แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ คนเกาะขาม ใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร ”

บ้านเกาะขาม หมู่ 2 ต.ควนโส อ.ควนเนียง จ.สงขลา

หัวหน้าโครงการ
นาย พงษ์เทพ พัทธานี

ชื่อโครงการ คนเกาะขาม ใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร

ที่อยู่ บ้านเกาะขาม หมู่ 2 ต.ควนโส อ.ควนเนียง จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 58-03810 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2121

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2015 ถึง 15 ตุลาคม 2016


กิตติกรรมประกาศ

"คนเกาะขาม ใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านเกาะขาม หมู่ 2 ต.ควนโส อ.ควนเนียง จ.สงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คนเกาะขาม ใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " คนเกาะขาม ใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านเกาะขาม หมู่ 2 ต.ควนโส อ.ควนเนียง จ.สงขลา รหัสโครงการ 58-03810 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 212,850.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 130 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
  2. 1.เพื่อให้คนในชุมชนมีฐานข้อมูลการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน
  3. 1.เกิดสภาแกนนำในการขับเคลื่อนงานชุมชน
  4. เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ สมุนไพรชุมชน
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมสภาแกนนำประจำเดือนกันยายน ครั้งที่ 1

    วันที่ 21 กันยายน 2015 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • วาระการประชุมครั้งที่ 1
      ได้มีการปรึกษาขั้นตอนการดำเนินงาน ข้อตกลงและแต่งตั้งสภาแกนนำของชุมชนซึ่งสรุปออกมาได้ดังต่อไปนี้ วาระที่1 การแต่งตั้งสภาแกนนำในโครงการคนเกาะขามใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร
      ซึ่งมีรายชื่อดังต่อไปนี้
      1 ผู้ใหญ่บ้าน นายอำนวยแก้วล่องลอย
      2 ผ.ช.ผู้ใหญ่บ้าน นายวิมล ทิกำพล
      นายนูญ บริเพ็ชร
      นางยุภาทองกลาง
      3 อบต. นายไตรรัตน์ ศุภนาม
      นางฉลวยคงสม
      4 อสม. นส.สุภาพร ศรีมณี
      นส.เรียม ทองชุมนุม
      นางเปลื้อง พรหมอักษร
      นส.สุภาพันธุ์อนันตพงศ์
      นส.สุดาวรรณ อินต๊ะวงศ์
      วาระที่ 2 การแต่งตั้งประธานกลุ่มต่างๆ มีรายชื่อดังต่อไปนี้
      1 กลุ่มออมทรัพย์หมู่บ้าน นายโชติ ศิริมุสิกะ
      2 กลุ่มข้าวซ้อมมือนาลิง - สองเกาะ นางสริสากุลรัตน์
      3 กลุ่มผู้สุงอายุ ม.2 นางเอมจันทภาโส
      4 กลุ่มสตรี ม.2 นส.นวพรบริเพ็ชร
      5 กลุ่ม ชรบ.ม.2 นายชาวรรณมาโส
      วาระที่ 3 ปราชญ์ชาวบ้าน มีรายชื่อดังต่อไปนี้
      1 ศิลปะพื้นบ้านมโนราห์ นายสมบูรณ์ณ ชาตรี
      2 หัตถกรรมจักรสาน นายขุ้ยลิ้น ศิริวัง
      3 แพทย์แผนโบราณ นายนวล บริเพ็ช
      4 ด้านการเกษตร นายโสภณ กุลรัตน์
      5 หัตถกรรมเครื่องเรือน นายสำมาตร สุจิตพันธ์

      วาระที่ 4 ตัวแทนชาวบ้านมีรายชื่อดังต่อไปนี้
      1 นายประดิษฐ์ จันทภาโส
      2 นางออ แก้วรัตถะ
      3 นายอาคมจันทะศิริ
      4 นายบุญให้สานสินธุ์
      5 นางผดุง บุญนุ้ย
      ตัวแทนเยาวชนมีรายชื่อดังต่อไปนี้ 1 นายอนุศิลป์ นาศรี (นิก )
      2 นายศิริพงศ์ ศรีศิริกุล( ออดี้ )
      3 นายศุภพลศิริ(จ๊อด )
      จึงขอความร่วมมือให้สภาแกนนำทุกท่านที่มีรายชื่อดังต่อไปนี้ไปประชุมร่วมกัน
      ในวันอังคารที่29 เดือนกันยายนพ.ศ.2558 เวลา13.00น. - 15.00 น.
      ณ.กลุ่มออมทรัพย์หมู่บ้าน( โรงเรียนวัดโพธิธรรมาราม )

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะกรรมการสภาองค์กรชุมชน จำนวน 30 ท่าน
    2. วางแผนวาระการประชุมในเดือนถัดไป
    3. มีการนำเสนอและแสดงความคิดเห็นแนวทางการทำงานของสภาแกนนำ

     

    30 9

    2. ปฐมนิเทศโครงการ ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ปี 2528

    วันที่ 5 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แนะนำแนวทาง ขั้นตอนการปฎิบัติงานเกี่ยวกับโครงการที่เรารับผิดชอบ
    2. ทบทวนโครงการ และตรวจสอบรายละเอียดกับล่าสุด
    3. ปรับปรุงตัวชี้วัดและการปฎิบัติงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
    4. บันทึกกิจกรรมที่ต้องลงในปฎิทิน -การปถมนิเทศวันนี้ - พร่งนี้ -พี่เลี้ยงลงรั้งที่ 1 ประชุมชี้แจ้งชุมชน (  กรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน ) -มีการรายงานผลการดำเนินงาน ในที่ประชุม(กรรมการหมู่บ้าน )

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1  การเงิน 2 การลงข้อมูลในเว็บไซต์ 3 การลงข้อมูลการวางแผนการดำเนินโครงการในปฎิทิน

     

    2 2

    3. อบรมให้ความรู้และส่งเสริมผู้สูงอายุออกกำลังกายด้วยไม้พลอง

    วันที่ 18 ตุลาคม 2015 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      สอนท่ารำไม้พลองแก่ผู้สูงอายุและวัยทำงานโดยมีวิทยากร 2 ท่านให้ความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้สูงอายุและวัยทำงานมีความรู้ในการออกกำลังและประโยชน์ที่ได้รับจากการออกกำลังกาย ด้วยไม้พลอง ทำให้สุขภาพของคนในกลุ่มนี้มีสุขภาพที่แข็งแรง

     

    30 30

    4. อบรมพัฒนาศักยภาพสภาผู้นำชุมชน

    วันที่ 21 ตุลาคม 2015 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คัดเลือกแกนนำในชุมชน 30 คน ที่มาจากกลุ่มต่างๆในชุมชนเพื่อจัดตั้งสภาแกนนำชุมชน

      -ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธาน

      -ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 3 คน

      -ส.อบต.จำนวน2 คน

      -อสม. จำนวน 5 คน

      -ประธานกลุ่มต่างๆจำนวน 6 คน

      -ปราชญ์ชาวบ้านจำนวน 5 คน

      -ตัวแทนชาวบ้านจำนวน 5 คน

      -ตัวแทนเยาวชนจำนวน 4 คน

    • อบรมพัฒนาศักยภาพของสภาผู้นำชุมชนเพื่อที่จะให้มีความเข้าใจในการแบ่งบทบาทหน้าที่ของสภาผู้นำในการดำเนินการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง มีกฎกติการะเบียบ

    • ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานในชุมชน จำนวน 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำได้รับทราบหน้าทีของแต่ละคนเพื่อนำมาใช้ในการปฎิบัติตามหน้าทีที่ตัวเองรับผิดชอบ  มีการปรึกษาพูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของแต่ละแก่นนำแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาศักยภาพดีขึ้นตามลำดับ

     

    30 30

    5. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 28 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายเขตปลอดบุหร่ี่ติดตั้งบริเวณที่ดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อรณรงค์แก้ไข ลด ละ เลิกสูบบุหร่ี่  แก่คน  3  วัย

     

    130 130

    6. ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยมโนราบิคแก่เด็กและเยาวชน

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2015 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เด็กและเยาวชนในชุมชนมีการออกกำลังกายโดยการนำท่ารำมโนราห์บิค ในการออกกำลังกายในช่วงเช้าก่อนเข้าเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กและเยาวชนในชุมชนมีการออกกำลังกายโดยการนำท่ามโนราห์ทั้งสิบสองท่ามาใช้ในการออกกำลังกายในช่วงเช้าก่อนเข้าเรียน

