directions_run

สร้างจิตสำนึกเยาวชนบ้านนาทอนเพื่อการเรียนรู้การเกษตร

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สร้างจิตสำนึกเยาวชนบ้านนาทอนเพื่อการเรียนรู้การเกษตร
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03934
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 163,500.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเชิดศักดิ์หมีนหา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0836544576,0836544576
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายตรา เหมโคกน้อย
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 1 บ้านนาทอนตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.0715546776549,99.765357747674place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 20 ก.พ. 2559 65,400.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 21 ก.พ. 2559 15 ต.ค. 2559 81,750.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 16,350.00
รวมงบประมาณ 163,500.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  • มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  • มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูล การวางแผนงานการทำงานและจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่อง อาชีพเสริมในชุมชน
  • ประชาชนเข้าใจปัญหารายรับ รายจ่าย รายได้ในครัวเรือน
  • ชุมชนมีการรวมกลุ่มสร้างอาชีพเสริมในชุมชน
  • คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
  • มีการนำผลผลิตไปแปรรูปและจำหน่ายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
  • เกิดกองทุนหมุนเวียนด้านอาชีพของกลุ่มเยาวชนในชุมชน
  • ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี
  • ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านการประกอบอาชีพและการสร้างอาชีพเสริม
  • ชุมชนมีนักจัดการข้อมูลด้านอาชีพเพื่อใช้ในการแก้ปัญหารายรับ รายจ่ายในชุมชน
3 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริหารจัดการด้านอาชีพของชุมชน
  • ชุมชนเกิดกติกาด้านอาชีพโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
  • เกิดแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพในชุมชนที่มีการบริหารจัดโดยคนในชุมชน
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกด้านกลุ่มอาชีพในชุมชน
  • กลไกด้านอาชีพในชุมชนที่ประกอบไปด้วยกลุ่มคนในชุมชนที่หลากหลายทั้งท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรศาสนา องค์กรภาคประชาชนแกนนำชุมชน
  • กลุ่มเยาวชนในชุมชนที่มีศักยภาพ
  • มีเวทีประชุมสำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชนเป็นประจำทุกเดือน
  • กลไกมีศักยภาพมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงไปสู่ชุมชนอื่นๆได้ในอนาคต
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 2558 09:24 น.