directions_run

โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ ภาคใต้ พัฒนาศักยภาพ สนับสนุนวิชาการ ปี 58

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนเรียนรู้ เข้าใจสาระสำคัญของชุมชนน่าอยู่ และเข้าใจหลักการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ของ สสส.สำนัก 6 (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพทักษะด้านการเขียนโครงการให้ผู้สนใจเสนอโครงการ เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการที่มีความสมบูรณตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานได้ต่อเนื่อง (3) เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับทุนด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการปฐมนิเทศ การอบรมการเขียนรายงานและการจัดการเอกสารการเงิน แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เสวนาแลกเปลี่ยนและศึกษาดูงานในพื้นที่ (4) เพื่อรวบรวมสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดจากโครงการ ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่น เกิดความรู้เชิงปฏิบัติการและนวัตกรรมชุมชนเป็นต้น ที่สามารถขยายผลและสร้างประโยชน์ต่อชุมชนและนำไปเชื่อมโยง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เวบไซต์ สื่อสิงพิมพ์ เป็นต้น (5) เพื่อบูรณาการประสานงานภาคีเชื่อมโยง กระบวนการปฏิบัติการในชุมชนไปสู่การยกระดับเป็นกระบวนการนโยบาย และเกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (6) เพื่อพัฒนาระบบ กลไก แนวทางการติดตามสนับสนุนและประเมินผลระดับภาค เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของทีมสนับสนุนวิชาการ ด้านต่าง ๆ และปรับปรุงระบบเวบไซต์สร้างสุขคนใต้ที่รายงานผลการดำเนินงานของผู้รับทุนและผู้ติดตาม ให้เกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง / แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