นที่จัดทำฝายขนาดเล็ก 2. จัดทำแผนทรัพยากรธรรมชาติโดยเยาวชนแกนนำและชุมชน ใช้เวลา 5 วัน

     

    25 25

    8. เยาวชนนำทีมสำรวจ ทำแผนทรัพยากรชุมชน

    วันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน -สำรวจต้นไม้ใหญ่ -สำรวจสมุนไพร -สำรวจต้นน้ำเพื่อเตรียมพื้นที่จัดทำฝายขนาดเล็ก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน -สำรวจต้นไม้ใหญ่ จำนวน60 ต้น -สำรวจสมุนไพรจำนวน 3 ชนิด ประกอบด้วยปลาไหลเผือก พญาเสือโคร่ง -สำรวจต้นน้ำเพื่อเตรียมพื้นที่จัดทำฝายขนาดเล็ก
    2. จัดทำแผนทรัพยากรธรรมชาติโดยเยาวชนแกนนำและชุมชน ใช้เวลา 5 วัน

     

    25 25

    9. เยาวชนนำทีมสำรวจ ทำแผนทรัพยากรชุมชน

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน -สำรวจต้นไม้ใหญ่ -สำรวจสมุนไพร -สำรวจต้นน้ำเพื่อเตรียมพื้นที่จัดทำฝายขนาดเล็ก
    2. จัดทำแผนทรัพยากรธรรมชาติโดยเยาวชนแกนนำและชุมชน ใช้เวลา 5 วัน หมายเหตุเนื่องจากการสำรวจในวันแรกเกิดปัญหา เดินได้ช้ากว่าที่วางกำหนดการไว้มากทำให้ต้องมีการประชุมเพิ่มเติมเพื่อปรับแปนการเดิน เพื่อให้สามารถเดินได้ตามเป้าหมายที่ได้วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงพื้นที่สำรวจข้อมูลฐานทัพยากรธรรมชาติ ป่าต้นน้ำของชุมชน พร้อมกับทำแผนที่คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดย เยาวชนในหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นำชุมชน และผู้รู้ของหมู่บ้าน -สำรวจต้นไม้ใหญ่ จำนวน60 ต้น -สำรวจสมุนไพรจำนวน 3 ชนิด ประกอบด้วยปลาไหลเผือก พญาเสือโคร่ง -สำรวจต้นน้ำเพื่อเตรียมพื้นที่จัดทำฝายขนาดเล็ก
    2. จัดทำแผนทรัพยากรธรรมชาติโดยเยาวชนแกนนำและชุมชน ต่อจากวันที่ 1

     

    25 25

    10. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(2/12)

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน
    2. จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน เพื่อวางแผนขับเคลื่อนการดำเนินงานออกแบบการการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน เดือนละ1 ครั้ง
    2. จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการโครงการ ใช้เวลา 1 วัน โดยการแต่งตั้งแกนนำกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ในชุมชนมาร่วมบริหารโครงการ รวม 30 คนทำหนังสือเชิญและประสานความร่วมมือรายบุคคลก่อนประชุม กำหนดการ ช่วงเช้าอบรมบทบาทหน้าที่สภาฯ ช่วงบ่ายทำความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรมโครงการ

     

    20 25

    11. ป่าวประกาศแล้วช่วยกันดูแล

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การคืนข้อมูลการสำรวจเขตป่าชุมชนพื้นที่ทำกินข้อมูลทรัพยากรชุมชนและทรัพยากร ในชุมชน
    2. ร่วมกันจัดทำแผนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน
    3. ร่วมกันลงมติหาพื้นที่อนุรักษ์ทรัพยากรของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เย่าวชนเกิดความรักสำนึกในทรัพยากรของบ้านเกิด ด้วยกิจกรรมท่ลงสำรวจป่าไม้ม ทำให้ทราบจำนวนของป่า
    • เกิดแผนการอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชน

     

    50 50

    12. อบรมการเขียนรายงานโครงการ

    วันที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 09.00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เวลา 08.30 - 09.00 น.ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรม
    • เวลา 09.00 - 12.00 น.การเขียนรายงานเพื่อรายงานความคืบหน้าของการจัดกิจกรรมโครงการ การเขียนรายงานที่ดี เขียนอย่างไรที่บุคคลภายนอกเข้ามาอ่านแล้วสามารถทราบและเข้าใจรายละเอียดของโครงการได้ทันที
    • เวลา 13.00 - 16.00 น.เการจัดทำสรุปรายงานปิดงวดโครงการ ตลอดจนการจัดเก็บเอกสาร และการจัดทำบัญชีโครงการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถเขียนรายงานเพื่อรายงานความคืบหน้าของการจัดกิจกรรมโครงการ การเขียนรายงานที่ดี เขียนอย่างไรที่บุคคลภายนอกเข้ามาอ่านแล้วสามารถทราบและเข้าใจรายละเอียดของโครงการได้ทันที การจัดทำสรุปรายงานปิดงวดโครงการ ตลอดจนการจัดเก็บเอกสาร และการจัดทำบัญชีโครงการ

     

    2 2

    13. ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ

    วันที่ 5 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ

      • ส่งเสริม จัดทำแปลงเพาะชำกล้าไม้หายาก พืชสมุนสมุนไพร
      • อบรมให้ความรู้ในการจัดทำแปลงเพาะชำกล้าไม้
      • จัดทำแปลงเพาะชำกล้าไม้และพืชสมุนไพร กล้วยไม้ป่า
      • ปลูกต้นไม้ไพรพืชสมุนไพร(ไม่ใช้งบประมาณ)
    2. ชวนเยาวชนและแกนนำทำแปลงชำกล้าไม้และสมุนไพรของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวขน และแกนนำ 50 คน ได้ความรู้การจัดทำแปลงเพาะชำกล้าไม้ และได้เรียนรู้รู้จักชื่อชนิดพืชสมุนไพร จากนั้นช่วยกันปลูกแปลงชำกล้าไม้และสมุนไพรของชุมชน

     

    50 50

    14. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(3/12)

    วันที่ 15 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน เพื่อวางแผนขับเคลื่อนการดำเนินงานออกแบบการการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน เดือนละ1 ครั้ง
    2. จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการโครงการ ใช้เวลา 1 วัน โดยการแต่งตั้งแกนนำกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ในชุมชนมาร่วมบริหารโครงการ รวม 30 คนทำหนังสือเชิญและประสานความร่วมมือรายบุคคลก่อนประชุม กำหนดการ ช่วงเช้าอบรมบทบาทหน้าที่สภาฯ ช่วงบ่ายทำความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานสรุปกิจกรรมการสำรวจป่า ได้สร้างแกนนำดูแลทรัพยกร และช่วยกันดูแล พูดคุยถึงข้อมูลทรัพยากรนำไปสู่การจัดการต่อไป

     

    20 20

    15. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(4/12)

    วันที่ 15 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาผู้นำชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สภาผู้นำชุมชนได้ประชุมสัญจรของส่วนราชการชุมชน ได้แนะนำโครงการ สสส.แก่หน่วยงานรัฐ ซึ่งพูดคุยการทำกิจกรรมการดูแลทรัพยกร และสร้างความร่วมมือของทุกฝ่ายทั้งประชาชนและรัฐ ในการช่วยกันดูแลทรัพยากร

     

    20 20

    16. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(5/12)

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประเมินผลการทำงาน จัดเก็บข้อมูลเพื่อเขียนรายงาน และจัดทำเอกสารค่าใช้จ่ายที่ถูกต้อง และวางแนวทางการทำงานต่อไป

     

    20 20

    17. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(6/12)

    วันที่ 15 มีนาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน เพื่อวางแผนขับเคลื่อนการดำเนินงานออกแบบการการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน เดือนละ1 ครั้ง
    2. จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการโครงการ ใช้เวลา 1 วัน โดยการแต่งตั้งแกนนำกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ในชุมชนมาร่วมบริหารโครงการ รวม 30 คนทำหนังสือเชิญและประสานความร่วมมือรายบุคคลก่อนประชุม กำหนดการ ช่วงเช้าอบรมบทบาทหน้าที่สภาฯ ช่วงบ่ายทำความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปข้อมูลการสำรวจอีกครั้ง และพูดคุยปัญหาอุปสรรคที่ผ่าน และร่วมกันแก้ไข

     

    20 20

    18. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(7/12)

    วันที่ 15 เมษายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน เพื่อวางแผนขับเคลื่อนการดำเนินงานออกแบบการการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน เดือนละ1 ครั้ง
    2. จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการโครงการ ใช้เวลา 1 วัน โดยการแต่งตั้งแกนนำกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ในชุมชนมาร่วมบริหารโครงการ รวม 30 คนทำหนังสือเชิญและประสานความร่วมมือรายบุคคลก่อนประชุม กำหนดการ ช่วงเช้าอบรมบทบาทหน้าที่สภาฯ ช่วงบ่ายทำความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้พูดคุยถึงปัญหาที่พบเจอ และร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหา

     

    20 20

    19. ขับเคลื่่อนสภาผู้นำชุมชน สร้างกลไกลทีม(8/12)

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมพัฒนาบทบาทคณะทำงาน เพื่อวางแผนขับเคลื่อนการดำเนินงานออกแบบการการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนการดำเนินงาน ในอนาคตจะขอพักการดำเนินงานโครงการก่อน เนื่องจากภาระงานที่มาก จึงขอพักการทำกิจกรรมนี้ก่อน

     

    20 20

    20. จัดทำรายงานปิดงวด

    วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบ บันทึกข้อมูลในระบบ และตรวจสอบเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถจัดทำเอกสารรายงานการปิดงวดที่ 1

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีสมาชิกในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมครบตามกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ ร้อยละ80 2. เกิดสภาผู้นำชุมชนเพื่อพูดคุยเรื่องการเเก้ปัญหาในหมู่บ้าน 2. มีเวทีประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง (12 เดือน)

    1 มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมตามที่กำหนดกลุ่มเป้าหมายไว้ 2 เกิดสภาผู้นำชุมชนที่ประกอบด้วยผู้นำชุมชน และแกนนำในพื้นที่ช่วยกันจัดการปัญหาในพื้นที่ 3 เกิดเวทีประชุมร่วมกันเดือนละ 1 ครั้ง

    2 เพื่อการป้องกัน และอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีสมาชิกในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมครบตามกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ ร้อยละ 80 2. เกิดป่าชุมชนเพื่ออนุรักษ์ไว้คู่กับชุมชนและมีต้นน้ำและฝายขนาดเล็กไว้ใช้น้ำในฤดูแล้ง 3. เกิดกลุ่มเยาวชนอนุรักษ์ทรัพยากรชุมชน 4. เยาวชนอาสามีรายได้เพิ่มขึ้นจากพืชสมุนไพรในป่าชุมชน และมีอาชีพเสริม 5. เกิดแผนชุมชนด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม 1 ชุดจากการมีส่วนร่วมของชุมชน ุ6. มีชุดข้อมูลทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน 1 ชุดจากการมีส่วนร่วมของชุมชน
    1. มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมตามที่กำหนดกลุ่มเป้าหมายไว้
    2. มีพื้นที่จัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าชุมชนจำนวน 378 ไร่ และบริเวณเขื่อนน้ำประปาหมู่บ้านอีกจำนวน 3 เขื่อน
    3. เกิดกลุ่มเยาวชนอนุรักษ์ทรัพยากร จำนวน 1 กลุ่ม มีสมาชิก 25 คน
    4. เกิดแผนในด้านการอนุรักษ์และดูแลทรัพยากร และกติการ่วมกันในการปกป้องผืนป่า
    3 เพื่อลดการทำลาย ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดเขตอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน 2. กลุ่มเยาวชนเกิดทักษะในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 3. เกิดศูนย์เรียนรู้แหล่งทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน 4. เกิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนโดยเยาวชนต้นแบบ
    1. มีเขตพื้นที่อนุรักษ์เพื่อดูแลทรัพยากรร่วมกัน จำนวน 4 แปลง
    2. กลุ่มเยาวชนนักอนุรักษ์มีทักษะในการบริหารจัดการป่าชุมชน
    3. เกิดศูนย์เรียนรู้แหล่งทรัพยากรธรรมชาติจำนวน 1 แปลง
    4. มีการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่
    4 จัดตั้งสภาองค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงานของชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดสภาผู้นำชุมชนเพื่อพูดคุยเรื่องการเเก้ปัญหาในหมู่บ้าน 2. มีเวทีประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง 3. มีกติกาหมู่บ้านอนุรักษ์ทรัพยากร การบริหารจัดการเเละดูเเลป่า
    1. เกิดสภาผู้นำเพื่อปรึกษาหารือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชุมชน
    2. มีเวทีประชุมสภาผู้นำเดือนละ 1 ครั้ง
    3. มีกติการ่วมกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    5 กลไกลชุมชนเข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดสภาผู้นำชุมชนเพื่อพูดคุยเรื่องการเเก้ปัญหาในหมู่บ้าน 2. มีเวทีประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง 3. มีกติกาหมู่บ้านอนุรักษ์ทรัพยากร การบริหารจัดการเเละดูเเลป่า 4. มีการประชุมร่วมกับภาครัฐ 12 ครั้ง/ปี
    1. เกิดสภาผู้นำเพื่อปรึกษาหารือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชุมชน
    2. มีเวทีประชุมสภาผู้นำเดือนละ1 ครั้ง
    3. มีกติการ่วมกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    6 ชุมชนมีการตั้งกติกาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ จำนวน 1 แผน
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดสภาผู้นำชุมชนเพื่อพูดคุยเรื่องการเเก้ปัญหาในหมู่บ้าน 2. มีเวทีประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง 3. มีกติกาหมู่บ้านอนุรักษ์ทรัพยากร การบริหารจัดการเเละดูเเลทรัพยากร

    1.เกิดสภาผู้นำเพื่อปรึกษาหารือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชุมชน 2.มีเวทีประชุมสภาผู้นำเดือนละ1 ครั้ง 3.มีกติการ่วมกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

    7 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    1. ประชุมร่วมกับ สสส. ทุกครั้งที่มีการนัดหมาย
    2. มีการจัดทำป้ายปลอดบุหรี่
    3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน (2) เพื่อการป้องกัน และอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน (3) เพื่อลดการทำลาย ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน (4) จัดตั้งสภาองค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงานของชุมชน (5) กลไกลชุมชนเข้มแข็ง (6) ชุมชนมีการตั้งกติกาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ จำนวน 1 แผน (7) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ เยาวชนอาสา บ้านผังปาล์ม 7 อนุรักษ์ทรัพยากร

    รหัสโครงการ 58-03972 รหัสสัญญา 58-00-1985 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    แกนนำเยาวชน จำนวน 25 คน

    รายชื่อแกนนำและภาพถ่ายการทำกิจกรรม

    ชุมชนมีพื้นที่ให้เยาวชนแสดงออก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มเยาวชนและแกนนำหมู่บ้าน จากเดิมไม่เคยมีกลุ่มเยาวชนเข้ามาร่วมในกิจกรรมของชุมชน

    รายงานการประชุม

    มีพื้นที่ให้เยาวชนได้แสดงออก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการเชิญบุคคลที่ชุมชนให้ความเชื่อถือมาให้ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร

    แผนทรัพยากรชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    เยาวชนแกนนำที่เข้าร่วมเกิดความภาคภูมิใจ

    ภาพถ่ายกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    เยาวชนอาสา บ้านผังปาล์ม 7 อนุรักษ์ทรัพยากร จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 58-03972

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาว อิ๊ด สินมณี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด