แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 58-03943
สัญญาเลขที่ 58-00-1920

ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มศักยภาพชุมชนลดรายจ่าย ม.15 บ้านในใส ต.ละงู
รหัสโครงการ 58-03943 สัญญาเลขที่ 58-00-1920
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวอนัญญา แสะหลี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 ตุลาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 ตุลาคม 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวอารีรัตน์ เอียดดี 270 ม.15 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล 0874776951

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง

  • มีข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชนจำนวน 1 ชุด
  • มีเยาวชนและแกนนำชุมชนมีทักษะในการเก็บข้อมูลจำนวน 20 คน

2.

เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และมีความมั่นคงยั่งยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  • มีฐานข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชนจำนวน 1 ชุด
  • เกิดครัวเรือนต้นแบบการทำบัญชีครัวเรือน 50 ครัวเรือน
  • ครัวเรือนตัวอย่างดำรงชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 50 ครัวเรือน

3.

เพื่อพัฒนากลไกการทำงานของชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

  • มีคณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน จำนวน 1 ชุด
  • เกิดสภาหมู่บ้านจำนวน 1 สภา
  • สมาชิกสภาประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆที่มีอยู่ในชุมชนจำนวน 30 คน
  • ทุกครั้งมีการปรึกษาหารือปัญหาต่างๆในหมู่บ้าน
  • มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
  • มีแผนปฏิบัติการในชุมชน อย่างน้อย 5 แผน
  • มีสภาชุมชนประชุมร่วมกันเดือนละครั้ง

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 10 ครั้งต่อปีi

7,600.00 0 ผลผลิต
  • ในงวดที่ 3 มีการจัดกิจกรรมสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 1 ครั้ง จัดกิจกรรมวันที่ 11 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการประชุมเตรียมในการปิดงวดโครงการและวางแผนในการจัดกิจกรรมอื่นๆในชุมชน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ร่วมกำหนดวันเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
  • ได้รับแนวคิดของทีมสภาในการนำเสนอวัตถุดิบในการจัดกิจกรรม
  • ได้มีการเสนอให้มีการสร้างกติกาของกลุ่ม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • บัณฑิตอาสาฯ
  • อสม.
  • กลุ่มสตรี
  • อบต.และผู้แทนกลุ่มต่างๆ
750.00 850.00 30 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แต่งตั้งสภาผู้นำหมุ่บ้าน ประกอบด้วย ประธานสภา(ผู้รับผิดชอบโครงการ) จำนวน 1 คน รองประธาน จำนวน 2 คน ผู้ใหญ่บ้านเลขานุการเหรัญญิกและคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ เกิดจิตอาสาการทำงานมากขึ้นเข้าใจและยอมรับกิจกรรมตามแผนที่ได้วางไว้

  • ในการดำเนินงานเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไปด้วยกันและการพัฒนาสภาให้มีความรับผิดชอบมีจิตอาสาในการทำงานช่วยเหลือชุมชนให้มีผู้นำที่เข้มแข็งและพร้อมที่จะช่วยเหลือแก้ปัญหาให้กับคนในชุมชนและชุมชนเองก็จะเจริญก้าวหน้าสามารถรับกับสถานการณ์ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมากมายในปัจจุบันมีการเลือกแต่งตั้งประธานสภารองประธานสภาเลขานุการเหรัญญิกและกรรมการฝ่ายต่างๆ

คณะทำงานโครงการเพิ่มศักยภาพชุมชนลดรายจ่ายหมู่  15  ต.ละงู  อ.ละงู  จ.ตูล

750.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจโครงการมากขึ้น รู้จักการแก้ไขปัญหาและการวางแผนจัดกิจกรรมร่วมกันและพร้อมที่จะทำงานกันมากขึ้นและช่วยกันในการทำงานเป็นทีม
  • การเตรียมกิจกรรมที่ 5 ประะชุมวิชาการออกแบบแบบสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาหนี้สินในชุมชนโดยให้มีการนำเสนอวิทยากรในการออกแบบสำรวจเพื่อให้แบบสำรวจออกมาครอบคลุมและมีการแจ้งการทำงานในรอบต่อไปอาจตามปฏิทินหรือมีการเปลื่อนแปลงซึ่งจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • อสม.
  • อบต.
  • กลุ่มสตรีในชุมชน
  • ผู้นำศาสนา
750.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานได้ทราบผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและวางแผนการประชุมทีมคณะทำงานลงเก็บข้อมูลหนี้สิน 20 คน และเตรียมวางแผนการจัดกิจกิรรมว่าให้คณะทำงาน30คนทำอะไรบ้างโดยจะแบ่งหน้าที่การทำงานให้แต่ละคนรับผิดชอบเกิดการทำงานเป็นทีมและมีแผนปฏิบัติการในการทำงานแต่ละครั้งที่นำไปสู่การทำงานอย่างมีส่วนร่วมและเพื่อให้เข้าใจที่ตรงกัน

  • คณะทำงานโครงการ
  • สี่เสาหลัก
  • อสม.
750.00 750.00 30 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับฟังปัญหาอุปสรรคจากการทำกิจกรรมต่างๆของคณะทำงาน
  • ได้ขบวนการที่พร้อมจะขับเคลื่อนไปด้วยกัน
  • เกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
  • เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
  • คณะทำงานโครงการ
  • ทีมสภาผู้นำ
850.00 950.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทีมสภาโครงการเพิ่มศักยภาพชุมชนลดรายจ่ายหมู่  ๑๕  ต.ละงู  อ.ละงู  จ.สตูล  ได้เข้าใจการทำงานและเพื่อเกิดความเข้าใจการชี้แจงให้แก่ทีมสภาในการดำเนินโครงการ
  • คณะทำงานทีมสภาประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านสอบต.อสม.ตัวแทนกลุ่มต่างๆ
750.00 950.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เริ่มประชุมเวลา13.00 น. ณ อาคารเอนกประสงค์บ้านในใสหมู่ 15 ต.ละงู อ.ละงู จังหวัดสตูล เพื่อประชุมทีมสภาในการวางแผนทำกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลชุมชน100คน กำหนดหน้าทีความรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมในการคืนข้อมูลให้กับคนในชุมชนโดยมีการแบ่งหน้าที่ในการจัดงานในครั้งนี้ซึ่งมอบหมายให้คณะทำงานจัดทำแผ่นชาร์ทเพื่อใช้ประกอบในการจัดเวทีคืนข้อมูลโดยสรุปข้อมูลหนี้สินของคนในชุมชนลงในแผ่นชาร์ทให้คณะทำงานรับผิดชอบอาหารและเครื่องดื่มพร้อมทั้งจัดซื้อของรางวัลของรางวัลเพื่อความสนุกสนานให้กับผู้ที่มาประชุมเอกสารที่จะต้องแนบเพื่อเสนอโครงการภายใต้โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรและชนบทคือโครงการประเภทแหล่งน้ำและโครงการประเภทพัฒนาอาชีพ
  1. แบบเสนอโครงการ(ฉบับจริง๑ชุด๑.๑หนังสือรับรองกลุ่ม/องค์กร๑.๒ประวัติองค์กร๑.๓ผลงานที่สำคัญที่ผ่านมา

  2. บันทึกการประชุมประชาคมหมู่บ้านมีมติที่ประชุมชัดเจนพร้อมรับรองสำเนา

  3. สำเนาแผนชุมชน/แผนพัฒนาหมู่บ้านพร้อมรับรองสำเนา(เฉพาะส่วนที่แสดงการวิเคราะห์ปัญหาและส่วนที่ปรากฏแผนงาน/โครงการ

  4. แบบการพิจารณาเหตุผลและความจำเป็น(กรณีมีการจ้างเหมาบางส่วน)

  5. แบบปร.๔/ปร๕โดยชั่งโยธารับรองเฉพาะกรณีที่มีการก่อสร้างโดยอ้างอิงแบบมาตรฐาน(โครงการประเภทแหล่งน้ำ),เอกสารอื่นๆที่จะแสดงให้เห็นถึงความพร้อมหรือความเข้มแข็งขององค์กรที่จะสามารถบริหารจัดการโครงการได้อย่างยั่งยืน(โครงการประเภทอาชีพ)

  6. แบบขอใช้พื้นที่สาธารณะประโยชน์ฉบับจริงพร้อมสำเนาเอกสารสิทธิ์ของพื้นที่(โครงการประเภทแหล่งน้ำ)๗.เอกสารอื่นๆที่จะแสดงให้เห็นถึงความพร้อมหรือความเข้มแข็งขององค์กรที่จะสามารถบริหารจัดการโครงการได้อย่างยั่งยืน(โครงการประเภทแหล่งน้ำ)

  • ทีมสภาแต่ละคนได้รับหน้าที่ที่มอบหมายจากทีม
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สอบต.
  • อสม.
  • คนในชุมชน
750.00 1,050.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านเป็นอย่างดี
  • ทีมสภาได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบการเตรียมจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
  • ผู้นำภาคีเครือข่ายต่างๆผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกอบต. อสม.
    กลุ่มสตรี ผู้นำศาสนาและกองทุนหมู่บ้าน แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สมาชิกอบต.
  • อสม.
  • คณะทำงานโครงการ
750.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ผลสรุปในการทำบัญชีของครัวเรือนนำร่อง
  • ได้แนวคิดที่่หลากหลายของคณะทำงานสภา
  • คณะทำงาน 30 คน
750.00 950.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้สถานที่ศึกษาดูงานจากเดิมตำบลย่านซื่ออำเภอควนโดนจังหวัดสตูลเปลี่ยนไปศึกษาดูงานจังหวัดกระบี่
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สมาชิกอบต.
  • อสม.
  • กลุ่มกองทุนต่างๆ จำนวน 30 คน
750.00 850.00 30 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้วันเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
  • ได้รับแนวคิดของทีมสภาในการนำเสนอกวัตถุดิบในการจัดกิจกรรม
  • ได้มีการเสนอให้มีการสร้างกติกาของกลุ่ม

กิจกรรมหลัก : พัฒนาพื้นที่เพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนในด้านต่อด้วยการปฏิบัติการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์i

22,500.00 50 ผลผลิต
  • พัฒนาพื้นที่เพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนในด้านต่อด้วยการปฏิบัติการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ จัดกิจกรรมวันที่ 24 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน เป็นการพัฒนาพื้นที่เพื่อทำศูนย์เรียนรู้ฯ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้กติกาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
  • ได้คนในการสร้างชุมชนให้น่าอยู่มากขึ้น
  • ได้ความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจกันมากขึ้น
  • ได้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ครัวเรือนนำร่อง
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สมาชิกอบต.
  • อสม.
  • กลุ่มต่างๆในหมู่บ้าน
22,500.00 22,500.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้กติกาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
  2. ได้คนในการสร้างชุมชนให้น่าอยู่มากขึ้น
  3. ได้ความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจกันมากขึ้น
  4. ได้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมหลัก : ทบทวนกติกาหมู่บ้านเพื่อปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้นi