     

    30 30

    7. 2.การประชุมชี้แจงโครงการ

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2015 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมคณะกกรมการโครงการเพื่อเตรียมการในการจัดการประชุมชี้แจงโครงการ
    2. จัดทำประชาสัมพันธ์เชิญประชาชนในขุมชนร่วมถึงเจ้าหน้าทีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการรับฟังการชี้แจงรายละเอียดของโครงการผ่านทางหอกระจายข่าวของชุมชนรวมถึงจัดทำหนังสือเชิญเข้าร่วมประชุม
    3. ประชุมชี้แจงโครงการต่อชุมชนโดยคณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการและทีมสนับสนุนวิชาการ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนทั้ง 3 ช่วงวัย ในการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมและเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสุขภาพของคนทั้ง 3 ช่วงวัยแลมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ปรึกษาพูดคุยและแก้ไขปัญหาเกิดขึ้น แล้วมีการวางแผนการปฎิบัติงานของกิจกรรมต่อไป

     

    200 200

    8. โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตามประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภายใต้ ปี 2558-2559

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจเกี่ยวกับบันทึกการเงินและหักภาษี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำความเข้าใจเกี่ยวกับบันทึกการเงินและหักภาษี

     

    2 2

    9. อบรมการเขียนรายงานและการเงิน

    วันที่ 4 ธันวาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อธิบาย ให้ความรู้และคำแนะนำกับผู้รับผิดชอบโครงการ เรื่อง การเขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ โดยคุณญัตติพงศ์ แก้วทอง ให้คำแนะนำการจัดทำเอกสารการเงินที่ถูกต้อง พร้อมยกตัวอย่างการเขียนเอกสารการเงิน โดยคุณฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ อธิบาย ให้ความรู้ เรื่องภาษี การจ่ายภาษี โดยคุณสุทธิพงษ์ อุสาหพงษ์สิน แบ่งกลุ่มตามจังหวัดทำการตรวจสอบเอกสารการเงิน ให้คำแนะนำการทำรายงานกิจกรรม และทดลองทำการหักภาษี โดยแต่ละกลุ่มจะมีพี่เลี้ยงและทีม สจรส.ม.อ. พร้อมพูดคุยซักถามแลกเปลี่ยนการทำโครงการร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการแบ่งกลุ่มตรวจสอบเอกสาร ให้คำแนะนำการเขียนรายงานกิจกรรม และการหักภาษี ณ ที่จ่าย ทำให้ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจเรื่องค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียภาษี ได้ฝึกทำการเสียภาษี และพูดคุยซักถามในเรื่องที่สงสัย ทำให้เกิดความเข้าใจในเรื่องการหักภาษีและดำเนินการเริ่มหักภาษีในเดือนถัดไป คือ เดือนธันวาคม 2558

     

    2 2

    10. เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนส่งรายงานงวดที่ 1

    วันที่ 30 มกราคม 2016 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมความพร้อมสรุปปิดงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      ให้เตรียมเอกสารส่ง เอกสารไหนที่ต้องเสียภาษีให้ไปเสียภาษีก่อนวันที่กำหนด การเขียนบิลสำหรับส่ง การบันทึกกิจกรรมที่ทำวันนี้

     

    2 2

    11. จัดทำรายงานปิดงวดที่ 1

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารการเงิน การลงข้อมูลในเว็ปไซ จัดทำการแก้ไขเอกสารการเงิน รายงานในเว็ปคนใต้สร้างสุขให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการมีความเข้าใจในเรื่องของการแก้ไขเอกสารการเงิน การจ่ายภาษี การลงรายงานในเว็ป พร้อมทั้งกลับไปแก้ไขเอกสารที่ไม่ถูกต้อง มาแก้ไข และนำส่งรายงานในครั้งต่อไป

     

    2 2

    12. คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร 500 บาท

     

    2 2

    13. อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำเด็กและเยาวชนในการเก็บข้อมูลสุขภาวะของชุมชน

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ช่วงเช้า อบรมข้อมูลครัวเรือนด้านสุขภาวะ โดยมีเจ้าหน้าที่จาก รพสต. มาให้คำแนะนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กและเยาวชน ชาวบ้าน มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว ( เช่น หวัด  ตาแดง  ไข้เลือดออก  ซึ่งกำลังระบาดอยู่ในตอนนี้ )
    มีข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพของครัวเรือน ของคนทั้ง 3 วัย ( พร้อมรณรงค์ให้คนทั้ง 3 วัยออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ) ลดความเสี่ยงที่จะทำให้เิกิดโรคภัยไข้เจ็บ

     

    30 30

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของครัวเรือนในชุมชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ 2. ร้อยละ 60 ของครัวเรือนในชุมชนมีการปลูกผักไว้บริโภคในครัวเรือน 3. คนในชุมชนมีการออกกำลังทั้ง 3 ช่วงวัย (วัดจากสมุดบันทึกสุขภาพ) 4. กลุ่มเด็กและเยาวชนเรียนรู้การออกกำลังกายมโนราห์บิค

    -ครัวเรือนในชุมชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะจากการผ่านการอบรม

    -ครัวเรือนในชุมชนมีการปลูกผักไว้บริโภคในครัวเรือน

    -คนในชุมชนมีการออกกำลังทั้ง 3 ช่วงวัย (วัดจากสมุดบันทึกสุขภาพ)

    -กลุ่มเด็กและเยาวชนเรียนรู้การออกกำลังกายมโนราห์บิค

    2 1.เพื่อให้คนในชุมชนมีฐานข้อมูลการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีฐานข้อมูลด้านการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน 1 ชุด 2. มีการจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวของกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 3ช่วงวัย

    -มีฐานข้อมูลด้านการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน 1 ชุด

    -สมุดจดบันทึกสุขภาพของคนในชุมชน

    3 1.เกิดสภาแกนนำในการขับเคลื่อนงานชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. สภาแกนนำ มาจากกลุ่มต่างๆในชุมชนที่มีจิตอาสา จำนวน 30 คน 2. มีกฎกติกาของสภาแกนนำที่เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายและยึดถือปฏิบัติร่วมกัน 3. กลุ่มสภาแกนนำมีการประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการทุกเดือน จำนวน 10 เดือน 4. มีผู้เข้าร่วมประชุมสภาแกนนำไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของสภาแกนนำทั้งหมด

    -มีสภาแกนนำ มาจากกลุ่มต่างๆในชุมชนที่มีจิตอาสา จำนวน 30 คน

    -กฎกติกาของสภาแกนนำที่เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายและยึดถือปฏิบัติร่วมกัน

    -กลุ่มสภาแกนนำมีการประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการทุกเดือน จำนวน 10 เดือน

    -มีผู้เข้าร่วมประชุมสภาแกนนำไม่น้อยกว่า24 ของสภาแกนนำทั้งหมด

    4 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ สมุนไพรชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีครัวเรือนเข้าร่วมปลูกสมุนไพร 100 ครัวเรือน 2. มีการปลูกพืชสมุนไพรในโรงเรียนใน 1 แห่ง 3. เกิดศูนย์เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร

    -มีครัวเรือนเข้าร่วมปลูกสมุนไพร 100 ครัวเรือน

    -มีการปลูกพืชสมุนไพรในโรงเรียนใน 1 แห่ง

    -เกิดศูนย์เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร

    5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

    -เข้าร่วมประชุมพี่เลี้ยงและสจรส ทุกครั้งที่จัดอบรม

    -มีป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่บริเวณพื้นที่ดำเนินกิจกรรม

    -มีภาพถ่ายในการทำกิจกรรมทุกครั้ง

    -จัดส่งรายงานตามกำหนด

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ (2) 1.เพื่อให้คนในชุมชนมีฐานข้อมูลการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน (3) 1.เกิดสภาแกนนำในการขับเคลื่อนงานชุมชน (4) เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ สมุนไพรชุมชน (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ คนเกาะขาม ใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร

    รหัสโครงการ 58-03810 รหัสสัญญา 58-00-2121 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    คนเกาะขาม ใส่ใจสุขภาพ ด้วยพืชผักสมุนไพร จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 58-03810

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย พงษ์เทพ พัทธานี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด