directions_run

โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ ภาคใต้ พัฒนาศักยภาพ สนับสนุนวิชาการ ปี 58

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ชุมชนเรียนรู้ เข้าใจสาระสำคัญของชุมชนน่าอยู่ และเข้าใจหลักการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ของ สสส.สำนัก 6
ตัวชี้วัด : มีชุมชนเป็นพื้นที่ใหม่อย่างน้อยจังหวัดละ 15 ชุมชน รวม 210 ชุมชนเข้าใจสาระสำคัญของชุมชนน่าอยู่ และเข้าใจหลักการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ของ สสส.สำนัก 6

 

 

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพทักษะด้านการเขียนโครงการให้ผู้สนใจเสนอโครงการ เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการที่มีความสมบูรณตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานได้ต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เสนอโครงการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ด้อยโอกาส/เป้าหมายใหม่ ได้รับความรู้ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะการเขียนโครงการ 140 พื้นที่ และสามารถผ่านการพิจารณาอนุมัติ 100 โครงการ และกระจายทุนในจังหวัดที่ได้รับทุนน้อย 2. มีผู้เสนอโครงการที่เป็นโครงการต่อเนื่องของพื้นที่เดิม 60 พื้นที่ และสามารถพัฒนาข้อเสนอโครงการต่อเนื่องที่ยกระดับและหรือพัฒนาผลผลิตจากโครงการเกิดเป็นนวัตกรรมชุมชน

 

 

 

3 เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับทุนด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการปฐมนิเทศ การอบรมการเขียนรายงานและการจัดการเอกสารการเงิน แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เสวนาแลกเปลี่ยนและศึกษาดูงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้รับทุนร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ การเขียนรายงานโครงการ การติดตามสนับสนุน และนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้รับทุนโครงการสามารถดำเนินการได้ตามแผนและส่งผลงานให้ สสส.ครบถ้วน ตามสัญญาเมื่อสิ้นสุดโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 3. ไม่มีโครงการล่าช้าเกิน 2 เดือน ร้อยละ 100 4. โครงการที่มีความเสี่ยงด้านการเงินไม่เกินร้อยละ 3 จากจำนวนโครงการทั้งหมด 5. มีฐานข้อมูลบุคคลหรือพื้นที่ต้นแบบ เพื่อเป็นแบบอย่างการศึกษาดูงานหรือการทำงานสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน

 

 

 

4 เพื่อรวบรวมสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดจากโครงการ ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่น เกิดความรู้เชิงปฏิบัติการและนวัตกรรมชุมชนเป็นต้น ที่สามารถขยายผลและสร้างประโยชน์ต่อชุมชนและนำไปเชื่อมโยง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เวบไซต์ สื่อสิงพิมพ์ เป็นต้น
ตัวชี้วัด : ได้โครงการที่ถอดบทเรียนและสามารถเผยแพร่ได้ และเป็นโครงการตัวอย่างที่ดี และนวัตกรรมอย่างน้อยร้อยละ 25 ของโครงการทั้งหมด

 

 

 

5 เพื่อบูรณาการประสานงานภาคีเชื่อมโยง กระบวนการปฏิบัติการในชุมชนไปสู่การยกระดับเป็นกระบวนการนโยบาย และเกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เข้าร่วมอย่างน้อยร้อยละ 80 ของผู้รับทุนที่เชิญมาร่วม 2. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขับเคลื่อนสร้างสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้และความพึงพอใจ/ความรู้ที่ได้รับ อย่างน้อยร้อยละ 70 3. มีการขับเคลื่อนมาตรการ นโยบายระดับตำบล ร้อยละ 25

 

 

 

6 เพื่อพัฒนาระบบ กลไก แนวทางการติดตามสนับสนุนและประเมินผลระดับภาค เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของทีมสนับสนุนวิชาการ ด้านต่าง ๆ และปรับปรุงระบบเวบไซต์สร้างสุขคนใต้ที่รายงานผลการดำเนินงานของผู้รับทุนและผู้ติดตาม ให้เกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง / แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1. ได้สื่อวิดีทัศน์ และคู่มือการจัดทำโครงการชุมชนสุขภาวะ รวมทั้งคู่มือการติดตามและสนับสนุนโครงการ 2. ทีมสนับสนุนวิชาการ ร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ การเขียนรายงานโครงการ การติดตามสนับสนุน และนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ทีมสนับสนุนวิชาการ สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและจัดทำ ส่งรายงานผลการติดตามโครงการที่มีคุณภาพให้ทันงวดงาน งวดเงินของผู้รับทุนโครงการไม่ตำ่กว่าร้อยละ 100 4. ได้ระบบเวบไซต์การติดตามและการประมวลผลรางานการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพพร้อมคู่มือ