directions_run

สร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่ ม.7 บ้านเจาะกะพ้อใน

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)
ตัวชี้วัด : 1.เกิดสภาผู้นำ(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่) จำนวน 30 คน 2.สภาผู้นำ(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)ขับเคลื่อนประเมินผล โดยการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 12 ครั้ง

 

 

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูลด้านธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และนกเงือก
ตัวชี้วัด : 1.ในชุมชนมีข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก)

 

 

 

3 เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก) และจัดทำแผนปฏิบัติการ
ตัวชี้วัด : 1.เกิดแผนการป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟูและพัฒนา ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก) สร้างความสมดุลของธรรมชาติ บ้านเจาะกะพ้อใน

 

 

 

4 เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนา ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก)
ตัวชี้วัด : 1. มีกลุ่มเครือข่ายธรรมชาติ 4กลุ่ม คือ - คณะกรรมการดำเนินงาน จำนวน 30 คน จากแกนนำในชุมชน - กลุ่มเยาวชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและนกเงือกในบ้านเกิด จำนวน 20 คน - กลุ่มท่องเที่ยวเชิงนิเวศ“กลุ่มชุมชนพาเที่ยวธรรมชาติ" จำนวน 20 คน - กลุ่มอาสาพัฒนาและฟื้นฟูป่าชุมชน บ้านเจาะกะพ้อในจำนวน 20 คน 2. เกิด 1 ศูนย์เรียนรู้ด้านธรรมชาติป่าของชุมชนและด้านตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก) 3. ทรัพยากรด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)สมดุลตามหลักธรรมชาติ

 

 

 

5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด