directions_run

ท่องเที่ยวเชิงเกษตรลดสารเคมี สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชง (ต่อเนื่อง ปี 2)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร
ตัวชี้วัด : - คนในชุมชนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ - ร้อยละ 80 ของชาวบ้านที่เข้าร่วมโครงการมีการใช้สารเคมีทางการเกษตรลดลง

 

 

  • คนในชุมชนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ
  • ร้อยละ 80 ของชาวบ้านที่เข้าร่วมโครงการมีการใช้สารเคมีทางการเกษตรลดลง
2 เพื่อจัดตั้งกลุ่มเยาวชน “ลูกหลานเกษตรกรรุ่นใหม่ หัวใจเกษตรอินทรีย์”
ตัวชี้วัด : เยาวชนในชุมชนอย่างน้อย 20 คนเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเยาวชน “ลูกหลานเกษตรกรรุ่นใหม่ หัวใจเกษตรอินทรีย์”

 

 

เยาวชนในชุมชนอย่างน้อย 20 คนเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเยาวชน “ลูกหลานเกษตรกรรุ่นใหม่ หัวใจเกษตรอินทรีย์”

3 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ตัวชี้วัด : มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเกิดขึ้นในชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง

 

 

มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเกิดขึ้นในชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง การท่องเที่ยวเป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์แก่คนในชุมชนและบุคคลทั่วไปผ่านการท่องเที่ยว ปรับปรุงภูมิทัศน์แปลงเกษตรปลอดสารพิษและพื้นที่ป่าต้นน้ำให้เกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยการจัดทำป้ายบอกความรู้ ชื่อต้นไม้ ชื่อสมุนไพร จัดทำเว็บไซต์ สื่อประชาสัมพันธ์ชุมชน

4 เพื่อเพิ่มรายได้แก่คนในชุมชนจากการขายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่นักท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด : คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่นักท่องเที่ยว

 

 

คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่นักท่องเที่ยว ปลูกผักอินทรีย์ช่วยลดรายจ่ายในครัวเรือน และสามารถจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองและครัวเรือน รวมทั้งมีรายได้เพิ่มจากการท่องเที่ยวในชุมชน

5 เพื่อผลิตสื่อประชาสัมพันธ์แนะนำชุมชน
ตัวชี้วัด : - มีสื่อประชาสัมพันธ์แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรทั้งในรูปของสื่อออนไลน์และสื่อสิ่งพิมพ์ อย่างน้อย 1 ช่องทาง - มีชุดความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ จำนวน 1 ชุด

 

 

มีสื่อประชาสัมพันธ์แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรทั้งในรูปของสื่อออนไลน์และสื่อสิ่งพิมพ์ อย่างน้อย 1 ช่องทาง มีชุดความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ จำนวน 1 ชุด

6 จัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศก์อาสา เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวในชุมชน
ตัวชี้วัด : สมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 20 คน เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มมัคคุเทศน์อาสา

 

 

สมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 20 คน เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มมัคคุเทศน์อาสา การเข้าร่วมกลุ่มมัคคุเทศก์อาสา และกลุ่มยุวเกษตรทำให้เยาวชนและคนในชุมชนมีจิตสาธารณะและมีโอกาสได้ทำงานเพื่อส่วนรวมมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

7 เยาวชนและคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ จากการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและการได้ลงมือปฏิบัติจริง และเกิดแรงจูงใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : เยาวชนและคนในชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์

 

 

เยาวชนและคนในชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ นำข้อมูลที่รวบรวมได้มาจัดทำเป็นฐานข้อมูลและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ขยายขนาดของกลุ่มนักเรียนแกนนำ โดยการเพิ่มจำนวนสมาชิก และการถ่ายทอดองค์ความรู้ในกลุ่มนักเรียนภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน รวมถึงการถ่ายทอดความรู้สู่รุ่นน้องต่อไป

8 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูลชุมชน การวางแผน และการจัดทำแผนปฏิบัติการของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านสถานการณ์และทุนชุมชนอย่างน้อย 1 ชุด 2. มีกลุ่มเด็กเยาวชน และคนในชุมชนที่มีทักษะในการเก็บข้อมูล อย่างน้อย 20 คน 3. มีแผนชุมชนหรือแผนปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 ฉบับ

 

 

ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านสถานการณ์และทุนชุมชนอย่างน้อย 1 ชุด มีกลุ่มเด็กเยาวชน และคนในชุมชนที่มีทักษะในการเก็บข้อมูล อย่างน้อย 20 คน มีแผนชุมชนหรือแผนปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 ฉบับ

9 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนครั้งที่จัด มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด