directions_run

สร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่ ม.7 บ้านเจาะกะพ้อใน

assignment
บันทึกกิจกรรม
ตรวจเอกสารปิดโครงการ15 ตุลาคม 2559
15
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจเอกสารรายงานส่งเจ้าหน้าที่สจรส.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. นัดพี่เลี้ยงในการประสานเจ้าหน้าที สจรส.มอหาดใหญ่
  2. เตรียมเอกสารการเงินปิดโครงการ  ผู้รับผิดชอบโครงการ  เจ้าหน้าที่การเงินนำเอกสารการเงิน สมุดบัญชีธนาคารส่งเจ้าหน้าที่ สจส.เพื่อจัดทำรายงานปิดโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เอกสารการเงินมีการปรับแก้ และได้ดำเนินการแก้ไขในเว็บไซต์แล้ว สามารถส่งรายงานให้ สสส.ได้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ  เจ้าหน้าที่การเงิน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ตรวจรายงานเอกสารส่งเจ้าหน้าที่สจรส12 ตุลาคม 2559
12
ตุลาคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำเอกสารรายงานส่งเจ้าหน้าที่สจรส

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

  พี่เลี้ยงนัดผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อตรวจเอกสารรายงาน การเงินและการบันทึกข้อมูลบนเว็ปไซด์เพื่อจัดทำรายงานส่งเจ้าหน้าที่สจรส

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  เจ้าหน้าที่การเงิน นำเอกสารายงานตรวจครบถ้วนถูกต้องเตรียมส่งเจ้าหน้าที่สจรส

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ  เจ้าหน้าที่การเงิน  พี่เลี้ยงโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พบพี่เลี้ยงตรวจเอกสารรายงานปิดโครงการ12 ตุลาคม 2559
12
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • พี่เลี้ยงโครงการได้นัดหมายวันและเวลา โดยทุกโครงการจะต้องเข้าไปพบพี่เลี้ยงโครงการในวันและเวลาที่กำหนดเพื่อให้การดำเนินงานของโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลเข้าใจและปฏิบัติได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของการรายงานผลโครงการผ่านเว็บ โดยส่วนใหญ่จะมีปัญหาในการรายงานด้านผลผลิต และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ
จนท.บันทึกข้อมูล 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ถ่ายภาพกิจกรรมถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน11 ตุลาคม 2559
11
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำเอกสารปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

  ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินจัดทำเอกสารเป็นรูปเล่มและล้างรูปกิจกรรมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำเอกสาร 10เล่มและล้างรูปกิจกรรมในการปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ
เจ้าหน้าที่การเงิน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้3 ตุลาคม 2559
3
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเข้าร่วมงานสร้างสุขและแลกเปลียนเรียนรู้ในกลุ่มเครือข่าย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ส่งรายชื่อประสานพี่เลี้ยงคณะทำงาน 3 คน
  2. ประสานที่พักที่หาดใหญ่
  3. ลงทะเบียนเข้าร่วมงานวันที่ 3 เดินทางเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้วันที่ 3 ตุลาคม2559 ถึงวันที่ 5 ตุลาคม 2559 โดยผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้และนำเสนอผลการดำเนินงาน ในเวทีเรื่องเล่าเร้าพลังและนำเสนอกระบวนการทำงาน ความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ และได้จัดบูธมีชีวิต โดยการจำลองที่ดูนกเงือก และจำลองนกเงือกหัวแรดให้กับผู้เข้าร่วมงานสร้างสุขได้สัมผัส ตั้งแต่เวลา 13.00 น จนเสร็จสิ้นวันที่ 5 ตุลาคม 2559 ณ หอประชุมนานาชาติ มอ.หาดใหญ่
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการจำนวน 9 คน เข้าร่วมจัดนิทศรรการ งานสร้างสุขคนใต้ ณ หอประชุม มอ.หาดใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 เริ่มจัดนิทศรรการวันที่ 3 ตุลาคม 255 9ตั้งแต่เวลา 9.00 น. ร่วมเปิดงานสร้างสุขคนใต้ในเวลา 13.00 น. ภายในงานประกอบด้วยการจัดนิทศรรการภายโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ทั้ง 14 จังหวัดและเครือข่ายตระกูล ส.เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพ สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ เครือข่ายปัจจัยเสี่ยง เครือข่ายเด็กและเยาวชน วันที่4 ตุลาคมเป็นการแลกเปลี่ยนและแบ่งห้อง ซึ่งประกอบด้วย ห้องชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ห้องกองทุนหลักประกันสุขภาพ ห้องปัจจัยเสี่ยง ห้องเยาวชน ห้องสมัชชาสุขภาพบรรยาการศการแลกเปลี่ยนในห้องย่อยชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ เป็นการเสวนา แลกเปลี่ยน ผลจากการดำเนินภายใต้โครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ผลสำเร็จ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ทิศทางการเคลื่อนงาน การสนับสนุน ต่อยอดจากหน่วยงานรัฐท้องถิ่นและชุมชน โดยมีผู้ทรงคุณวิฒิให้คำแนะนำพร้อมทั้งเสริมและให้กำลัง ทำให้เกิดแนวคิดในการต้่อยอดโครงการ วันที่5ตุลาคมเป็นวันสุดท้ายของงานสร้างสรุป นำผลสรุปแต่ละห้องย่อยเพื่อนำข้อเสนอเชิงนโยบายมอบแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 9 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1คน
จนท. การเงิน1คน
สมาชิก 7คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 12 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน4 กันยายน 2559
4
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. จัดเตรียมสถานที่
  5. ประชาสัมพันธ์แจ้งให้สมาชิกเชิญชวนตามกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การประชุมคณะกรรมการสภาเพื่อประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมาการประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมเพื่อแจ้งการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่าน โดยรองประธานสภาได้แจ้งในที่ประชุมทราบ กำหนดการจัดงานคนใต้สร้างสุข ที่ สจรส.มอ หาดใหญ่ โดยปีนี้โครงการสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่ได้รับคัดเลือก 1 ใน 12 โครงการทั้งหมดของปัตตานี ให้เป็นตัวแทนนำเสนอกิจกรรมที่ทำในรอบ 1 ปีที่ผ่านโดยไปจัดบูธ ในรูปแบบบูธมีชีวิต "อดีตพรานและครอบครัวนกเงือกได้ออกแบบ โพรงนกและจำลองนกเงือก" ไปแสดงในงาน และสมาชิกท่านอื่นๆ ได้เสนอให้เพิ่มความเป็นธรรมชาติในบูธของบูโด โดยการเก็บใบไม้แห้งไปวางในบริเวณทางเดินในบูธ และนายแวอุเซ็งแต (ปราชญ์หมอดิน) ได้เสนอให้นำของดีๆ ที่อยู่ในหมู่บ้านหรือนวัตกรรมของหมู่บ้านไปนำเสนอในงานด้วย โดยขอนำ น้ำส้มควันไม้ไปแสดงและจำหน่ายด้วย เพราะถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของหมู่บ้านที่ได้ทำร่วมกันและได้คุยในเรื่องของการต่อยอดโครงการในปีที่ 2 โดยนายซัยฟุดดีน
  • รอบปิดโครงการทำให้เกิดการวิเคราะห์ปัญหาและโอกาสของพื้นที่มากยิ่งขึ้น จากการที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างกลุ่มเครือข่ายในหมู่บ้านไม่ว่าจะเป็นกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ ที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมทำให้หมู่บ้านมีชีวิตและมีความรู้สึกว่าป่านั้นมีความสำคัญ และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้กับสิ่งที่เรามีอยู่ในตอนนี้ และการทำงานที่ดีที่สุดการส่งต่อ และการสานต่อภารกิจ ทุกๆ กิจกรรมที่ผ่านมาทางฝ่ายผู้นำท้องที่ ท้องถิ่น ได้ให้ความสำคัญและให้ความร่วมมืออย่างดี ทำให้ทุกกิจกรรมสำเร็จลุลวงไปด้วยดี ถึงจะไม่ถึงหนึ่งเปอร์เซ็นก็ตาม แต่ก็สามารถทำกิจกรรมจนเสร็จสิ้นสามารถปิดโครงการ ในวันที่ 15 ตุลาคม 2559 ภายใต้งบประมาณการสนับสนุนจาก สสส.จำนวน 19,770 บาทโดยแบ่งเป็น 3 งวด งวดที่ 1 .สสส.โอนมา 79,080 บาท งวดที่ 2 98,850 บาท และในงวดที่ 3 จำนวน 19,770 บาท การโอนงบประมาณในงวดที่ 3 มิได้โอนมาเนื่องจากการดำเนินงานโครงการจะได้รับงบประมาณหลังจากปิดโครงการในวงดที่ 2 และ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการต้องสำรองงบเพื่อให้การดำเนินกิจกรรมโครงการสามารถปิดโครงการได้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 26 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยทำงาน 21  คน
กลุ่มสูงวัย  5  คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ประเมินผล/สรุปโครงการ3 กันยายน 2559
3
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนา ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. จัดเตรียมสถานที่
  5. ประชาสัมพันธ์แจ้งให้สมาชิกเชิญชวนตามกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยส่งข้อความเชิญประชุมในกลุ่มไลน์ก่อน และได้ทำหนังสือเชิญประชุมจากหน่วยงานภาครัฐ อบต.และหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกลุ่มเป้าหมาย 60 คนซึ่งประกอบด้วยกลุ่มวัยเรียน 5 คน กลุ่มวัยทำงาน 42 คน กลุ่มสูงวัย13 คน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการดำเนินงานโครงการและกลุ่มเป้าหมายจำนวน 60 คน ได้ร่วมกันจัดเวทีในครั้งนี้ทำให้เห็นถึงความร่วมมือในการทำงานเป็นสิ่งสำคัญ และเป็นเรื่องที่จะต้องให้เกิดในชุมชนเพราะความร่วมมือคือก้าวแรกที่จะเดินไปสู่ความสำเร็จ ไม่มีกิจกรรม กิจการใดที่จะเร็๋จผลโดยที่ไม่ได้รับความร่วมมือจากใครเลย
  • สิ่งที่เกิดขึ้นในชุมชนช่วง 1 ปีที่ผ่านมา และการทำงานโครงการชุมชนได้ภาคีเครือข่ายไม่ว่าจะเป็นด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านความร่วมมือร่วมใจกัน และด้านมาตรการต่างๆในการช่วยกันดูแลและป้องกันชุมชนและป่าให้อยู่ร่วมกันจนเกิดกลุ่มอนุรักษ์นกเงือก เกิดกลุ่มท่องเทียวเชิงนิเวศ์และกลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์และเกิดการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการสร้างความร่วมมือ ของกลุ่มสภาผู้นำที่ให้ความสำคัญกับการรักษาวิถีชีวิตชุมชน ที่เชื่อมโยงกับการดูแลรักษาระบบนิเวศป่าธรรมชาติ ซึ่งให้ประโยชน์และมีคุณค่าต่อการดำรงชีวิตของชุมชนบ้านเจาะกะพ้อใน มาอย่างยาวนาน ทั้งในด้าน ผลผลิตจากป่า ความหลากหลายทางชิวภาพ การท่องเที่ยวและนันทนาการ การป้องกันภัยพิบัติ การเป็นแหล่งพึ่งพิ่งอาหาร รวมทั้งใช้เป็นพื้นที่สำหรับเชื่อมโยง จารีตประเพณี ของชุมชนด้วยเหตุนี้ การดำเนินโครงการจึงเป็นความพยายามที่ต้องการให้ชุมชนตระหนักรู้ ตระหนักคิด ตระหนักแก้ ต่อความเสี่ยงที่อาจกระทบต่อวิถีชีวิต ชุมชนโดยใช้กิจกรรมการอนุรักษ์ เป็นสื่อในการเรียนรู้ภายใต้กลไก ความเห็นพองต้องกัน ของกลุ่มภาคีในท้องถิ่นในรูปแบบของ สภาผู้นำ อันเป็นการสร้างความเข้มแข็ง ในการพัฒนาชุมชนอย่างยังยืนต่อไป
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 70 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยเรียน 5 คน
กลุ่มวัยทำงาน42 คน
กลุ่มสูงวัย13 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 11 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน27 สิงหาคม 2559
27
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมการสภาจำนวน 30 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 20.00 น.ประชุมในภาคบ่ายจัดเตรียมสถานที่ จัดโต๊ะและเก้าอี้ ทางผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการเปิดการประชุมโดยแจ้งที่ประชุมทราบเรื่องการจัดบูธโชว์ในวันที่ 3 -4 ต.ค. ที่ มอ.หาดใหญ่
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 30 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 20.00 น.โดยการดำเนินงานในการเตรียมงานนั้นตอนนี้ได้แล้วไม่ถึงร้อยละ 50 ทางสภาจึงขอความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบช่วยเร่งการจัดทำในส่วนของการจำลองโพรงนกและตัวนก เพราะเป็นชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ และเป็นความสามารถของเฉพาะบุคคลที่จะแกะสลักตัวนกเงือก และทางสมาชิกได้นำเสนอให้นำเสนอนวัตกรรมที่เกิดในชุมชนด้วยในวันออกบูธโชว์ผลงานที่ มอ.หาดใหญ่ ซึ่งเป็นผลผลิตที่เกิดจากศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ที่ประชุมเห็นชอบที่จะไปนำเสนอด้วย ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่เข้ามาชมบูทซื้อไปใช้ประโยชน์จากน้ำส้มควันไม้ของหมู่บ้านเจาะกะพ้อใน และเป็นการประชาสัมพันธ์ของดี ๆ ในหมู่บ้านได้อีกช่องทางหนึ่ง
  • ทางแวอูเซ็งแต ได้แจ้งให้ทราบเรื่องที่อำเภอกะพ้อ ได้เชิญตัวเองและปราชญ์นกเงือก นายสะมูดิง ซีบะ ไปพบที่อำเภอ สอบถามเรื่องการอนุรักษ์และกลุ่มอนุรักษ์ในพื้นที่เนื่องจากนายอำเภอได้ข่าวว่ามีกลุ่มอนุรักษ์และมีการจัดกลุ่มในการดูแลพื้นที่ป่า จึงขอข้อมูลและจะติดตามการดำเนินการของกลุ่มต่อไป เพื่อให้เกิดการทำงานอย่างมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานรัฐและประชาชน
  • การประชุมสภาครั้งนี้ สิ่งที่ได้คือ การให้ความสำคัญในลำดับงานโดยต้องกำหนดปฎิทินงานให้ชัดเจน และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
  • การประชาสัมพันธ์ของกิจกรรมแต่ละกิจกรรมต้องใช้ความร่วมมือกันให้มากกว่านี้
  • การเสียสละเวลาเป็นเรื่องสำคัญสำหรับคนที่จะทำงานเพื่อส่วนร่วม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยเรียน  10  คน
กลุ่มวัยทำงาน  15  คน
กลุ่มสูงวัย  5 คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การประชาสัมพันธ์ในการเชิญเข้าร่วมประชุมทางช่องทางไลน์ ยังไม่ได้เป็นช่องทางหลัก แนวทางแก้ไขต้องไปแจ้งด้วยวาจาและนัดเวลาที่แนนอนในตอนแจ้งกับสมาชิก 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เปิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ครั้งที่ 320 สิงหาคม 2559
20
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความพร้อมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
  2. เตรียมอุปกรณ์
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในหมู่บ้านคณะกรรมการสภาจำนวน 23 คนและกลุ่มเป้าหมายอีก 34 คนรวมทั้งหมด 57 คน เตรียมการเดินทาง นัดหมาย ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโดยนัดหมายเวลา 07.30 น.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 23 คนและกลุ่มเป้าหมายอีก 34 คนรวมทั้งหมด 57 คนเตรียมการเดินทาง นัดหมาย ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโดยนัดหมายเวลา 07.30 น.จากการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในชุมชน โดยชุมชนรอบที่ 3 มีการเดินตามเส้นทางท่องเที่ยวหมายเลข 3 คือเดินเลียบทางน้ำและแวะพักตรงจุดชมนก และจุดต้นไม้ใหญ่ และสิ่งที่ได้จากการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทำให้ชุมชนได้เห็นถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนให้น่าอยู่ต่อไป
  • ปัญหาที่พบ เส้นทางต้องมีการปรับปรุงบางจุด และแก้ไขให้มีความปลอดภัย
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 57 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

เด็กวัยเรียน17คน
วัยทำงาน 30 คน
ผู้สูงอายุ10คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พบพี่เลี้ยงแลกเปลี่ยนการรายงานข้อมูลโครงการ31 กรกฎาคม 2559
31
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมการออกแบบโครงสร้างศูนย์
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 27 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การบันทึกข้อมูล และการทำการเงินให้ตรงและถูกต้อง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบได้ปรับแก้ในการบันทึกข้อมูล ให้เป็นปัจจุบันตลอดจนตรวจสอบการบันทึกข้อมูลทางวัตถุประสงค์ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ได้ทำไว้ก่อน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน
เจ้าหน้าที่การเงิน  1  คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เพื่อประเมินโครงการก่อนปิดโครงการ31 กรกฎาคม 2559
31
กรกฎาคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อถอดบทเรียน ประเมินการดำเนินงานโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พีเลี้ยงนัดคณะทำงานโครงการสร้างบ้านสร้างป่าเขาบูโดเพื่อถอดบทเรียน ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ ทบทวนแผนปฎิบัติการในปฏิทินโครงการก่อนปิดโครงการ พร้อมทั้งตรวจเอกสารการเงิน การบันทึกข้อมูลบนเว็ปไซด์คนใต้สร้างสุข โดยมีผู้เข้าร่วมประเมินประกอบด้วยพี่เลี้ยงโครงการ ผุ้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน/เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล พี่เลี้ยงให้คำแนะนำเกี่ยวกับการบันทึกรายละเอียดให้ตรวจเอกสารโดยเริ่มจากวัตถุประสงค์โครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลที่เกิดขึ้นจริงจามกิจกรรมกรรม กิจกรรมคงเหลือในการดำเนินงานในเดือนสิงหาคมและเดือนกันยายนก่อนปิดโครงการ มีปัญหา อุปสรรคอะไรบ้าง ชุมชนอยากจะดำเนินโครงการต่อยอดหรือเปล่าขอให้กลับไปถอดบทเรียนตามแผนงานโครงการจนเสร็จสิ้นภายในสวันที่22 กันยายน 59 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลกลับไปดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลในรายงานกิจกรรมทุกกิจกรรมก่อนปิดโครงการให้คงเหลือเงิน 2ยอด ยอดที่1 เข้าร่วมงานสร้างสุขภาพคนที่มอ.หาดใหญ่รายละเอียดค่าใช้จ่าย ค่าห้องพัก 2คืน ค่าเดินทางรถ 1คัน ยอดที่2.ค่าเดินทางเข้าร่วมปิดโครงการที่สจรสและศูนย์ประสานงานฯปัตตานี

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล รับทราบวิธีการปิดโครงการ และพร้อมกลับไปทบทวนการบันทึกข้อมูลเพื่อมเติมบนเว็ปไซด์คนใต้สร้างสุข

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน/เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล พี่เลี้ยงโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

พี่เลี้ยงแนะนำการจัดทำเอกสารบนเว็ปไซด์ให้บันทึกกิจกรรมเพิ่มรายละเอียดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนทุกกิจกรรม

เปิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ครั้งที่ 224 กรกฎาคม 2559
24
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนา ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความพร้อมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
  2. เตรียมอุปกรณ์
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในหมู่บ้านคณะกรรมการสภาจำนวน 30 คนและกลุ่มเป้าหมายอีก 39 คนรวมทั้งหมด 69 คน เตรียมการเดินทางนัดหมาย ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโดยนัดหมายเวลา 07.30 น.
  5. เตรียมความพร้อมในช่วงเช้าทุกคนมา ณ จุดนัดหมาย ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโดยทางคณะกรรมการได้ให้คำแนะนำในการเดินท่องเที่ยวเชิงนิเวศในครั้งนี้ เส้นทางที่จะใช้ในการเดินทาง ระยะเวลาและการหยุดพัก สมาชิกต้องมีความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจเพราะเป็นการเดินขึ้นภูเขาที่มีความลาดชัน ทำให้ต้องใช้กำลังเยอะ ขั้นแรกก่อนออกเดินทางแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรก ขับมอเตอร์ไซค์ไปจอดที่เชิงเขา และอีกกลุ่มเดินทางไปเชิงเขาโดยใช้รถยนต์กระบะพร้อมกับสัมภาระที่ใช้ในการประกอบอาหาร
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 30 คนและกลุ่มเป้าหมายอีก 39 คนรวมทั้งหมด 69 คนจากการเดินท่องเที่ยวเชิงนิเวศครั้งที่ 2 เป็นการเดินสำรวจและท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในเส้นทางเฆาะฮารีเมา (กรงเสือ) พบต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่อยู่ประมาณ 20 ต้น ขนาดรอบต้นอยู่ที่ 7 - 9 เมตร และในพื้นที่จะมีการปลูกต้นยางและทำสวน เช่น สวนทุเรียน และต้นลองกอง การเดินทางในครั้งนี้ทำให้ผู้ร่วมเดินทางได้สัมผัสธรรมชาติอีกรูปแบบหนึ่ง คือ ในเรื่องของอากาศที่บริสุทธิ์และได้สัมผัสความสมบูรณ์ของผืนป่าแห่งอุทยานบุโด สุไหงปาดี ที่อยู่ติดกับพื้นที่ของชุมชน และชุมชนอยู่กับป่า
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 69 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเยาวชน กลุ่มวัยเรียน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 10(สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน21 กรกฎาคม 2559
21
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมการสภาจำนวน 28 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 16.30 น. โดยวันนี้มีประเด็นที่จะต้องเข้าในที่ประชุมดังนี้

  6. การเตรียมความพร้อมในการจัดท่องเที่ยวเชิงนิเวศในครั้งที่

  7. แจ้งที่ประชุม โครงการฯ ได้รับการคัดเลือกให้ไปนำเสนอ ณ มอ.หาดใหญ่ ในงานสร้างสุขภาคใต้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภา ได้รับทราบจากพี่เลี้ยงว่า ทาง มอ.ให้โครงการไปนำเสนอผลงานโดยการจัดบูธในงานสร้างสุขภาคใต้ โดยจะต้องเตรียมอุปกรณ์และช่วยกันคิดรูปแบบที่จะนำเสนอ ซึ่งในที่ประชุมได้เสนอให้มีการใช้ต้นไม้ใหญ่แล้วจำลองตัวนกเงือก เพื่อให้เห็นการเป็นอยู่ของนกเงือกในป่า และการจำลองพื้นที่ป่าการสร้างบูทเหมือนมีชีวิต
  • ที่ประชุมลงมติที่ประชุม ให้มีการเดินสำรวจและท่องเที่ยวเชิงนิเวศในวันที่ 24 ก.ค. 2559 โดยนัดหมายกัน ณ ศูนย์เรียนรู้ ออกเดินทางเวลา 07.30 น. โดยใช้เส้นทางการท่องเที่ยว เฆาะรีเมา (กรงเสือ) ใช้เวลาในการเดินทางโดยประมาณ 5 ชม.
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 28 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเยาวชน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มวัยเรียน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ช่วงเวลาในตอนเช้าสมาชิกมาไม่ตรงเวลานัดหมาย 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ให้เตรียมแผนการเดินทางเนื่องจากสมาชิกหลายท่านไม่ถนัดในการขับมอเตอร์ไซค์ ขึ้นทางลาดชันจึงต้องมีการเตรียมรถกระบะ เพื่อ

การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม9 กรกฎาคม 2559
9
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อถอดบทเรียนโครงการสร้างบ้านสร้างป่าเขาบูโด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. พี่เลี้ยงประสานร่วมถอดบทเรียนเป็นเรื่องเล่าร้าวพลังงานวิชาการสร้างสุขคนใต้
  2. ประสานปราชญ์ชุมชน
  3. ร่วมถอดบทเรียนเส้นทางโครงการสร้างบ้านสร้างป่าเขาบูโดที่ สจรส.มอ.หาดใหญ่
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้บอกเล่าเรื่องราวดี ๆ จากการทำโครงการ ดำเนินการถอดบทเรียน ซึ่งทำการถอดบทเรียนโดยคุณถนอม ขุนเพ็ชร ทางผู้รับผิดชอบโครงการ และปราชญ์ชุมชนรู้สึกภุมิใจที่ได้ถ่ายทอดเรื่องราวดี ๆ และเรื่องราวที่เล่าในวันนี้จะนำไปเขียนเป็นหนังสืออีกที
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ ปราชญ์ชุมชน พี่เลี้ยงโครงการนักเขียนเรื่องเล่า

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเวทีรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาดูงานต้นแบบ ศูนย์เรียนรู้ฯ และจัดทำแผนทรัพยากรธรรมชาติและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)กฏกติกา ของศูนย์6 มิถุนายน 2559
6
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ (นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการจัดเวทีรวบรวมข้อมูล
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 30 คนและกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม 30 คน รวม 60 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมสภาจำนวน 30 คนและกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม 30 คน รวม 60 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.ผลจากการประชุม ครั้งที่ 1 มีการประชุมแลกเปลียนเรียนของคณะกรรมการที่ได้ไปศึกษาดูงาน โดยมีการถายทอดความรู้จากการเข้าร่วมการศึกษาดูงานที่ กลุ่มอนุรักษ์นกเงือกและทีมงานอนุรักษ์ทำให้ได้ข้อมูลหลากหลายที่จะมาแชร์กัน และเป็นการนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากหลาย ๆ กิจกรรมที่ผ่านมา มาทำเป็นแผนการปฏิบัติงานของสภาในอนาคต โดยที่การประชุมครั้งนี้ได้จัดที่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง/มัสยิดดารุลอามัลผลที่ได้จาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้- มีคณะทำงานที่เพิ่มขึ้น ชุมชนเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์เพิ่มขึ้น และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับคณะทำงานในการช่วยกันรณรงค์ อนุรักษ์ ป้องกันและพัฒนาชุมชนให้เป็ุนชุมชนน่าอยู่ต่อไป
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 58 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยเรียน
กลุ่มเยาวชน กลุ่มสูงอายุ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การประชุมในช่วงเดือนรอมฎอนมีความลำบากในเรื่องของสถานทีและเวลา เพราะเป็นช่วงที่ต้องเตรียมการทำภาระกิจในเดือนการถือศิลอด ./ แก้ไขโดยการเลื่อนการประชุมออกไปหลังจากออกบวช

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

นำกลุ่มคณะกรรมการศูนย์ฯ ดูงานศูนย์นกเงือกเพื่อจัดตั้งศูนย์ธรรมชาติวิทยาและนกเงือก5 มิถุนายน 2559
5
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการศึกษาดูงานศูนย์เรียนรู้นกเงือกต้นแบบ
  2. เตรียมเอกสารการดูงาน
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 27 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.ประชุมวางแผนการจัดรถในการเดินทาง เวลา ที่นัดหมายในช่วงเช้าก่อนออกเดินทางไปที่ อ.บาเจาะจ.นราธิวาส
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการได้เข้าร่วมการศึกษาดูงาน ในศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มอนุรักษ์นกเงือก ทำให้รู้กระบวนการในการจัดทำโครงสร้าง และแนวทางการบริหารงาน
  • ปัญหาที่พบ ปัญหาเรื่องรถที่จะใช้ในกรณีฉุกเฉิน เพราะจากเหตุการณ์ รถมีปัญหาเจ้าของรถมีธุระด่วน  แนวทางแก้ไข  คือการเตรียมรถสำรองเพื่อเหตุฉุกเฉินจะได้ไม่เสียเวลาในการไปนอกสถานที่ 
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยเรียน 20 คน
กลุ่มวัยทำงาน  20  คน
กลุ่มสูงวัย 20  คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 9 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน3 มิถุนายน 2559
3
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมการสภาจำนวน 28 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 14.30 น. รองประธานสภาฯ (นายซัยฟุดดีนเจ๊ะฮะ) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุม โดยในการประชุมวันนี้มีหัวข้อที่แจ้งเพื่อทราบจะเสนอเพื่อจารณา
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 28 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 14.30 น. เรื่องแจ้งเพื่อทราบทางสภาฯ ได้ต้อนรับคณะทำงานจากทีมนักข่าวของช่อง ไทยพีบีเอส ได้เข้ามาทำข่าวช่องรายการ ทีวีชุมชนทางสภาฯ ขอขอบคุณคณะทำงานที่ได้เข้ามาร่วมกันให้ข้อมูลของชุมชนเราในวันนั้น
  1. กิจกรรมศึกษาดูงาน ณ บ้านตาเปาะอ.บาเจาะ จ.นราธิวาส ชุดที่จะใสในการดูงาน ประเด็นเรื่องรถเหมา ประเด็นอาหาร ประเด็นจำนวนคนที่จะเข้าร่วม
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังจากดูงานจากการประชุมได้ข้อสรุปดังนี้ ใช้รถทั้งหมด 4 คันคณะพร้อมออกเดินทางเวลา 9.30 น.รถออกจากศูนย์เรียนรู้เสรษฐกิจพอเพียง อาหารให้ทางเจ้าภาพเป็นผู้รับผิดชอบ (โดยใช้เงินของโครงการ) เสื้อทีใส่เป็นเสือทีมของคณะทำงานทีมอนุรักษ์ให้ใส่เสื้อทีมหรือตามอัธยาศัย
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 28 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยทำงาน 18 คน
กลุ่มสูงวัย  10  คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

รณรงค์ ปลูกจิตสำนึกให้กับนักเรียน "จากพื้นป่าสู่ห้องเรียน"25 พฤษภาคม 2559
25
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนา ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมในการจัดกิจกรรมจากพื้นป่าสู่ห้องเรียน
  2. เตรียมเอกสาร
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 30 คน และนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน เริ่มจัดกิจกรรมเวลา 9.00น. เริมจัดสถานที่โดยใช้ห้องประชุมของโรงเรียน บ้านวังกะพ้อ "เพียรอนุสรณ์" ทางโรงเรียนได้ประกาศให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเข้าร่วมกิจกรรมตามเวลาที่กำหนด แนะนำคณะทำงานให้ทางโรงเรียนทราบ พร้อมกับเชิญผู้อำนวยการโรงเรียนฯ นายรอซารี เจ๊ะอาลี กล่าวต้อนรับและเปิดกิจกรรม จากพื้นป่าสู่ห้องเรียน และให้โอวาทกับนักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรม
  6. คณะทำงานได้จัดเตรียมเอกสารและสื่อที่ใช้ในการนำเสนอ ข้อมูลให้กับนักเรียน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอและให้นักเรียนได้ออกมาแสดงความรู้สึก และตอบคำถามจากพี่ทีมงาน คณะทำงานของโครงการ ฯ และมีการจัดกิจกรรมวาดภาพระบายสีนกเงือกที่นักเรียนมีความสนใจ และการเขียนเรียงความในหัวข้อ "บูโดที่รัก"หลังจากนั้นให้เวลากับนักเรียนในการวาดภาพระบายสีตามอัธยาศัย และเก็บผลงานนักเรียนพร้อมกับประกาศผลรางวัล ภาพที่มีได้รางวัลทุนการศึกษา สามอันดับ และร่วมกันถ่ายรูป
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมสภาจำนวน 30 คน และนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน จากการจัดกิจกรรมจากพื้นป่าสู่ห้องเรียน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียนมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำเสนอให้หลายๆองค์กรทราบ เพราะการทำงานของกลุ่มน้อย ๆที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านไม่สามารถที่จะป้องกันและช่วยกันรักษาได้ดี เท่ากับการสร้างพลังที่ได้จากนักเรียนโดยการปลูกจิตสำนึก ในการปกป้องพื้นที่ป่าที่อยู่ใกล้กับชุมชน และร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะนกเงือกในพื้นที่ นักเรียนมีความสุขที่ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมโดยนักเรียนสามารถแสดงและให้ความร่วมมืออย่างมากในการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้และทางโรงเรียนก็ได้อำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมทำให้กิจกรรมในครั้งบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 55 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

นักเรียน 30 คน ทีมงาน 25 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เปิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ครั้งที่ 121 พฤษภาคม 2559
21
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการจัดกิจกรรมเดินท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
  2. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการเดิน
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาและกลุ่มเป้าหมายในชุมชน จำนวนทั้งสิ้น 56 คน เริ่มรับลงทะเบียนเวลา 07.45 น. (นัดหมายออกเดินทาง 08.00 น.) คณะกรรมการสภา และกลุ่มอนุรักษ์นกเงือกพร้อมกัน ณ จุดนัดหมายศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านเจาะกะพ้อใน (บ้านแบเซ็งปราชญหมอดิน) ฝ่ายอาหารได้จัดเตรียมอาหารห่อพร้อมกับอาหารว่าง สำหรับในการเดินทางท่องเที่ยวในวันนี้ ทางทีมงานได้แนะนำและให้ความรู้เบื้องต้นก่อนจะมีการเดินทางขึ้นบนภูเขา โดยปราชญ์นกเงือกและอดีตพรานได้อธิบายขั้นตอนและวิถีปฏิบัติในขณะเดินทาง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมสภาและกลุ่มเป้าหมายในชุมชน จำนวนทั้งสิ้น 56 คน ปราชญ์นกเงือกและอดีตพรานได้อธิบายขั้นตอนและวิถีปฏิบัติในขณะเดินทางจากการเดินสำรวจนกเงือกและป่าอุทยานแห่งชาติ บูโด - สุไหงปาดี ทำให้ชาวบ้านและประชาชนที่ร่วมกิจกรรมในวันนี้ได้สัมผัสและเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนที่อยู่ร่วมกันระหว่างป่าและชุมชนต้องอยู่พึ่งพาอาศัยกัน และต้องอยู่ร่วมกันไม่เข้าไปทำลายตัดไม้หรือล่าสัตว์เพื่อการอาชีพ หากแต่เป็นการหาของป่าที่เป็นยา สมุนไพร หรืออาหารนั้นไม่ได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศแต่อย่างใด และจากการเดินท่องเที่ยวในครั้งที่ 1 มีประเด็นข้อสรุปได้ดังนี้
  1. สภาพป่าของเทือกเขาบูโดยังคงมีความอุดมสมบูรณ์
  2. จำนวนนกเงือกที่เข้ารังในปีนี้ มีจำนวนน้อยลงจากปีที่แล้ว
  3. สภาพร่างกายของผู้ร่วมเดินทางต้องมีการเช็คสุขภาพก่อน (เพราะเส้นทางที่เดินเป็นเส้นทางที่ลาดชั้น)
  4. ต้องเตรียมอาหาร น้ำให้พอดีและต้องเตรียมร่างกายให้พร้อมก่อนการเดินทาง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 56 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยทำงาน  25  คน
กลุ่มสูงวัย 10  คน
กลุ่มวัยเรียน 21 คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ระยะเวลาในการเดิน และเส้นทางเดิน  /  แนะนำให้พรานใช้เส้นทางที่ไม่ลาดชันมากนัก 
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สภาผู้นำ(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)จัดทำปฎิทินท่องเที่ยวและแผนที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวชและเขตรับผิดชอบในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม20 พฤษภาคม 2559
20
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในจัดทำปฏิทินท่องเที่ยวและแผนทีท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 30 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.ประชุมเรื่องการจัดทำศูนย์เรียนรู้นกเงือกป่าบูโด
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมสภาจำนวน 30 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น. มีการสรุปสาระสำคัญดังนี้
  • ชุมชนมีแผนที่ที่จะใช้ในการเดินท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
  • มีป้ายความรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับนักเรียนและชุมชน
  • มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ์และเป็นแหล่งสมุนไพรของชุมชน
  • มีการกำหนดเขตรับผิดชอบร่วมกันและพัฒนาพื้นที่ร่วมกัน
  • กำหนดจัดทำแผนที่และปฏิทินท่องเที่ยวเชิงนิเวศ์จำนวน 160 ชุด
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มสูงอายุ 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 8 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน7 พฤษภาคม 2559
7
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมการสภาจำนวน 26 คน จัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา20.00 น.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 26 คน คณะทำงานได้แลกเปลี่ยน และเสนอแนวทางที่จะจัดกิจกรรมของโครงการในรอบถัดไป และมีการวางแผนในการติดต่อและประสานงานของโครงการให้มีความพร้อมมากยิ่งขึ้น
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยทำงาน 15  คน กลุ่มสูงวัย  10  คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดตั้งเขตพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติบ้านเจาะกะพ้อใน30 เมษายน 2559
30
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมจัดตั้งเขตพื้นที่อนุรักษ์
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์ในกลุ่มเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งเขตพื้นที่อนุรักษ์ โดยมีคณะกรรมการสภาและกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้เข้าร่วมการประชุม 50 คน โดยเริ่มการประชุมตั้งแต่เวลา 09.00 น. ได้มีการประชุมและประชาสัมพันธ์ในกลุ่มเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งเขตพื้นที่อนุรักษ์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาและกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้เข้าร่วมการประชุม 50 คน โดยในที่ประชุมได้มติและความเห็นตรงกันว่าให้ทำป้ายเขตอนุรักษ์เป็นลักษณะไม้ ดีกว่าการทำเป็นป้ายไวนิล เพราะอายุการใช้งานและความโดดเด่นนั้นดีกว่ามีการทำป้ายเขตและป้ายบอกสถานที่การอนุรักษ์โดยใช้สัญลักษณ์นกเงือกหัวหงอกและนกกกเป็นสื่อ โดยได้ติดตั้งป้ายตรงปากทางเข้าหมู่บ้าน และระหว่างทางเข้าหมู่บ้าน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 55 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มวัยเยาวชนและวัยเรียน
กลุ่มวัยสูงอายุ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การทำป้ายจากเดิมที่เสนอทำเป็นป้ายไวนิล แต่เนื่องจากอายุการใช้งานไม่คงทนและสีจืดในเวลาต่อไป แนวทางแก้ไข ทำกับไม้แกะสลักทำให้มีความสนใจ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครและจัดเวทีให้ความรู้ ด้านบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ28 เมษายน 2559
28
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนา ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครและจัดเทวทีให้ความรู้ด้านบทบาทหน้าที่
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 27 คน และกลุ่มเป้าหมายที่เ่ข้าร่วม จำนวน 23 คน รวมจำนวน 60 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมสภาจำนวน 27 คน และกลุ่มเป้าหมายที่เ่ข้าร่วม จำนวน 23 คน รวมจำนวน ุุุุุุ60 คน ประธานสภาฯ ซึ่งเป็นตัวแทนจากกลุ่มเครือข่ายต่างๆในหมู่บ้านมาพูดคุย ปรึกษาหารือ แสดงความคิดเห็น เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา โดยเป็นกลุ่มแกนนำหลักในการจัดกิจกรรมต่างๆการประสานความร่วมมือ ริเริ่มดำเนินการ และรับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อนให้ทุกกลุ่มเครือข่ายของชุมชนมาร่วมดำเนินการ โดย(นายอายุ๊ยูโซะ ผู้ใหญ่บ้าน) ร่วมกับแกนนำกลุ่ม3กลุ่มจัดตั้งกลุ่มอาสาและมอบหมายให้คณะทำงานของสภาประสานกับกลุ่มเยาวชนในพื้นที่และกลุ่มวัยทำงานได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นตัวแทนในแต่ละกลุ่มโดยกลุ่มที่จะให้มีการจัดตั้งวันนี้ คือ 1.กลุ่มเยาวชนอนุรักษ์นกเงือก 2.กลุ่มอาสาพัฒนาเทือกเขาบูโด และ 3. กลุ่มท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยทำงาน 30คน กลุ่มเยาวชน 25 คน กลุ่มวัยสูงอายุ 5 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

วิเคราะห์และประมวลความต้องการของชุมชนที่มีต่อการพัฒนา พร้อมทั้งประเมินศักยภาพและทุนทางสังคม18 เมษายน 2559
18
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการวิเคราะห์และประมวลความต้องการของชุมชน
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 27 คนและกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 28 คนเริ่มประชุมเวลา 09.00 น. จัดทำร่างแผนการจัดการป่าบูโด และวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมสภาจำนวน 27 คนและกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 28 คน รวม 55 คน นำข้อมูลจากสถานการณ์จากการสังเคราะห์และคืนแก่ชุมชนเพื่อจัดการวางเป้าหมาย/ภาพอนาคตจัดทำการตั้งเป้าหมายและทำร่างแผนที่เห็นในการกำหนดแผนสภาผู้นำ(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)บ้านเจาะกะพ้อใน เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและลดปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งที่ได้
  1. ชุมชนมีการกำหนดเป้าหมายและกรอบการทำงานในลักษณะการทำงานเป็นกลุ่มมากขึ้น
  2. เข้าใจถึงทุนของชุมชนและการบำรุงรักษาและใช้ประโยชน์ ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ ดังนี้ในชุมชนมีสัตว์ตามธรรมชาติที่ยังพอมีให้ทั้งสัตว์บก สัตว์น้ำ มีการใช้ประโยชน์จากน้ำ ป่าไม้ และสัตว์ป่าสิ่งที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลทำให้ชุมชนมีจิตสำนึกในการหวงแหนทรัพยารธรรมชาติของชุมชน เช่น การปลูกป่าทดแทน การไม่ตัดไม้ทำลายป่า
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 55 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวันเรียน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มสูงวัย 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ออกแบบโครงสร้างของศูนย์ และจัดตั้งคณะกรรมการของศูนย์ฯ5 เมษายน 2559
5
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมการออกแบบโครงสร้างศูนย์
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมสภาจำนวน 27 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น.
  6. คณะกรรมสภาจำนวน 27 คนและผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งการประชุมออกแบบโครงสร้างของศูนย์เรียนรู้นกเงือก
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ที่ประชุมได้ร่วมกันออกแบบโครงสร้างของศูนย์โดยประสานคณะกรรมการสภาผู้นำ จากการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการจัดตั้งโครงสร้างของศูนย์ ได้ประเด็นสำคัญดังนี้
  • จัดตั้งคณะกรรมการของศูนย์ฯ โดยการแบ่งแต่ละฝ่ายจำนวน 5 ฝ่าย คณะกรรมการศูนย์ 5 คนโดยแบ่งเป็น 5 ฝ่าย ได้แก่ 1. ฝ่ายวิชาการ 2. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 3. ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนา 4. ฝ่ายประสานงาน 5. แต่งตั้งคณะบริหารศูนย์และที่ปรึกษาศูนย์โดยมี ผู้บริหาร คือ ประธานศูนย์ รองประธาน และที่ปรึกษาอีก 1 ท่านและจะดำเนินขอความร่วมมือคนจิตอาสาสมัครเป็นคระกรรมการตามโครงสร้างของศูนย์ฯ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 27 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยทำงาน  15  คน
กลุ่มวันเรียน  5  คน
กลุ่มวัยสูงอายุ  7  คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การประสานงาน ยังมีปัญหาทางด้านการติดต่อสือสาร    แนวทางคือต้องโทรศัพท์โดยตรงไม่สมควรใช้ช่องทางไลน์ในการประสานงาน 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 7 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน3 เมษายน 2559
3
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมการสภาจำนวน 25 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 20.30 น.หารือการจัดทำกิจกรรมหลังได้รับการโอนเงินงวดที่ 2
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 25 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 20.30 น. รองประธานเป็นผู้เปิดการประชุม โดยได้แจ้งเพื่อทราบในการเรื่องของกิจกรรมของโครงการในงวดที่ 2 ซึ่งได้รับงบประมาณและดำเนินการปิดงวดโครงการ ทางสสส.โอนงบประมาณงวดที่สอง จำนวน 98,850 บาท จะดำเนินการให้เสร็จสิ้นในวันที่ 15 ตุลาคม 2559
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

วัยทำงาน 15 คน วัยสูงอายุ 10 คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ปลูกทดแทนและเพาะพันธุ์ไม้อาหารนกเงือก13 มีนาคม 2559
13
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก) และจัดทำแผนปฏิบัติการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะกรรมการสภาเพื่อเตรียมการแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการปลูกป่าและเพาะพันธุ์ไม้
  2. เตรียมกล้าไม้
  3. ประสานกลุ่มอาสาพัฒนาจำนวน 57 คน
  4. จัดการกิจกรรมปลูกต้นไม้ กลุ่มอาสาพัฒนาจำนวน 57 คน จัดกิจกรรมขึ้นเขาบูโดเพื่อปลูกต้นทดแทนในวันที่ 13-14  มีนาคม 2559 ตั้งแต่เวลา 07.00 น. โดยกระบวนการลงพื้นที่สำรวจต้นไม้และสำรวจป่าต้นน้ำ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มอาสาพัฒนาจำนวน 57 คน จัดกิจกรรมขึ้นเขาบูโดเพื่อปลูกต้นทดแทนในวันที่ 13-14 มีนาคม 2559 ตั้งแต่เวลา 07.00 น. ทำให้รู้ว่าระดับน้ำและปริมาณน้ำบนภูเขามีปริมาณลดลง สังเกตุได้จากปริมาณก่อนหน้าที่มีการสำรวจ จึงได้เสนอให้คณะทำงานและเยาวชนช่วยกันทำฝายชะลอน้ำ เพื่อรักษาความชุ่มชื่นของพื้นที่ป่าและเป็นการชะลอน้ำไว้ใช้ในหน้าแล้ง หลังจากที่ได้มีการประชุม ทางสภาผู้นำ ได้เสนอให้มีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานจากเดิมที่จะให้มีการปลูกป่า แต่เนื่องจากพันธุ์ไม้ทีเพาะชำยังไม่พร้อม จึงได้ใช้วิธีการใช้หนังสติกแทนการปลูก และให้มีการทำฝายชะลอน้ำแทน เนื่องจากช่วงนี้ระดับน้ำได้ลดปริมาณลง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 57 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

จำนวนนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกลุ่มเยาวชนกลุมวัยเรียน 14คน
วัยทำงาน28 คน
วัยสูงอายุว 15 คนรวมทั้งหมด 57 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 6 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน11 มีนาคม 2559
11
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมการสภาจำนวน 28 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 20.00 น.รองประธานได้ดำเนินการประชุม โดยได้แจ้งให้สมาชิกสภาทราบถึงกิจกรรมที่จะต้องจัดในช่วงเดือนมีนาและเมษาที่จะมาถึงนี้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 28 คนจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 20.00 น. โดยแจ้งถึงงบประมาณที่ยังไม่ได้รับการโอนจากหน่วยงาน (สสส.) แต่ให้จัดก่อนเพราะกิจกรรมที่จำเป็นที่จะต้องรีบดำเนินการ เพราะเป็นช่วงที่สภาพในพื้นที่ ณ เวลานี้ปริมาณน้ำและการใช้น้ำในพื้นที่มีการขาดแคลน จึงเห็นควรให้มีการสำรวจแหล่งน้ำที่จะทำเป็นฝายชะลอน้ำเพื่อเป็นการชะลอการไหลของน้ำจากต้นน้ำ และเป็นการสร้างความชุ่มชื่้นแก่พื้นป่าอีกทางหนึ่ง จากการได้ปฏิบัติกิจกรรมในครั้งนี้ในพื้นที่ป่าบูโด ได้มีการเสนอทำฝายชะลอน้ำ 2 จุด เป็นการชะลอน้ำจากต้นน้ำของป่าบูโดและเป็นการชะลอน้ำที่ใช้ในการประปา และการใช้น้ำของพื้นที่เกษตรในพื้นที่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 28 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

วัยทำงาน 20 คน วัยสูงอายุ 8 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การทำฝายไม่มีความแข็งแรงพอ เนื่องจากไมได้มีการจัดตั้งงบประมาณในส่วนนี้  จึงได้มีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ทำแทนโดยใช้ก้อนหินทีมีขนาดใหญ่และวางเรียงซ้อนทับเพื่อเป็นฝายชะลอน้ำ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 5(สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน26 กุมภาพันธ์ 2559
26
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน (สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. เตรียมสถานที่ประชุม
  5. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน คณะกรรมการสภาจำนวน 26 คน จัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อในตั้งแต่เวลา 19.30 น. ประธานสภาพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นสภาพอากาศที่ส่งผลกระทบต่อการจัดกิจกรรม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสภาจำนวน 26 คน จัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้บ้านเจาะกะพ้อใน ตั้งแต่เวลา19.30 น. นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการประชุม ดังนี้
  1. การประชุมของคณะกรรมการ อยากให้คณะกรรมการมีความพร้อมเพรียงกันในการทำหน้าที่ของตนเอง
  2. การประชาสัมพันธ์การเข้าร่วมประชุมให้มีผู้รับผิดชอบประชาสัมพันธ์ โดยผ่านไลน์กลุ่ม และประชาสัมพันธ์โดยการบอกต่อและเชิญด้วยตนเองในรายที่ไม่มีเครื่องโทรศัพท์ใช้ไลน์ได้
  3. ปราชญ์ด้านนกเงือก ได้นำเรียนข้อมูลของนกเงือกในพื้นที่ ในปีนี้จำนวนนกที่จะเข้าโพรงนั้น ยังไม่แน่นอน ที่เท่าสำรวจและเข้าโพรงไปแล้ว จำนวน 2 โพรง
  4. การปรับปรุงซุ้มดูนก ที่ประชุมเห็นตามข้อเสนอ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการสภาผู้นำ สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า งวดที่ 1 ณ สจรส.ม.อ.15 กุมภาพันธ์ 2559
15
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้า
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • พี่เลี้ยงทำการตรวจสอบเอกสารการเงิน และรายงานทางเวบไซต์ ก่อนส่งรายงานมายัง สจรส.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับคำแนะนำเรื่องการจัดเอกสารเป็นรายกิจกรรมให้เรียบร้อย และให้เพิ่มข้อมูลกิจกรรมเพิ่ม และส่งให้ สจรส.ม.อ.ตรวจสอบเอกสารได้ในวันพรุ่งนี้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางกัลยา เอี่ยวสกุล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ตรวจเอกสารทำรายงานปิดโครงการ14 กุมภาพันธ์ 2559
14
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์

ตรวจเอกสารปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ช่วยดูแลพื้นที่ในการตรวจสอบเอกสารก่อนพบทีงานสจรส.ในการตรวจสอบการเงินและรายงานกิจกรรมในเว็ปไซด์ก่อนปิด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ช่วยดูแลพื้นที่ในการตรวจเอกสารก่อนพบทีมสจรสในการตรวจเอกสารทางการเงินและรายงานกิจกรรมในเว็ปก่อนปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล/การเงิน พี่เลี้ยงโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ตรวจเอกสารการเงิน การบันทึกข้อมูลบนเว็ปไซด์5 กุมภาพันธ์ 2559
5
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์

ทำความเข้าใจผู้รับผิดชอบโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อทำความเข้าใจชี้แจงเกี่ยวกับการจัดทำเอกสารรายงานการเงิน การบันทึกรายงานบนเว็ปไซด์ในแต่ละกิจกรรมต้องบันทึกตามกิจกรรมที่วางไว้ตอบให้ตรงผลลัพธ์ เป้าหมายที่วางไว้เช่นกลุ่มเป้าหมาย200 ใบลงทะเบียนอย่างน้อบ190คนอีกทั้งชี้แจงเอกสารรายงานการเงินต้องสอดคล้องตามกิจกรรมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงทำความเข้าใจผู้รับผิดชอบโครงการ การจัดทำเอกสารการเงินเพื่องวดโครงการ ขอตรวจเอกสารการเงินให้ตรงกับกิจกรรมโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน พี่เลี้ยงโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
พบพี่เลี้ยงตรวจเอกสารรายงานปิดโครงการ5 กุมภาพันธ์ 2559
5
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงปิดงวดโครงการงวดที่ 1
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • พี่เลี้ยงนัดเพื่อตรวจเอกสารการเงิน บัญชีรับจ่าย การบันทึกข้อมูลบนเว็ปไซด์ ก่อนส่งรายงานให้ สจรส.เพื่อปิดงวดโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลจากการตรวจเอกสารรายงานการเงินยังขาดลายเซ็นบัตรประชาชน ใบลงทะเบียนเซ็นชื่อไม่ถูกต้อง การบันทึกข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ พี่เลี้ยงแนะนำตรวจเอกสารให้กลับไปดำเนินการนัดตรวจอีกครั้งวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 59
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 1 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • การบันทึกข้อมูลไม่สอดคล้องกับการวางแผนปฏิทินพี่เลี้ยงให้กลับไปทำเอกสารใหม่โดยแนะนำแต่ละกิจกรรมขาดอะไรบ้าง
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 4 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน15 มกราคม 2559
15
มกราคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ช่วงเย็นของการประชุม คณะทำงานพร้อมด้วยทีมงานของสภาพร้อมกัน บ้านปราชญ์(ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง) เพื่อเตรียมการประชุม จัดโต๊ะเก้าอี้ และเตียมอาหารบ้างส่วนโดยอาหารว่างในค่ำคืนนี้คือ โรตี(ปลากระป๋อง) แกงไก่ โดยนายอับดุลเลาะ วาโละ เป็นสมาชิกของกลุ่มแม่บ้าน
  • เริ่มประชุม เวลา 20.00 น. หลังจากสมาชิกสภาฯเสร็จสิ้นจากการปฏิบัติศาสนกิจในช่วงค่ำ โดยผู้รับผิดชอบโครงการได้เป็นคนเปิดพีธีการประชุมสภา ฯ หลักจากนั้นก็ได้เปิดประเด็นของการจัดกิจกรรมในเดือนถัดไป หลังจากเดือนนี้ โดยกำหนดกิจกรรมและเลื่อนกิจกรรมที่ยังไม่สามารถดำเนินการได้อีก เพราะติดที่งบประมาณ หลังจากได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการในงวดแรกสิ้นสุดไปแล้ว โดยทางโครงการยังคงติดลบจากงบประมาณ แต่ทางสมาชิกยังคงจะให้มีกิจกรรมขึ้นเรื่อย ๆ เพราะการจัดกิจกรรมได้ทำให้สมาชิกมีความรู้สึกจะพัฒนาตนเอง และพัฒนาชุมชนยิ่งขึ้น
    นายซัยฟุดดีนเจ๊ะฮะ(ผู้รับผิดชอบโครงการ) ขอบคุณทุก ๆ ท่านที่เข้ามาร่วมการพบปะ ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในค่ำคืนนี้ โดยขอให้ทุก ๆ ท่านเดินทางกลับบ้านโดยสวัสดีภาพ และพร้อมกันรับประทานอาหารเบรกที่ได้เตรียมไว้ โดยสมาชิกทำกันเองปิดการประชุมเวลา21.50 น
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุม ผลที่ได้คือ

  • คณะกรรมการสภาได้ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุมและได้ให้ข้อเสนอแนะในเรืองของการเตรียมความพร้อมด้านการให้บริการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และคณะกรรมการมีความรู้และเข้าใจในระบบการทำงานของรูปแบบสภามากยิ่งขึ้น คือทุกคนสามารถเข้ามานำเสนอหรือขอความคิดเห็นจากคณะกรรมการด้วยกันในการทำงานของชุมชน หรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน ก็สามารถแจ้งให้คณะกรรมการทราบเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์และแจ้งเพื่อทราบ และเป็นข้อมูลกับชุมชนต่อไป
  • ประเด็นที่สอง คือ เรื่องที่พัก เนื่องจากได้มีการประสานงานจากหน่วยงานภายนอก ผู้สนใจเรื่องการท่องเทียวเชิงนิเวศ ได้สนใจจะเข้ามาท่องเที่ยวในช่วงเดือนหน้า ทำให้สมาชิกกังวล ถึงที่พักของผู้ที่จะมาพัก ทางนายแวอุเซ็ง แต ได้เสนอศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(เดิม) อาคารไม่ได้ใช้งานของชุมชน ซึ่งไม่ได้ใช้งานมานานแล้ว จึงขออาสาจะประสานกับเจ้าของที่ดิน เพราะตั้งอยู่บนที่ดินของ นายนิกือนางอ (ปราชญ์หมอชาวบ้าน)
  • ประเด็นที่สาม คือ เรื่อง จุดดูนกเงือก ปราชญ์นกเงือก (นายซามูดิง) ได้เสนอขอความร่วมมือกับที่มงานที่จะเข้าไปปรับปรุงสถานที่ จุดดูนกเงือก เพราะจากสภาพที่ใช้งานมานานแล้วทำให้ไม่มีความพร้อมที่จะรองรับการมาชมนก ดูนกของนักท่องเที่ยว จึงขอความร่วมมือกับสมาชิกสภาฯ ในการปรับปรุงสถานที่ต่อไป ที่ประชุมเห็นพร้อมกันว่า จะขึ้นไปพัฒนาพื้นที่ในวันที่20 ก.พ. 2559และทางสภาฯ ยินดีจะรวบรวมเงินสมทบในการพัฒนาสถานที่จุดชมนกเงือกด้วย เพราะต้องซื้ออุปกรณ์และเปลี่ยนอุปกรณ์หลายอย่าง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 26 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • วัยทำงาน 17 คน เยาวชน 3 คน วัยสูงอายุ 6 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 3 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน12 ธันวาคม 2558
12
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะกรรมการที่เป็นเจ้าของสถานที่ได้จัดเตรียมสถานที่ ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเตรียมความพร้อมในการประชุม โดยนายแวอุเซ็งแต เป็นผู้จัดโต๊ะและเก้าอี้ในการประชุม โดยเริ่มประชุมในเวลา 19.00 น. คือหลังจากปฏิบัติศาสนกิจของตอนเย็น ประเด็นสำคัญในการประชุมสภา คือเรื่องเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ออกแบบโครงสร้างของศูนย์และจัดตั้งคณะกรรมของของศูนย์ เพราะการดำเนินงาน ณ ปัจจุบันยังไม่เป็นระบบเท่าที่ควร คือยังขาดประธานที่จะเข้ามารับผิดชอบในงานของศูนย์ที่จะต้ั้งเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ด้านการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก) และจัดทำแผนปฏิบัติการของศูนย์ โดยนัดหมายกับคณะกรรมการให้พร้อมกัน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 34 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มวัยเรียน และปราชญ์นกเงือก หมอดิน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

อบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน21 พฤศจิกายน 2558
21
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเตรียมความพร้อมการทำเอกสารการเงิน
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้การบันทึกข้อมูลลงบนเว็บไซต์
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำเอกสารการเงินร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม มีการบรรยายให้ความรู้เรื่องการหักภาษีค่าใช้จ่ายในโครงการ บรรยายเรื่องการเขียนรายงานกิจกรรม และช่วงบ่ายได้ใ้คำแนะนำเรื่องการเขียนเอกสารการเงิน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เรียนรู้และทราบแนวทางในการจัดทำเอกสารทางการเงิน
  • เรียนรู้การหักภาษี ณ ที่จ่าย จำนวน 1 ฉบับ
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้รับผิดชอบการเงินของโครงการสามารถจัดทำเอกสารการเงินได้อย่างถูกต้อง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ และเจ้าหน้าการเงิน/ไอที
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเวทีเพื่อถ่ายทอดและสื่อข้อมูลสู่สมาชิกในชุมชน20 พฤศจิกายน 2558
20
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)และจัดทำแผนปฏิบัติการ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • จากมติที่ประชุมให้คณะกรรมการดำเนินงานเข้าไปจัดสถานที่ โดยใช้สถานที่อาคารจอดรถขององค์บริหารส่วนตำบลกะรุบี โดยใช้เครื่องเสียงและโต๊ะจำนวน 160 ตัว ของหน่วยงาน อบต.กะรุบี ช่วงเช้าได้มีการจัดสถานที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากการประชุมสภาฯ  ฝ่ายลงทะเบียนรับลงทะเบียนในเวลา 09.00 น.  และฝ่ายตอนรับกล่าวตอนรับและเปิดประเด็น เพื่อรอกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมมาอย่างน้อย 80 เปอร์เซ็นจากจำนวนที่ตั้งไว้ แต่เนื่องจากวันนี้เป็นวันศุกร์ ทำให้สมาชิกและกลุ่มเป้าหมายจะต้องร่วมละหมาดวันศุกร์ จึงได้เปลี่ยนแปลงให้เริ่มในช่วงบ่ายแทน เป็นเวลา 13.30 น.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการจัดเวทีเพื่อถ่่ายทอดข้อมูลกลับสู่ประชาชนโดยให้วิทยากรนำข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ คืนข้อมูลที่ได้ให้กับชาวชุมชน และชี้แจงทราบถึงปัญหา รับรู้ข้อมูล ด้านต่างๆ แล้วจัดหมวดหมู่ข้อมูล และสามารถกำหนดแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาชุมชนให้ชัดเจนขึ้นจากเดิม โดยข้อมูลในด้านต่าง ๆ นั้นสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายด้านของแต่ละองค์กร โดยเฉพาะทางด้านสาธารณสุข ด้านการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ด้านสมุนไพร  และจากการทำกิจกรรมในวันนี้สิ่งที่ได้สะท้อนกลับมาคือชุมชนให้ความสนใจกับทุนที่อยู่ในชุมชนมากขึ้น มีความรู้สึกว่าป่านั้นมีความสำคัญต่อชุมชน และการดูแลระหว่างชุมชนกับชุมชนกันเอง มีความสำคัญมากกว่าให้คนอื่นมาดูแล และให้ความช่วยเหลือกัน 
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 132 คน จากที่ตั้งไว้ 160 คน
ประกอบด้วย
  • เด็กวัยเรียน 37 คน วัยทำงาน 49 คน ผู้สูงอายุ 46 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ปัญหาในการจัดกิจกรรมในวันศุกร์  วิธีการแก้ไขปัญหาให้เป็นช่วงบ่ายหลังจากการปฏิบัติศาสนากิจในพื้นที่แทน 
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 1 วิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม14 พฤศจิกายน 2558
14
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เวลา ๐๙.๐๐ น.คณะกรรมการได้มาพร้อมกันและลงทะเบียนผู้เข้าร่วมการวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีการประชุมก่อนมีการสังเคราะห์ข้อมูลโดยผู้รับผิดชอบโครงการได้กล่าวขอบคุณกับอาสาสมัครที่ไปเก็บข้อมูลในครั้งนี้
  • หลังจากนั้นผู้รับผิดชอบโครงการมีการวิเคราะห์ข้อมูล จากการใช้โปรแกรมประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ โดย อ.ซัยฟุดดีน เจ๊ะฮะอาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยปทุมธานี ได้นำเสนอโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการป้อนข้อมูล
  • เวลา ๑๑.๕๐ น.พักรับประทานอาหาร และเตรียมตัวปฏิบัติศาสนกิจ
  • เวลา ๑๓.๐๐ น.เริ่มป้อนข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ โดยมีผู้แปลข้อมูล ๑ คน ป้อนข้อมูล ๑ คน ต่อหนึ่ง เครื่อง เวลา ๑๖.๐๐ น. เสริจสิ้นการป้อนข้อมูลลงในระบบ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เรียนรู้การป้อนข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ และต้องมีการเตรียมความพร้อม ดังนี้

  1. ต้องมีการเตรียมความพร้อม โดยวิทยากรต้องมีความรู้และวิธีที่จะแปลผลข้อมูลจากแบบสอบถามแบบสำรวจให้เป็นตัวเลขก่อน
  2. ผู้รับผิดชอบในการป้อนข้อมูล ก็ต้องมีความพร้อมในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์บ้าง
  3. ผู้อ่านข้อมูลต้องมีความแม่นยำในการอ่านข้อมูลและแปลข้อมูลเป็นตัวเลข เพื่อป้อนในระบบคอมพิวเตอร์
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 55 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มวัยเรียน 15 คน กลุ่มวัยทำงาน 25 คน ปราชญ์และกลุ่มแม่บ้านกลุ่มเกษตร 15 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เครื่องคอมพิวเตอร์มีจำนวนน้อย  /  ขอความอนุเคราะห์ใช้เครื่อง ของครูในพื้นที่ 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 2(สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน13 พฤศจิกายน 2558
13
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรุปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมเตรียมวางแผนการจัดกิจกรรมในวันที่ 14 - 15 พ.ย. 258 โดยเริ่มประชุม เวลา 20.00 น.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมมีข้อสรุปดังนี้

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ให้รายละเอียดและนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการเก็บแบบสำรวจ
  2. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
  3. สมาชิกสภาจะต้องเข้าร่วมการประชุมทุกครั้ง ถ้าไม่ภารกิจสำคัญ
  4. ประชุมตามแผนที่เราได้กำหนดในปฏิทิน โครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มวัยเรียน และปราชญ์นกเงือก หมอดิน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.องค์ประชุมมาไม่เต็มองค์ประชุม ข้อตกลงในที่ประชุมจึงให้นับจำนวน 2 ใน 3 ของทีมสภาผู้นำที่เข้าร่วมประชุม

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ครั้งที่ 18 พฤศจิกายน 2558
8
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อการวางแผนด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมขนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ช่วงเช้ามีการเรียกกลุ่มอาสาสมัคร เข้ามาทำความเข้าใจในการออกไปเก็บข้อมูลเพื่อความถูกต้องและสมบูรณ์ของแบบสำรวจในวันแรก และกลุ่มที่ออกไปเก็บข้อมูลจะมีทั้งเยาวชนและวัยทำงาน เพื่อให้ง่ายในการเก็บข้อมูล
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เก็บแบบสอบถามครบจำนวน 160 ครัวเรือน แบ่งพื้นที่ครัวเรือนเป้าหมายออกเป็น 3 โซน ดังนี้
  1. โซนประชากรที่อยู่บริเวณนอก(ติดถนนใหญ่)
  2. โซนทิศเหนือ (บ้านเจาะกะพ้อใน)
  3. โซนทิศใต้ (บ้านเจาะกะพ้อใน)
  • ผลจากการเก็บข้อมูลทำให้ทีมอาสาสมัครได้ความรู้วิธีการสัมภาษณ์ เกิดทักษะและมีความมั่นใจมากขึ้น ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม เกิดข้อมูลด้านทรัพยากรในบ้านเจาะกะพ้อใน ที่จะนำไปสู่การอนุรักษ์ทรัพยากรร่วมกัน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มวัยเรียน 10 คนและวัยทำงาน 20 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การออกแบบเครื่องมือการจัดการด้านความสัมพันธ์ ระหว่างหมู่บ้านกับพื้นป่า สร้างความเข้าใจการจัดเก็บข้อมูล7 พฤศจิกายน 2558
7
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ในช่วงเช้าได้มีการประชุมในทีมงาน เพื่อเตรียมงานในช่วงบ่าย โดยในที่่ประชุมมีมติเห็นชอบพร้อมกันว่าในช่วงเช้าหลังประชุมจะขึ้้นไปพัฒนาในพื้นที่ที่จะสร้างเป็นห้องน้ำในช่วงเดินสำรวจ
  • ช่วงบ่ายโมงคณะทำงานและอาสาสมัครร่วมกันประชุม หาข้อสรุปประเด็นปัญหาและข้อสรุปที่จะใช้ในแบบสำรวจโดยมีรายละเอียดทั้งหมด 5 ด้าน ดังนี้
  1. ด้านข้อมูลทั่วไป
  2. ด้านสุขภาพ
  3. ด้านการปลูกผักและสมุนไพรในบริเวณบ้าน
  4. ด้านภูมิปัญญาและด้านวัฒนธรรมท้องถ่ิน
  5. ด้านการใช้ประโยชน์ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการประชุมคณะทำงาน ร่วมกันกลุ่มอาสาเก็บข้อมูล ได้ร่างแบบสอบถามการสำรวจ 1 ชุด
  • ได้วางแผนการลงไปเก้บข้อมูล มีข้อสรุปได้ดังนี้
  1. ช่วงเวลาในการออกไปเก็บแบบสำรวจ เริ่มสำรวจในวันที่ 8 พ.ย.58
  2. ระยะเวลาในการออกไปเก็บแบบสำรวจ
  3. กลุ่มเป้าหมายที่จะเก็บให้แบ่งเป็นโซนเพื่อความสะดวกและไม่ซ้ำซ้อน
  4. สรุปผลการเก็บข้อมูลก่อนนำเสนอข้อมูล
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มวัยเรียน และกลุ่มผู้สูงวัย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  1. ปัญหา อาสาสมัครบ้างคนไม่สามารถเขียนหนังสือได้จึงได้ขอความร่วมมือกับลูกหลานเพื่อเป็นคนจดบันทึก
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สภาผู้นำ(สภาทรัพยากรป่าหมู่บ้าน)พร้อมกับอดีตพรานและครอบครัวนกเงือกเดินสำรวจกำหนดเส้นทางเพื่อจัดเขตอนุรักษ์ทำแผนที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์31 ตุลาคม 2558
31
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่ายาชุมชนและตัวชี้วัดทรัพยากรธรรมชาติ(นกเงือก)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมเดินทางสำรวจ
  2. แจกน้ำและอาหารระหว่างเดินทาง
  3. พบปะกับผู้ร่วมเดินทางชี้แจงวัตถุประสงค์และขอควรปฏิบัติในการเดินป่า เตรียมสมุดจดบันทึกรายละเอียดที่พบ
  4. ออกเดินทาง 9.00 น.สำรวจนกเงือกโดยเดินเท้าสำรวจพื้นที่ป่ามีพรานนำทางและคอยบรรยายสภาพป่าที่พบในระหว่างการเดินสำรวจพื้นที่เทือกเขาบูโดติดกับจังหวัดนราธิวาส
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการจัดให้มีการสำรวจพื้นที่ป่า และบริเวณป่าของอุทยานแห่งชาติ บูโด สุไหงปาดี พบว่าสภาพป่ายังคงมีความอุดมสมบูรณ์มาก ยังมีแหล่งน้ำที่ชาวบ้านสามารถนำมาทำน้ำประปาหมู่บ้านใช้ภายในหมู่บ้านได้ แต่ยังต้องมีระบบการบริหารจัดการที่ดีเพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
  • สำหรับกิจกรรมเดินสำรวจป่าในครั้งนี้ทำให้ชุมชน เยาวชน และกลุ่มต่างๆ ที่เข้าร่วมได้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่า และทำให้มีความรู้สึกหวงแหนพื้นที่ป่า และพรานป่าได้พาไปดูโพรงนกเงือกที่อยู่ในเส้นทางเดินสำรวจด้วย ทำให้เยาวชน เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมมีความรู้สึกว่าตื่นเต้นที่จะได้ดูโพรงนกเงือก ซึ่งเป็นโพรงที่อยู่ในระดับไม่สูง ประมาณ 200 เมตรจากระดับน้ำทะเล อดีตพรานป่า ได้พาไปจุดที่สำคัญคือร่องเขาหรือที่ชาวบ้านเรียกว่า บาตูดินเด่ง(เป็นหินผา) ซึ่งตรงกลางจะมีน้ำผ่านด้วย และเป็นจุดพักสำหรับการเดินสำรวจด้วย
  • การสำรวจในครั้งนี้ ใช้เวลาทั้งหมด4ชม. และขึ้นจุดสูงที่สุดสูงจากระดับน้ำทะเล370 ม. และระยะทางโดยประมาณ6กม.(เป็นเส้นทางลาดชัน) มีจุดพักเป็นระยะ ๆ สำหรับถ่ายรูปและชมความสวยงามและสมบูรณ์ของพื้นป่าดิบชื้นในพื้นที่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 52 คน จากที่ตั้งไว้ 55 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มอนุรักษ์นกเงือกครอบครัวนกเงือกสมาชิกสภาผู้นำสร้างบ้านสร้างป่าฯนักเรียน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
ไม่มี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชาสัมพันธ์โครงการ รักษ์ป่าบูโด เตรียมความพร้อมในการจัดตั้งสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)18 ตุลาคม 2558
18
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ช่วยบ่ายของวันเสาร์ได้เข้าไปเตรียมจัดงานก่อน 1 วัน คณะผู้จัดงาน ได้เข้าไปเตรียมสถานที่ โต๊ะเก้าอี้ และจัดป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี
  • ช่วงจัดงาน เวลา 8.30น.- 09.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม ผู้เข้าร่วมงานทยอยกันเข้าบริเวณที่จัดงานณองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี หัวหน้าส่วนราชการ ผู้อำนวยการโรงเรียนทั้งสามโรงเรียนมาถึงงานในเวลา
  • เวลา 10.00 น. ท่านปลัดผู้รับผิดชอบตำบลกะรุบี ได้มาถึงบริเวณพิธี (มาแทนท่านนายอำเภอกะพ้อ) และได้เปิดงาน
  • เวลา 10.15 น. หลังจากนั้นก็ได้เชิญ ผบ.ร้อยทหารพราน ในพื้นที่รับผิดชอบพบปะกับพี่น้องประชาชนเนื่องในวาระมารับตำแหน่งใหม่ในพื้นที่ และได้ให้กำลังใจกับผู้จัดงานในครั้งนี้หลังจากนั้น มีการแสดงโชว์จากนักเรียนมัธยม โรงเรียนวังกะพ้อพิทยาคม ในชุดอานาชีด 5 ภาษา(อาเซียน)ท่านกำนันตำบลกะรุบีได้พบปะกับพี่น้องและได้ให้แนวคิดในการดำเนินการว่าให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้และท่านนายก อบต.กะรุบี ก็ได้พบปะกับพี่น้องประชาชนที่เข้าร่วมงานในวันนี้ และท่านรับปากจะให้ความร่วมมือและจะให้การสนับสนุนกิจกรรมของโครงการในครั้งหน้าเพื่อความสุขของชุมชนบ้านเจาะกะพ้อใน ท่านรองนายก อบต.นายอัตพงษ์ สามะ ได้พบปะพี่น้องพร้อมกับแจ้งการดำเนินงานของ อบต.ในรอบปีที่ผ่านมา และงบประมาณที่จะได้ดำเนินการ โดยเฉพาะได้อนุมัติวงเงินในการสร้างอาคารเพื่อเป็นที่รับรองของผู้ที่จะมาพักในช่วงขึ้นไปศึกษาระบบนิเวศและนกเงือกบนเทือกเขาบูโด และได้ให้กำลังใจกับทีมงานที่จัดด้วยและทางอบต .กะรุบี มีความยินดีที่จะให้ใช้สถานที่และช่วยเหลือในด้านกิจกรรมอื่นๆ ที่พอจะให้การสนับสนุนได้ ในครั้งต่อไป
  • 11.00 น.เก็บภาพเป็นที่ระลึกระหว่าง สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่ กับหัวหน้าส่วนราชการหน่วยงานกองกำลังและผู้เข้าร่วมงานบ้างส่วน
  • 11.15 น. พี่เลี้ยงโครงการมาถึงบริเวณพิธี พร้อมกับชี้แจ้งโครงการให้กับประชาชนที่เข้าร่วมงาน ประชาสัมพันธ์โครงการ และบอกถึงที่มาของงบประมาณและการสนับสนุนจาก สสส.ให้กับโครงการ และวิธีการดำเนินงานของโครงการตั้งแต่เริ่มต้นและการสิ้นสุดโครงการหลังจากนั้นก็เป็นการพบปะของ ผู้ใหญ่บ้านนายอายุ๊ ยูโซะซึ่งได้ให้ข้อคิดต่าง ๆ ในการดำเนินงานที่ผ่านมาก่อนจะมารับโครงการของ สสส.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดกลุ่มสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)รวมจำนวน 30 คน และกลุ่มเยาวชนจิตอาสาเพื่อเก็บข้อมูลในพื้นที่ แต่ยังไม่ทราบจำนวนที่ชัดเจน ซึ่งจะนัดประชุมเพื่อคัดเลือกจิตอาสาเก็บข้อมูลในกิจกรรมประชุมถัดไป
  • กิจกรรมนี้ทำให้คนในชุมชนและหน่วยงานราชการในพื้นที่ รวมทั้งหัวหน้าส่วนได้รับรู้การทำโครงการ สสส.เกิดความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ ซึ่งหัวหน้าส่วนหน่วยงานที่เข้าร่วมสนับสนุนสถานที่และบุคลากรตลอดการทำโครงการ
  • ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้
  1. การเตรียมงานและการวางแผนในการจัดกิจกรรม
  2. การจัดลำดับขั้นตอนในการจัดกิจกรรม
  3. การวางงานให้ถูกคน
  4. การให้ความสำคัญในเรื่องงานส่วนร่วมมากกว่างานส่วนตน
  5. การเสียสละ คือสิ่งที่จะทำให้หมู่บ้านพัฒนา
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 150 คน จากที่ตั้งไว้ 160 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มวัยเรียน 20 คน วัยทำงาน 65 คน กลุ่ม อสม. 30 คน วัยสูงอายุ 15 คน หน่วยงานภาครัฐ หัวหน้าส่วนราชการและภาคเอกชน 20 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

3 ปัญหาคือระบบเครื่องเสียงของหน่วยงานที่ไปใช้สถานที่ยังไม่พร้อมใช้งาน ต้องยืมของโรงเรียนบ้านกะรุบี ซึ่งเป็นโรงเรียนในเครือข่ายที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการด้วย

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางกัลยา เอี่ยวสกุล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ประชาสัมพันธ์เพื่อเปิดโครงการแก่หน่วยงานภาคีในพื้นที่ชุมชน18 ตุลาคม 2558
18
ตุลาคม 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์

ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจโครงการแก่ชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พิธีเปิดโดยผู้แทนท่านนา่ยอำเภอกะพ้อ ตามด้วยการร้องเพลงอานาซีดโดยเด็กชานภูมารูดดีน ซาหลง นักเรียนโรงเรียนวังกะพ้อเพียรอนุสรณ์ ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงความเป็นมาของโครงการสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่ม.7บ้านเจาะกะพ้อใน และพี่เลี้ยงโครงการเพิ่มเติมกระบวนการจัดการพัฒนาโครงการด้วยความพยายามและการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน คระกรรมการและผู้รับผิดชอบโครงการที่มีความมุ่งมั่น ภาคภูมิใจในการดำเนินกิจกรรมโครงการโดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนและสภาผู้นำซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรคมในชุมชน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมทั้งหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น ประชาชนม.7 บ้านเจาะกะพ้อใน2. คัดเลือกคระกรรมการสภาผู้นำจำนวน20คน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 120 คน จากที่ตั้งไว้ 130 คน
ประกอบด้วย

หน่วยงานภาครัฐ ผู้แทนนายอำเภอ หน่วยงานทหารในพื้นที่ รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลกะพ้อ ท้องถิ่น  รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี กลุ่มสตรี อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำศาสนา ผู้อำนวยการโรงเรียน  ประชาชนในพื้นที่และนอกพื้นที่จำนวน120คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ขอความร่วมมือในการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมให้การดำเนินโครงการเสร็จสิ้นหากมีปัญหาสามารถติดต่อประสานงานพี่เลี้ยงโครงการได้ตลอดเวลา

พบพี่เลี้ยง แลกเปลี่ยนการทำโครงการ12 ตุลาคม 2558
12
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง แลกเปลี่ยนการทำโครงการร่วมกับผู้รับทุนในจังหวัดปัตตานี
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง ฝึกการทำเอกสารรายงานการเงิน และฝึกการบันทึกรายงานกิจกรรมในเวบไซต์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เรียนรู้การเขียนเอกสารหลักฐานการเงิน และได้นำหลักฐานมาเขียนในวันนี้ด้วย ทำให้เข้าใจและเคลียร์เอกสารได้เสร็จหลังทำกิจกรรม
  • เข้าใจการเขียนบันทึกกิจกรรม โดยทุกครั้งที่มีการจัดประชุมจะจดบันทึกลงในสมุดก่อน และค่อยมาบันทึกลงในเวบไซต์อีกครั้ง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางกัลยา เอี่ยวสกุล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 1 (สภาสร้างบ้านสร้างป่าโดให้น่าอยู่)แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะทำงาน11 ตุลาคม 2558
11
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการในการจัดงาน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมเปิดโครงการและการประชาสัมพันธ์โครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทีมสภาผู้นำเข้าใจการทำกิจกรรมในโครงการ และได้วางแผนการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ร่วมกัน ได้กำหนดหน่วยงานราชการที่เชิญเข้าร่วม ได้แก่ อบต.กะรุบี นายอำเภอ ผอ.รพ.สต.โดยหัวหน้าส่วนราชการที่จะเชิญเข้าร่วมจะเป็นประธานในพิธี
  • กำหนดวันจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการในวันที่ 18 ต.ค. 2558
  • การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในวันประชาสัมพันธ์โครงการ มีรายละเอียดดังนี้ ฝ่ายอำนวยการ ลงทะเบียน สถานที่ อาหาร และประเมินผล
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • คณะกรรมการหมู่บ้าน 8 คน
  • คณะกรรมการโครงการ 10 คน
  • ปราชญ์หมอดินและ อสม 2 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • เนื่องจากสมาชิกหลายท่านติดภารกิจ ทำให้จำนวนผู้เข้าร่วมมาไม่ครบ องค์ประชุมแต่การดำเนินการสามารถดำเนินการได้ และสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สร้างความเข้าใจในการจัดทำโครงการ "สร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่"9 ตุลาคม 2558
9
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำชุมชน(สภาสร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่)
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 16.45 น. คณะกรรมการได้มาเตรียมสถานที่ คณะทำงานที่ทำอาหารว่างก็เตรียมพร้อมทำอาหาร
  • 17.00 น. ได้เวลากำหนดการประชุมคณะกรรมการประชุม มายังไม่ครบองค์ประชุม คณะกรรมการได้เตรียมจัดโต๊ะและสถานที่ติดป้ายไวนิล โครงการและป้ายไวนิลเขตปลอดบุหรี่ มีการเลื่อนเวลา การประชุมไปหลังละหมาด เพราะเป็นช่วงใกล้เวลาละหมาด และผู้รับผิดชอบโครงการ(นายซัยฟุดดีนเจ๊ะฮะ) ได้แจ้งให้มาพบกันหลังละหมาดมัฆริบ(ละหมาดตอนค่ำ)
  • 19.00 น. คณะกรรมการได้ทยอยเดินทางมาถึง และพร้อมที่จะแลกเปลี่ยนและทำความเข้าใจในการจัดโครงการ สร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่
  • 22.00 น. ปิดการประชุม (ซักซ้อมความเข้าใจ)
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • นายซัยฟุดดีนเจ๊ะฮะ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) ได้ให้ข้อมูลกับคณะกรรมการถึงที่มาและความสำคัญที่ได้ทำโครงการนี้ และได้แจ้งจำนวนกิจกรรม ตลอดปีให้คณะกรรมการทราบ เพื่อจะได้กำหนดแนวทางและร่วมกันจัดกิจกรรมให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ว่างไว้
  • สิ่งที่คณะกรรมการจะต้องตัดสินใจร่วมกัน คือ ประเด็น ของการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ ได้หารือเรื่องสถานที่จัดกิจกรรม มี 2 ที่ คือ ลานจอดรถ องค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี และ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านเจาะกะพ้อใน ทางคณะกรรมการได้อภิปรายถึงสถานที่ ถ้าไปจัดที่ อบต.กลุ่มเป้าหมายอาจไปไม่ถึง 100 เปอร์เซ็น ทำให้จำนวนคนน้อยไม่ได้ตามวัตถุประสงค์แต่ถ้าจัดที่ศูนย์เรียนรู้ฯ อยู่ในชุมชนกลุ่มเป้าหมายสามารถเดินมาได้ และไม่ไกลจากบ้านเพราะอยู่ในพื้นที่ และสะดวกกว่า แต่ทางผู้ใหญ่ได้เสนอแนะในเรื่องของ ห้องน้ำเพราะเราเชิญหัวหน้าส่วนราชการมารับทราบถึงโครงการที่ชุมชนด้วย ถึงเห็นความจำเป็นที่จะต้องเตรียมพร้อมในเรื่องดังกล่าวด้วย ทางสมาชิกก็ได้อภิปรายเพิ่มเติมว่า ควรให้มีความพร้อมหลาย ๆ ด้าน เพราะบ้างที่การจัดกิจกรรม ที่มีกลุ่มเป้าหมายจำนวนมากก็ต้องคำนึงถึงเรื่องสุขอนามัยด้วย เนื่องด้วยที่ศูนย์เรียนรู้ยังขาดปัจจัยเรื่อง ห้องน้ำสะอาด เพราะยังไม่มีห้องน้ำที่ถูกสุขลักษณะ จึงลงมติร่วมกันว่า จัดประชาสัมพันธ์โครงการ ลานจอดรถอบต.กะรุบี
  • ด้านการประชาสัมพันธ์ผู้เข้าร่วม ได้เสนอให้คณะกรรมการนั้นรับผิดชอบในโซนของพื้นที่ใกล้ๆ กับบ้านของตนเอง โดยอย่างน้อยต้องแจ้งให้เข้าร่วมเป็นอย่างน้อยคนละ 10 คน เพื่อให้ได้ตามจำนวนครัวเรือนที่ได้ระบุในโครงการ
  • กำหนดผู้เข้าร่วมกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ในการจัดครั้งนี้มีผู้หลักผู้ใหญ่ที่จะเชิญมาก็หลายท่าน โดยเฉพาะท่านนายอำเภอ ผอ.รพ.กะพ้อ ผอ.รร. ท่านนายก อบต.กะรุบี และหัวหน้าส่วนราชการอีกหลายหน่วยงาน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย
  • คณะกรรมการหมู่บ้าน จำนวน 10 คน
  • คณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการ 8 คน อสมและปราชญ์ 2 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่8 ตุลาคม 2558
8
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อประชาสัมพันธ์การทำโครงการ สสส.- เพื่อการกำหนดเขตปลอดบุหรี่ในชุมชน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ออกแบบป้ายประชาสัมพันธ์ตามกรอบที่ สสส.กำหนดมาให้ และนำไฟล์พี้อมข้อความที่จะใช้ในการทำป้ายเขตปลอดบุหรี ไปที่ร้าน ใน อ.ปานาเระ  จังหวัดปัตตานี 
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ป้ายประชาสัมพันธ์จำนวน 4 ป้าย นำไปติดที่มัสยิด ศาลาประชาคม และสถานที่ใช้ในการทำกิจกรรม ช่วงที่นำป้ายไปติด คนในชุมชนให้ความสนใจเข้ามาสอบถามและพูดคุย ทำให้ได้ประชาสัมพันธ์การทำโครงการให้กับคนในพื้นที่ได้รับรู้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 150 คน จากที่ตั้งไว้ 150 คน
ประกอบด้วย

ชาวบ้านในชุมชน ม.7 บ้านเจาะกะพ้อใน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ในพื้นที่ อำเภอกะพ้อยังไม่มี ร้านที่รับทำป้ายไวนิล  จึงมีความจำเป็นที่จะต้องออกนอกพื้นที่อื่นที่รับงาน 
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ปฐมนิเทศโครงการชุมชนน่าอยู่ ปี 25585 ตุลาคม 2558
5
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโครงการ
  • เพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินโครงการชุมชนน่าอยู่
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศ ณ สจรส.ม.อ. ในตอนเช้า อ.พงค์เทพ ได้บรรยายหลักการทำโครงการชุมชนน่าอยู่ และทีม สจรส.ได้บรรยายเรื่องการบริหารจัดการโครงการ ในช่วงบ่ายฝึกบันทึกข้อมูลการรายงานกิจกรรม และลงปฏิทินโครงการในเวบไซต์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ ในเรื่อง

  • การจัดทำเอกสารรายงานลงเวปไซค์ คนใต้สร้างสุข
  • การบันทึกข้อมูลลงเวป
  • การบันทึกกิจกรรมลงปฏิทิน
  • การจัดทำรายงาน การรับฟังคำชี้แจง การจัดทำรายงานทางการเงิน
  • การบันทึกรายงานการเงิน
  • การเบิกจ่ายงบประมาณตามงวดของโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ1คน
  • เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 1คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การทำรายงานเกี่ยวกับการเงินต้องเรียนรู้พร้อมกับได้ปฏิบัติจริง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางกัลยาเอี่ยวสกุล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-