9,620.00 50 ผลผลิต
  • ทบทวนกติกาหมู่บ้านเพื่อปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้นจัดกิจกรรมวันที่ 26 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน เป็นการทบทวนกติการ่วมของหมู่บ้าน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้กติกาหมู่บ้านที่ทันสมัยคือ 1.ห้ามยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด2.ห้ามยุ่งเกี่ยวกับการพนัน3. บุคคลภายนอกที่มาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านกิน3วันต้องแจ้งผู้ใหญ่บ้านทราบ4.ห้ามมั้วสุมในยามวิกาลตั้งแต่เวลา24.00-03.00น.5.ผู้ใดไม่เข้าร่วมประชุมหมู่บ้านเกิน3ครั้งจะพิจารณาในการกู้เงินกยศ.และธุรกรรมต่างๆหรือค่ำประกันบุคคล เป็นต้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สมาชิกอบต.
  • ่อสม.
  • กลุ่มกองทุนต่างๆ
  • ครัวเรือนนำร่อง
  • คณะทำงานโครงการ
9,620.00 9,920.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้กติกาหมู่บ้านที่ทันสมัยคือ
  1. ห้ามยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. ห้ามยุ่งเกี่ยวกับการพนัน
  3. บุคคลภายนอกที่มาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านกิน 3 วันต้องแจ้งผู้ใหญ่บ้านทราบ
  4. ห้ามมั้วสุมในยามวิกาลตั้งแต่เวลา 24.00-03.00 น.
  5. ผู้ใดไม่เข้าร่วมประชุมหมู่บ้านเกิน 3 ครั้ง จะพิจารณาในการกู้เงินกยศ.และธุรกรรมต่างๆหรือค่ำประกันบุคคล

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนดีเด่นจำนวน 10 คน และคณะทำงานโครงการจำนวน 20 คนi

4,100.00 30 ผลผลิต
  • ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนดีเด่นจำนวน 10 คน และคณะทำงานโครงการ จัดกิจกรรมวันที่ 2 ต.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนที่ดำเนินการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้มีการแบ่งโซนครัวเรือนโดยมีผู้รับผิดชอบในการสำรวจจำนวน10คนต่อ5ครัวเรือน
  • ได้สำรวจพื้นที่ของหมู่บ้านหมู่ที่15บ้านในใสว่ามีกี่ครัวเรือนที่ปลูกผักและส่วนใหญ่ปลูกผักอะไรกี่ชนิด
  • ได้ทราบถึงการทำบัญชีว่ามีกี่ครัวเรือนเพื่อนำมาสู่การพิจารณาครัวเรือนดีเด่น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • คณะทำงานโครงการ
  • เจ้าหน้าที่รพสต.
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • อสม.
  • กลุ่มต่างๆในหมู่บ้าน
4,100.00 4,100.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้มีการแบ่งโซนครัวเรือนโดยมีผู้รับผิดชอบในการสำรวจจำนวน10คนต่อ5ครัวเรือน
  • ได้สำรวจพื้นที่ของหมู่บ้านหมู่ที่15บ้านในใสว่ามีกีครัวเรือนที่ปลูกผักและส่วนใหญ่ปลูกผักอะไรกี่ชนิด
  • ได้ทราบถึงการทำบัญชีว่ามีกี่ครัวเรือน

กิจกรรมหลัก : ลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการ แบ่งประเมินจำนวน 2 วันi

3,300.00 30 ผลผลิต
  • ลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการ แบ่งประเมิน จัดกิจกรรมวันที่ 6 ต.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการลงพื้นที่ประเมินครัวเรือนดีเด่น

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ทราบข้อมูลผู้ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้แต่ละครัวเรือนว่ามีการปลูกผักชนิดใดบ้างและกีชนิด
  • ทำให้คนในชุมชนให้ความสนใจในการปลูกผักสวนครัวกันมากขึ้นและได้ครัวเรือนดีเด่น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • คณะกรรมการลงประเมิน  ผู้ใหญ่บ้าน  อบต.  อสม. 
3,300.00 3,300.00 30 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ทราบข้อมูลผู้ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้แต่ละครัวเรือนว่ามีการปลูกผักชนิดใดบ้างและกีชนิด
  • ทำให้คนในชุมชนให้ความสนใจในการปลูกผักสวนครัวกันมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : จัดงานประกวดครัวเรือนดีเด่นตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงi

24,000.00 100 ผลผลิต
  • จัดงานประกวดครัวเรือนดีเด่นตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมวันที่ 9 ต.ค. 59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 100 คน เป็นการประกวดครัวเรือนดีเด่น

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คนในชุมชนให้ความร่วมมือในการเข้าประชุมทำกิจกรรมกันมากขึ้น
  • สามารถมองเห็นภาพในอนาคตเรื่องการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ของแต่ละครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น
  • คนในชุมชนมีความตื่นตัวกันมากขึ้นเมื่อมีกิจกรรมดีจากโครงการเพิ่มศักยภาพชุมชนลดรายจ่าย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สอบต.
  • คณะทำงาน
  • ครัวเรือนนำร่อง
24,000.00 23,800.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คนในชุมชนให้ความร่วมมือในการเข้าประชุมทำกิจกรรมกันมากขึ้น
  • สามารถมองเห็นภาพในอนาคตเรื่องการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ของแต่ละครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น
  • คนในชุมชนมีความตื่นตัวกันมากขึ้นเมื่อมีกิจกรรมดีจากโครงการเพิ่มศักยภาพชุมชนลดรายจ่าย

กิจกรรมหลัก : ถอดบทเรียนการทำงานโครงการของคณะกรรมการสภา จำนวน 30 คนi

6,400.00 50 ผลผลิต
  • ถอดบทเรียนการทำงานโครงการของคณะกรรมการสภาจัดกิจกรรมวันที่ 11 ต.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการถอดบทเรียนการทำงานโครงการ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานได้แสดงความคิดเห็นจากการทำกิจกรรมตั้งแต่เริ่มจนถึงกิจกรรมถอดบทเรียน
  • คณะทำงานได้วางแผนการทำโครงการต่อไปหากมีงบประมาณสนับสนุนอีก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้รับผิดชอบโครงการ
  • คณะทำงานโครงการ
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สมาชิกอบต.
  • อสม.
  • กลุ่มแม่บ้าน
  • บัณฑิตอาสาฯ
6,400.00 6,200.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานได้แสดงความคิดเห็นจากการทำกิจกรรมตั้งแต่เริ่มจนถึงกิจกรรมถอดบทเรียน
  • คณะทำงานได้วางแผนการทำโครงการต่อไปหากมีงบประมาณสนับสนุนอีก

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  • ในงวดที่ 3 ได้มีการพบพี่เลี้ยงจำนวน 6 ครั้งเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน รายงานกิจกรรมและปรับปฏิทินโครงการ และสรุปปิดโครงการ รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมในงานคนใต้สร้างสุข

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานพื้นที่ได้มีความเข้าใจในการจัดทำเอกสารการเงินและรายงานกิจกรรม
  • ปรับปฏิทินให้สอดคล้องกับการทำงานของพื้นที่
  • ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานคนใต้สร้างสุข
  • สามารถสรุปปิดโครงการได้ตามเวลาที่กำหนด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 17 ครั้ง

  • ผู้รับผิดชอบโครงการ/เจ้าของโครงการ
2,000.00 400.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลกิจกรรม รายงานการเงินในเว็บไซต์ การจัดทำเอกสารการเงิน ทำให้คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการโครงการ และคณะทำงานจะนำไปเผยแพร่ในชุมชนต่อไป
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เอกสารทางการเงินและแบบการจัดทำป้ายโครงการ
  • ผู้เปิดบัญชีธนาคาร
0.00 500.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับเงินค่าเปิดบัญชีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

คณะทำงานโครงการ 2 คน

2,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ทราบขั้นตอนการเขียนรายงาน มีความเข้าใจเรื่องผลผลิตและผลลัพธ์
  • การจัดทำเอกสารการเงิน เข้าใจเรื่องการเขียนใบสำคัญรับเงิน การใช้จ่ายตามจริงที่ทำกิจกรรม
  • เข้าใจเรื่องการเสียภาษี หัก 1 เปอร์เซ็นในค่าใช้จ่าย เช่น ค่าตอบแทนเกิน 1000 บาท ค่าเช่าเกิน 1000 บาท ค่าจ้างเกิน 1000 ซึ่งต้องหักภาษีทุกครั้งที่มีการใช้จ่ายในหมวดนี้
  • คณะทำงาน จำนวน2คน
0.00 200.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เอกสารที่ถูกต้อง
  • คณะทำงาน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เอกสารที่ถูกต้องพร้อมที่รายงานการปิดงวด

  • คณะทำงาน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เอกสารที่ถูกต้อง
  • ได้บันทึกข้อมูลได้ครบถ้วน
  • เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
  • ตัวแทนคณะทำงานโครงการ
2,000.00 880.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลการตรวจสอบเอกสารการเงินสอดคล้องกับข้อมูลในเว็ปไซด์
  • สามารถปิดงวด 1  ได้
  • เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
  • ตัวแทนคณะทำงานโครงการ
0.00 1,200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนรายงาน และการเงินปิดงวด 1 ได้ดียิ่งขึ้น
  • คณะทำงานโครงการ (เจ้าหน้าที่การเงิน)
0.00 200.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เพื่อสรุปงานกิจกรรมโครงการที่ได้ดำเนินงานและแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลในการรายงานกิจกรรมในเว็ปไซด์และความถูกต้องของเอกสารการเงิน
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แผนการจัดกิจกรรมที่เป็นปัจจุบันและสามารถดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่องตามปฏิทินโครงการ
  • ได้แก้ไขเพิ่มเติมรายละเอียดการบันทึกรายงานกิจกรรม โดยเพิ่มเติมเนื้อหาข้อความ ให้มีความละเอียด ครบถ้วนและชัดเจนมากยิ่งขึ้น
  • เจ้าหน้าที่การเงิน
  • คณะทำงาน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ผลลัพธ์จากการรวบรวมเอกสารทางการเงินและการนำรายงานเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
  • คณะทำงานพื้นที่ละ 2 คน
2,000.00 3,280.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ทราบการดำเนินงานการทำกิจกรรมของแต่ละพื้นที่ซึ่งมีความแตกต่างกัน
  • การดำเนินการทำกิจกรรมของแต่ละพื้นที่แต่ละสำนักมีความแตกต่างกันแต่เกิดการสมดุล
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการการพิมพฺ์รายงาน
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลียงได้ตรวจเอกสารโครงการเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลียงได้ตรวจเอกสารโครงการเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลี้ยงสามารถตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการ
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน
  • ใช้สภาผู้นำหมู่บ้านในการขับเคลื่อนการทำงาน
  • โครงสร้างสภาผู้นำหมู่บ้านมาจากคณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มอง๕ืกรต่างที่มีอยู่ในชุมชน
  • การขับเคลื่อนงานของพื้นที่มีคนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นโดยการกระจายการทำงานของคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน
1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน
  • เนื่องจากคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านมาจากกลุ่มคนที่เป็นผู้นำซึ่งมีทักษะในการขับเคลื่อนงานพัฒนาทำให้ได้มีเวทีในการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน
  • จากการติดตามการทำงานของพื้นที่ในเรื่องการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้และมีการทำกิจกรรมต่างๆเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้คนในชุมชนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและให้มีครัวเรือนนำร่องในการทำกิจกรรมก็เห็นว่าสามารถดำเนินการไปได้และสามารถขยายครัวเรือนต้นแบบให้เต็มพื้นที่ชุมชนซึ่งบางครัวครัวเรือนก็ยังดำเนินการไม่เต็มรูปแบบแต่ค่อยๆพัฒนาโดยการศึกษาจากครัวเรือนที่สามารถดำเนินการได้
2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ
  • มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน ตามแผนการใช้จ่าย มีการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้และมีการจัดทำรายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และมีการรายงานต่อคณะกรรมการโครงการได้รับทราบ
2.2 การใช้จ่ายเงิน
  • การดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมีการกำหนดเป้าหมายแผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานและงบประมาณที่ต้องใช้เบิกจ่ายงบประมาณตามห้วงเวลาของกิจกรรม งานมีความต่อเนื่อง ตามเป้าหมาย ภายในระยะเวลาที่กำหนด ใช้งบประมาณตามแผน การดำเนินนั้นเปิดเผยและเที่ยงธรรม สะดวกรวดเร็ว มีความรับผิดชอบ เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและบรรลุภารกิจตามแผนที่กำหนดไว้
2.3 หลักฐานการเงิน
  • มีหลักฐานการเงินครบทุกกิจกรรมซึ่งเมื่อพี่เลี้ยงตรวจสอบและให้คำแนะนำพื้นที่ก็สามารถปรับและดำเนินการได้ทุกกิจกรรม
ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

การดำเนินงานของพื้นที่ชุมชนมีการทำงานเป็นทีม และดึงศักยภาพ บทบาท ของแต่ละคนแต่ละกลุ่ม ที่มีจิตอาสาในการทำงานมาร่วมกันขับเคลื่อนเป็นโครงสร้างการทำงานที่ชัด และเห็นถึงศักยภาพของผู้รับทุนที่เป็นคนรุ่นใหม่นักพัฒนา ที่มีความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน และคณะกรรมการ ที่มีวฺิธีการเรียนรู้ ในการปรับรูปแบการทำงานที่ดีขึ้น ตามศักยภาพและเสริมหนุนการทำงานแก่ทีมงานได้เป็นอย่างดี และการขอสนับสนุนหน่วงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเสริมหนุนกิจกรรม เกิดความยั่งยืน และมีการนำทุนทางสังคม โดยเฉพาะด้านบุคคลมาร่วมในการทำงานและเป็นที่ปรึกษามีการใช้สถานที่ของชุมชนร่วมกันซึ่งกิจกรรมการดำเนินงานมีความตั้งใจมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานและการเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม มีมาตราการทางสังคม/กติกาชุมชน ที่สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันวางแผน ร่วมกันทำ และร่วมกันชื่นชม มีการใช้บัณฑิตอาสาในการเป็นทีมวิชาการในการขับเคลื่อนการทำงานของพื้นที่และสามารถต่อยอดโครงการโดยการให้กลุ่มองค์กรที่มีอยู่ในชุมชนขอโครงการกองทุนท้องถิ่นมาขับเคลื่อนการทำงานต่อไป

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • การดำเนินกิจกรรมโครงการในงวดนี้มีการประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 1 ครั้ง เป็นการประชุมเตรียมในการปิดงวดโครงการและวางแผนในการจัดกิจกรรมอื่นๆในชุมชน พัฒนาพื้นที่เพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนในด้านต่อด้วยการปฏิบัติการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ จัดกิจกรรมวันที่ 24 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน เป็นการพัฒนาพื้นที่เพื่อทำศูนย์เรียนรู้ฯ ได้มีการทบทวนกติกาหมู่บ้านเพื่อปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้น เป็นการทบทวนกติการ่วมของหมู่บ้าน ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนดีเด่นและคณะทำงานโครงการ เป็นการประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนที่ดำเนินการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ต่อด้วยการลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการ เป็นการลงพื้นที่ประเมินครัวเรือนดีเด่น แล้วนำมาสู่การจัดงานประกวดครัวเรือนดีเด่นตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 100 คน เป็นการประกวดครัวเรือนดีเด่น สุดท้ายก็มีการถอดบทเรียนการทำงานโครงการของคณะกรรมการสภา ซึ่งในระหว่างการทำกิจกรรมต่างๆก็ได้มาพบพี่เลี้ยงอย่างต่อเนื่องเพื่อขอคำปรึกษาเรื่องเอกสารการเงินและรายงานกิจกรรมในเวบไซค์ เข้าร่วมกับทาง สจรส.ทุกครั้งที่มีการนัดหมายและร่วมงานสร้างสุขภาคใต้เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนกับพี่น้องต่างพื้นที่

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong