directions_run

ท่องเที่ยวเชิงเกษตรลดสารเคมี สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชง (ต่อเนื่อง ปี 2)

assignment
บันทึกกิจกรรม
การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม15 ตุลาคม 2559
15
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดส่งรายงานการใช้เงินงวดที่ 2

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • จัดส่งรายงานการใช้เงินให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้อง
  • ให้เจ้าหน้าที่ สจรส.ตรวจสอบความถูกต้อง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การจัดทำรายงานการใช้งบประมาณถูกต้องสมบูรณ์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

คณะผู้ดำเนินงานโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ติดตามการจัดทำรายงานโครงการงวดที่ 29 กันยายน 2559
9
กันยายน 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย นายอะหมัด หลีขาหรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามการดำเนินการจัดกิจกรรมของโครงการผ่านการบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์ และตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของเอกสารการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามการดำเนินการจัดกิจกรรมของโครงการผ่านการบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์ และตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของเอกสารการเงิน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
  • เอกสารการเงินครบถ้วนและมีความถูกต้องสมบูรณ์
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะทำงาน จำนวน 5 ท่าน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พบ สจรส.ม.อ. จัดส่งรายงานงวดที่ 29 กันยายน 2559
9
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดส่งรายงานการใช้งบประมานงวดที่ 2

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • จัดทรายงานสรุปกิจกรรมและการใช้งบประมานงวดที่ 2
  • ส่งรายงานให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้อง
  • ปรับแก้รายงานส่วนที่ยังไม่เรียบร้อย
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรมและการใชงบประมาณถูกต้องเรียบร้อย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะผู้ดำเนินงานโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ติดตามความคืบหน้าการดำเนินการกิจกรรมโครงการในพื้นที่19 สิงหาคม 2559
19
สิงหาคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย นายอะหมัด หลีขาหรี
circle
วัตถุประสงค์

ติดตามความคืบหน้าในการจัดกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ติดตามความคืบหน้าในการจัดกิจกรรมของโครงการในพื้นที่
  • ตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการ
  • พูดคุย และให้คำปรึกษาแก่ผู้รับผิดชอบโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ ดำเนินการจัดกิจกรรมได้ตามข้อเสนอโครงการ แต่การบันทึกกิจกรรมในเวบไซต์ใยังขาดความครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน 

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

-ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 1 คน

-ผู้ร่วมดำเนินการโครงการ จำนวน 4 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

บันทึกกิจกรรมในเวบไซต์ให้ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน 

ประกวดแปลงผักอินทรีย์ในโรงเรียน19 สิงหาคม 2559
19
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อจัดประกวดผลงานของน้องๆนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการปลูกผักปลอดสารพิษ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เล่าที่มาที่ไปของโครงการและรายละเอียดกิจกรรม และกำหนดการ โดยประธานโครงการ
  • กล่าวเปิดงานโดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง
  • พี่อาร์ตจากมูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืนนำกิจกรรม 3 กิจกรรม โดยได้มีการเกริ่นนำถึงสถานการณ์สารเคมีในประเทศไทยในปัจจุบัน
    • ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
    • ตรวจสารปนเปื้อนในผัก
    • สาธิตการฉีดยาฆ่าแมลงเพื่อให้เห็นผลว่ายาฆ่าแมลงที่ฉีดไปตกค้างที่แมลงกี่เปอร์เซ็นต์ ตกค้างในดินกี่เปอร์เซ็นต์
  • ประธานและทีมงานสรุปกิจกรรมในช่วงต้นเพื่อทำความเข้าใจร่วมกัน
  • เริ่มกิจกรรมการประกวดโดยให้นักเรียนแต่ละโรงเรียนหยิบฉลากเพื่อจัดลำดับการนำเสนอ ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีเวลาการนำเสนอ 10 นาที และมีเกณฑ์การนำเสนอดังนี้
    • 1 ความน่าสนใจของเนื้อหา
    • 2 ความคิดสร้างสรรค์ในการปลูกผัก
    • 3 ความคิดสร้างสรรค์ในการนำเสนอ การพูด บุคลิกท่าทาง
    • 4 รูปแบบพาวเวอร์พ้อยท์
    • 5 ตรงเวลา โดยมีคณะกรรมการจากห้าหน่วยงานดังนี้
    • ปราชญ์ชาวบ้านจากศูนย์เกษตรธาตุสี่
    • ตัวแทนจากมูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน
    • เภสัชกรจาก รพ. รัตภูมิ
    • นักวิชาการเกษตรอำเภอ
    • นักวิชาการสาธารณสุข
  • รวบรวมคะแนน
  • รองนายกกล่าวให้กำลังใจนักเรียนที่เข้าร่วมประกวด
  • ประกาศผลและมอบรางวัลโดยพี่เลี้ยงโครงการและกล่าวปิดกิจกรรม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • โดยภาพรวมของกิจกรรมแล้ว บรรลุผลเกินเป้าที่ตั้งไว้ ประสบปัญหาน้อยมาก เนื่องจากทีมงานดำเนินกิจกรรมได้รับประสบการณ์จากกิจกรรมที่ผ่านมา และได้นำมาปรับใช้กับกิจกรรมในครั้งนี้
  • จากมุมมองของวิทยากรที่ได้รับเชิญและผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    • จัดรูปแบบกิจกรรมได้สมบูรณ์เพอเฟคมาก เกินความคาดหมายที่ตั้งไว้ที่คิดว่าเป็นเพียงกิจกรรมเล็กๆ
    • ผลลัพธ์ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมถือว่ามีประโยชน์มากแก่ผู้ที่เข้าร่วม และความรู้ในกิจกรรมที่นำมาเผยแพร่เป็นความรู้ใหม่ที่ชาวบ้านไม่เคยคิดมาก่อน
    • กิจกรรมที่จัดส่งผลให้มีเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น
    • บุคคลทั่วไปให้ความสนใจกับกิจกรรม
    • ได้รับคำชมเชยว่าทีมงานดำเนินกิจกรรมทำงานได้ดีมาก
    • กิจกรรมที่จัดขึ้นได้ไปจุดประกายเจ้าหน้าที่จาก รพ. รัตภูมิ สามรถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงพยาบาลได้
    • เกิดผลลัพธ์ที่ดีจากการทำงานร่วมกันของหลากหลายองค์กร
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 71 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย
  • นักเรียน
  • คุณครูของแต่ละโรงเรียน
  • เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลรัตภูมิ
  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  • พ่อค้าแม่ค้าในตลาดน้ำท่าชะมวง
  • นักท่องเที่ยวที่แวะขเ้ามาจับจ่ายซื้อของ
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • บางโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมปลูกผักไม่สามารถมาเข้าร่วมกิจกรรมประกวดได้
  • พื้นที่ในการจัดกิจกรรมเป็นลานเปิดที่เป็นพื้นที่สาธารณะ บุคคลทั่วไปสามารถมาเข้าร่วมกิจกรรมได้ ทำให้ยากต่อการควบคุมดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ แต่ทางทีมงานก็สามารถควบคุมสถานการณ์ได้
  • มีการวางแผนเตรียมงานน้อย เวลาในการจัดกิจกรรมน้อย ทีมงานเกิดความผิดพลาดในการจัดเตรียมของที่ระลึก
  • ทีมงานที่มาช่วยดำเนินกิจกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบส่วนตัวเยอะ เลยทำให้ไม่เต็มที่ในการดำเนินงานกิจกรรม
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน7 สิงหาคม 2559
7
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ร่วมกันออกแบบป้ายสัญลักษณืเขตปลอดบุหรีและป้ายประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
  • จัดสั่งทำป้าย
  • นำป้ายไปติดตามจุดต่างๆ
  • ถ่ายรูปป้าย
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ติดอยู่ตามจุดต่างๆของแหล่งท่องเที่ยว
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • คณะผู้ดำเนินงานโครงการ
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

คลองลำแซงชวนปั่น6 สิงหาคม 2559
6
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อโปรโมทสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 8-9 น. ลงทะเบียน
  • 9-10 น. เปิดโครงการ กล่าวต้อนรับ ละลายพฤติกรรม แบ่งกลุ่ม
  • 10-12 น. ออกตัวปั่นจากศูนย์การเรียนรู้เกษตรธาตุสี่ไปตามเส้นทางปั่นผ่านสวนเกษตรเพื่อไปยังฐานต่างๆ
  • ฐานที่ 1 เรียนรู้เรื่องเกษตรธาตุสี่
  • ฐานที่ 2 เรียนรู้สมุนไพร "พลังเยาวชนปรุงยา" เรียนรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวิตประจำวันเพื่อนำมาใช้ทำยารักษาโรค
  • ฐานที่ 3 ตักน้ำใส่ขวด "สามัคคีรุ่นเยาว์" เกมส์ฝึกความสามัคคีและไหวพริบปฏิภาน
  • ฐานที่ 4 ฝายมีชีวิต "พลังเล็กๆของเด็กนักปั่น" ให้เยาวชนร่วมกันตักทรายใส่กระสอบเพื่อสร้างฝายมีชีวิตร่วมกัน
  • 12 น. พักรับประทานอาหาร เล่นน้ำ
  • 13 น. ปิดโครงการ มอบเกียรติบัตร แยกย้ายกลับบ้าน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีเยาวชนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายที่ได้คาดหวังไว้ พร้อมกับมีทีมงานผู้ปกครองรวมถึงผู้นำชุมชนและชาวบ้านให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในกิจกรรมเป็นอย่างดี
  • ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความสนุกสนาน มีความเพลิดเพลิน และได้รับสาระความรู้จากการปั่นจักรยานเพื่อท่องเที่ยวและเรียนรู้วิถีเกษตรในครั้งนี้
  • ความรู้สึกของทีมงาน
    • ได้ประสบการณ์การจัดกระบวนการกับเด็กรุ่นเล็กๆ
    • ได้เห็นความพยายามของเด็กๆและความสามัคคีของทีมงาน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 75 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย
  • เยาวชนและบุคคลทั่วไปที่สนใจ
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ในเรื่องของความปลอดภัยควรจะมีการวางแผนรับมือให้ดีมากกว่านี้
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 10 ประชุมสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ30 กรกฎาคม 2559
30
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อร่วมพูดคุยวางแผนการดำเนินงานในกิจกรรมถัดไป
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะทำงานร่วมกับสภาผู้นำชมชนร่วมกันปรึกษาหารือถึงแนวทางการจัดกิจกรรมถัดไป ตามหัวข้อดังนี้
  • กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
  • กำหนดวันที่จะจัดกิจกรรม
  • ตรวจสอบเส้นทางปั่นจักรยาน
  • อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในกิจกรรม
  • เกมส์และฐานเรียนรู้ระหว่างเส้นทางปั่น
  • กำหนดการในวันจัดกิจกรรม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการพูดคุยปรึกษาหารือ ก็ได้แนวทางการจัดกิจกรรมโดยสรุปได้ ดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย : เด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี วันจัดกิจกรรม : 6 กรกฎาคม 2559 เกมส์และฐานเรียนรู้ระหว่างเส้นทางปั่น ฐานที่ 1 เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องเกษตรธาตุสี่ ฐานที่ 2 เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร (เกมส์กู้ระเบิด) ฐานที่ 3 เกมส์ฝึกไหวพริบและความสามัคคี (ตักน้ำใส่ขวด) ฐานที่ 4 ทำฝายมีชีวิต กำหนดการคร่าวๆในวันจัดกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 17 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มแกนนำ ผู้นำ ในชุมชน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับครัวเรือน25 กรกฎาคม 2559
25
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชนจากการขายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่นักท่องเที่ยว
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ศึกษาเรียนรู้การปลูกพริกระดับครัวเรื่อนกับคนในชุมชน
  • จัดซื้อวัตถุดิบ อุปกรณ์ และต้นพันธ์ุ เพื่อสนับสนุนในกับชาวบ้านที่สนใจ
  • กระจายกันไปปลูกในระดับครัวเรื่อน
  • รวบรวมผลผลิตเพื่อ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดกลุ่มชาวบ้านที่รวมตัวกันปลูกพริกในชุมชน
  • ชาวบ้านมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน
  • ชาวบ้านมีพื้นที่ในการพูดคุยปรึกษาหารือรวมกันในการทำงาน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 31 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย
  • ชาวบ้านในพื้นที่ๆสนใจ 31 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 9 ประชุมสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ30 มิถุนายน 2559
30
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อประชุมสรุป
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอดบทเรียนและสรุปกิจกรรม ประเมินผลการปฏิบัตงานและทบทวนข้อผิดพลาดและปัญหาเพื่อนำไปปรับใช้ในโอกาสต่อไป รวมถึงเคลียเอกสารแผนงบประมาณ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เนื้อหาที่ถ่ายทอดให้แก่เด็ก มีความเหมาะสมและครอบคลุมดีแล้ว
  • การจัดกระบวนการ ในช่วงเริ่มต้นอาจมีการติดขัดและมีอุปสรรคบ้างแต่ทางคณะดำเนินงานโครงการสามารถปรับตัว และเรียนรู้จากข้อผิดพลาดและนำมาปรับแก้ไขได้ดีในช่วงท้าย
  • การแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานของแต่คน ถือว่าปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่ แต่อาจมีการติดขัดไม่สะดวกในบางคน
  • ในด้านของเวลาการจัดกิจกรรม มีความเหมาะสมและสามารถบรหารจัดการเวลาได้ดี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 21 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • คณะดำเนินงานโครงการและกลุ่มแกนนำชุมชน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

6 กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน29 มิถุนายน 2559
29
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ข้อมูลความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่นักเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ข้อมูลความรู้แก่เยาวชนตามหัวข้อ ดังนี้
    • สถานการณ์เรื่องสารเคมีภาพรวมในระดับประเทศ
    • พิษภัยของสารเคมี
    • ขั้นตอนวิธีารทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • การทำแปลงผักรูปแบบต่างๆ
    • คลิปวีดีโอเปรัยบเทียบการทำเกษตรอินทรีย์และเกษตรแบบใช้สารเคมี
  • มอบเมล็ดพันธุ์ผักและชุดอุปกรณ์ทำปุ๋ยอินทรีย์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กๆไม่ค่อยมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องเกษตรอินทรีย์ แต่ก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี พยายามที่จะซักถามและสอบถามในส่วนที่สงสัย
  • การนำเสนอต้องอธิบายเนื้อหาที่ละเอียดมากขึ้น แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการนำเสนอ เนื่องจากวิทยากรผ่านการจัดกระบวนการมาหลายโรงเรียนและสามรถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 47 คน จากที่ตั้งไว้ 300 คน
ประกอบด้วย

นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งคมบาง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

4 กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน27 มิถุนายน 2559
27
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อให้ข้อมูลความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่นักเรียน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ข้อมูลความรู้แก่เยาวชนตามหัวข้อ ดังนี้
    • สถานการณ์เรื่องสารเคมีภาพรวมในระดับประเทศ
    • พิษภัยของสารเคมี
    • ขั้นตอนวิธีารทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • การทำแปลงผักรูปแบบต่างๆ
    • คลิปวีดีโอเปรัยบเทียบการทำเกษตรอินทรีย์และเกษตรแบบใช้สารเคมี
  • มอบเมล็ดพันธุ์ผักและชุดอุปกรณ์ทำปุ๋ยอินทรีย์
  • สาธิตการทำปุ๋ยอินทรีย์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • อุปกรณ์ทางโรงเรียนไม่พร้อมเลยทำให้นำเสนอไม่ได้เต็มที่ ส่งผลให้เด็กไม่ค่อยให้ความสนใจเท่าที่ควร
  • ในช่วงการสาธิต เด็กๆสนุกสนานและให้ความสนใจเป็นอย่างดี ทุกคนพยายามที่จะมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบัติ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 58 คน จากที่ตั้งไว้ 300 คน
ประกอบด้วย

นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองกั่ว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ให้เด็กลงทะเบียนพร้อมกับช่วงที่มีการบรรยายเลยทำให้ค่อนข้างวุ่นวายไม่เป็นระเบียบ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

5 กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน24 มิถุนายน 2559
24
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อให้ข้อมูลความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่นักเรียน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ข้อมูลความรู้แก่เยาวชนตามหัวข้อ ดังนี้
    • สถานการณ์เรื่องสารเคมีภาพรวมในระดับประเทศ
    • พิษภัยของสารเคมี
    • ขั้นตอนวิธีารทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • การทำแปลงผักรูปแบบต่างๆ
    • คลิปวีดีโอเปรัยบเทียบการทำเกษตรอินทรีย์และเกษตรแบบใช้สารเคมี
  • มอบเมล็ดพันธุ์ผักและชุดอุปกรณ์ทำปุ๋ยอินทรีย์
  • บรรยายพิเศษเรื่องการคัดเลือกเมล็ดพันธ์ุ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กๆสนุกสนาน ให้ความสนใจเป็นอย่างดีมาก มีความกล้าหาญ กล้าพูด กล้าถาม
  • คณะครูให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือดีมาก
  • กิจกรรมดำเนินไปด้วยดีทำให้ผู้จัดกิจกรรมรู้สึกมีกำลังใจที่จะปฏิบัติงาน 
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 28 คน จากที่ตั้งไว้ 300 คน
ประกอบด้วย
  • นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองเขาล้อน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

3 กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน23 มิถุนายน 2559
23
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ข้อมูลความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่นักเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ข้อมูลความรู้แก่เยาวชนตามหัวข้อ ดังนี้
    • สถานการณ์เรื่องสารเคมีภาพรวมในระดับประเทศ
    • พิษภัยของสารเคมี
    • ขั้นตอนวิธีารทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • การทำแปลงผักรูปแบบต่างๆ
    • คลิปวีดีโอเปรัยบเทียบการทำเกษตรอินทรีย์และเกษตรแบบใช้สารเคมี
  • มอบเมล็ดพันธุ์ผักและชุดอุปกรณ์ทำปุ๋ยอินทรีย์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กๆสนุกสนานและให้ความสนใจในส่วนของเนื้อหาที่นำเสนอเป็นอย่างดี พร้อมทั้งมีการซักถามถึงกระบวนการปลูกและการทำปุ๋ย
  • การแสดงออกของเด็กผู้ชายอาจจะไม่ค่อยเต็มที่เท่าไหร่เนื่องจากมีจำนวนน้อย
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 48 คน จากที่ตั้งไว้ 300 คน
ประกอบด้วย

นักเรียนโรงเรียนศึกษาศาสน์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

2กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน23 มิถุนายน 2559
23
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ข้อมูลความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่นักเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ข้อมูลความรู้แก่เยาวชนตามหัวข้อ ดังนี้
    • สถานการณ์เรื่องสารเคมีภาพรวมในระดับประเทศ
    • พิษภัยของสารเคมี
    • ขั้นตอนวิธีารทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • การทำแปลงผักรูปแบบต่างๆ
    • คลิปวีดีโอเปรัยบเทียบการทำเกษตรอินทรีย์และเกษตรแบบใช้สารเคมี
  • มอบเมล็ดพันธุ์ผักและชุดอุปกรณ์ทำปุ๋ยอินทรีย์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การจัดกระบวนการราบรื่นดีมาก
  • นักเรียนให้ความร่วมมือดีมาก เด็กๆกล้าแสดงออก มีความกะตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรม
  • ทางโรงเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
  • คณะทำงานรู้สึกประทับใจกับผลตอบรับที่ได้จากทางโรงเรียน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 35 คน จากที่ตั้งไว้ 300 คน
ประกอบด้วย

นักเรียน รร.บ้านนาลึก

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

7 กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน16 มิถุนายน 2559
16
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ข้อมูลความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่นักเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ไม่สามารถเข้าไปทำกิจกรรมในโรงเรียนได้ เนื่องจากโรงเรียนติดภารกิจซ้อมกีฬาสี และโรงเรียนมีมุมมองความคิดที่ต่างกันกับโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ไม่สามมารถขยายเครื่อข่ายเข้าไปสู่ในโรงเรียนบ้านควนดินแดงได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

โรงเรียนมีกิจกรรมมากอยู่แล้วจึงไม่สามารถเข้าไปทำกิจกรรมได้/งบประมาณสวนที่ไปทำกิจกรรมในโรงเรียนนี้จึงนำไปใช้จ่ายกระจายไปยังอีกหกโรงเรียน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

1 กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน15 มิถุนายน 2559
15
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ข้อมูลความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่นักเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ข้อมูลความรู้แก่เยาวชนตามหัวข้อ ดังนี้
    • สถานการณ์เรื่องสารเคมีภาพรวมในระดับประเทศ
    • พิษภัยของสารเคมี
    • ขั้นตอนวิธีารทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • การทำแปลงผักรูปแบบต่างๆ
    • คลิปวีดีโอเปรัยบเทียบการทำเกษตรอินทรีย์และเกษตรแบบใช้สารเคมี
  • มอบเมล็ดพันธ์ุผักและชุดอุปกรณ์ทำปุ๋ยอินทรีย์
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับการตอบรับที่ที่จากคณะครู
  • ได้รับความร่วมมือที่ดีจากนักเรียน
  • ได้เรียนรู้การปรับรูปแบบการนำเสนอใหม่ๆ
  • เรียนรู้การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 73 คน จากที่ตั้งไว้ 300 คน
ประกอบด้วย

นักเรียนโรงเรียนบ้านเขาพระ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • การแบ่งบทบาทของวิทยากรยังไม่ค่อยสอดคล้องกัน
  • ความพร้อมเรื่องอุปกรณ์นำเสนอยังไม่ดีเท่าที่ควร
  • ขาดการเตรียมความพร้อมในส่วนของกิจกรรมสันทนาการ
  • เด็กอยู่ในช่วงที่มีกิจกรรมอื่นอยู่ด้วย เลยทำให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมไม่ค่อยเต็มที่
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 8 ประชุมสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ10 พฤษภาคม 2559
10
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพูดคุยวางแผนการดำเนินกิจกรรม “ถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน”

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • หารือแนวทางปฏิบัติงานจริงของกิจกรรม “ถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน” โดยแยกเป็น 3 กระบวนการดังนี้
    • กระบวนการที่ 1 อบรม หลักสูตรเกษตรอินทรีย์
    • กระบวนการที่ 2 ลงมือปฏิบัติ และตรวจแปลง
    • กระบวนการที่ 3 นำเสนอผลงาน และประเมิน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กระบวนการที่ 1 อบรม หลักสูตรเกษตรอินทรีย์

เนื้อหา
- สถานการณ์ และพิษภัยของสารเคมีทางการเกษตร - วิธีการปลูกผัก - วิธีการทำปุ๋ยหมักแห้ง และปุ๋ยหมักน้ำ - สื่อสร้างแรงบัลดาลใจเกษตรอินทรีย์

วิธีการ
-ประสาน สำนักงานสาธารณะสุขอำเภอรัตภูมิ , มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน , โรงพยาบาลรัตภูมิ , โรงเรียนต้นแบบในตำบลเขาพระ , เกษตรอำเภอรัตภูมิ ,
ครูภูมิปัญญาในพื้นที่ - คณะทำงานโครงการ และภาคีร่วมลงพื้นที่อบรมแต่ละโรงเรียน

  • กระบวนการที่ 2 ลงมือปฏิบัติ และตรวจแปลง

ขั้นตอนที่
- 1. ส่งเสริมวัตถุดิบในการปลูก -เมล็ดพันธุ์
-กากน้ำตาล - 2. นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปลงมือปฏิบัติในแปลงเกษตรของโรงเรียน - 3. นักเรียนจดบันทึกผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ - 4. คณะทำงานโครงการ และครูภูมิปัญญาลงตรวจแปลง 2 ครั้ง พร้อมให้คะแนนเพื่อนำไปประกอบในเวทีประกวดผลงาน

  • กระบวนการที่ 3 นำเสนอผลงาน และประเมิน

ขั้นตอน - 1. ทางคณะทำงานโครงการจัด “เวทีประกวดผลงาน” รวม 7 โรงเรียน (ยังไม่กำหนดสถานที่) - 2. นักเรียนเตรียมพาวเวอร์พอย เพื่อนำเสนอ ไม่เกิน 15 นาที - 3. คณะกรรมการประเมินและให้คะแนน โดยมีเกณฑ์การตัดสินดังนี้
-ภาพรวม -ความพร้อมในการนเสนอ -เนื้อหา -ความน่าสนใจในการนเสนอ ท่าทาง การพูด และรูปแบบพาวเวอร์พอย -ตัวอย่างผัก

ผู้ประเมิน -ผอ.โรงพยาบาลรัตภูมิ -สำนักงานสาธารณะสุข อ.รัตภูมิ -ครูภูมิปัญญาชุมชน -เกษตรอำเภอรัตภูมิ

-4.รางวัลการประกวด
-เกียรติบัตร (สำหรับทุกโรงเรียน) -ทุนการศึกษา ชนะเลิศ3,000 บาท รองชนะเลิศ 2,000 บาท รองชนะเลิศอันดับสอง 1,000 บาท -รางวัลชมเชย อีก 4 รางวัล -ธงเกษตรกรรมทางเลือก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 19 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะดำเนินงานโครงการ และ คณะสภาผู้นำชุมชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

กิจกรรมจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์29 เมษายน 2559
29
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • จัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
  • จัดทำเพจเฟสบุคประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีป้ายไวนิลติดอยู่บริเวณทางเข้าแหล่งท่องเที่ยวอย่างชัดเจนทำให้ผู้คนที่สัญจรไปมารู้ได้ว่ามีแหล่งท่องเที่ยวอยู่ในชุมชน
  • มีเพจสำหรับการรวบรวมข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและเป็นเครื่องมือที่จะช่วยประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวให้รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

คณะดำเนินงานโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 7 ประชุมสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ10 เมษายน 2559
10
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

ลงพื้นที่ไปศึกษาการปลูกพริกปลอดสารพิษ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แกนนำในชุมชน คณะดำเนินงานโครงการ ร่วมกับกลุ่มชาวบ้าน ลงพื้นที่ไปศึกษาการปลูกพริกปลอดสารพิษ เพื่อศึกษาวิธีการปลูก และเรียนรู้วิธีการดูแลรักษาและการกำจัดแมลงโดยที่ไม่ใช้สารเคมี

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เห็นขั้นตอนกระบวนการการปลูกที่ชัดเจน ตั้งแต่การคัดเลือกเมล็ดพันธ์ุ การเพาะ การปลูก การดูแลรักษา ตลอดจนวิธีการในการเก็บเกี่ยวผลผลิต
  • สามารถนำความรู้ที่ได้กลับไปปฏิบัติเอง รวมถึงถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 28 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

แกนนำในชุมชน คณะดำเนินงานโครงการ ร่วมกับกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

คลองลำแซงชวนเที่ยว2 เมษายน 2559
2
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อที่จะประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ให้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันแรก - รวมตัว เตรียมความพร้อม โดยมีการแนะนำตัว ทำความรู้จัก และชี้แจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม - จัดกลุ่มแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ - ติดป้าย - ทำตัวอักษร - พักรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน - เริ่มออกเดินทางสู่น้ำตกโตนหน้าผี - ทีมงานส่วนนึงนำนักท่องเที่ยวเดินสำรวจสถานที่น่าสนใจไกล้ๆบริเวณที่พักแรม - ทีมงานที่เหลือจัดเตรียมที่พักและเตรียมอาหารค่ำ - รับประทานอาหารค่ำพร้อมกันจากนั้นพักผ่อนตามอัธยาศัย - มีการพูดคุยติชมเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผ่านมาในวันนั้น วันที่ 2 - รับประทานอาหารเช้า พักผ่อน เล่นน้ำตามอัธยาศัย - เดินทางกลับ - ระหว่างทาง พรานได้มีการแนะนำให้รู้จักพันธ์ุไม้และบอกถึงสรรพคุณต่างๆ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • นักท่องเที่ยวที่มาจากหลากหลายสถานที่ได้รับทราบถึงจุดประสงค์ของกิจกรรม ได้ทำความรู้จักกัน ทุกคนสนุกสนานกับการท่องเที่ยวเดินป่าในครั้งนี้
  • สถานที่ท่องเที่ยวดูมีสีสันเพิ่มมากขึ้น
  • นักท่องเที่ยวได้บอกถึงความรู้สึกและให้ข้อแนะนำในการพัฒนาการท่องเที่ยว
    • ต้า ถือว่าโอเคกับการมาเที่ยวในครั้งนี้ ควรมีการอธิบายถึงสิ่งที่น่าสนใจของสถานที่เด่นๆ เช่น เล่าความเป็นมาของน้ำตกโตนหน้าผี ว่ามีความเป็นมาอย่างไร 2. เรื่องพืชพันธุ์ระหว่างทางที่เราเดิน อย่างเช่นพืชพันธุ์ที่แปลกๆ ที่พื้นที่อื่นไม่มีโดยอธิบายให้ข้อมูลของพืชชนิดดังกล่าว หรืออาจจะมีการทำป้ายติดเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับพืชพันธุ์ต่างๆให้นักท่องเที่ยวได้เข้ามาอ่านหาข้อมูลความรู้เพื่อคลายเครียดในระหว่างการเดินทาง
    • ตูน คนที่จะให้คำแนะนำได้ดีที่สุดในการเดินป่าคือพราน อย่างเช่นเมื่อมีปัญหาอะไรเกิดขึ้น เราสามารถที่จะถามได้ พรานจะต้องเป็นไกด์ต้องคอยแนะนำคอยบอกทางว่าจะต้องเดินทางอย่างไรต้องเตรียมตัวอะไรยังไงบ้างในการเดินป่า ต้องเตรียมตัวบอกนักท่องเที่ยวทุกครั้งก่อนออกเดินทาง เพื่อที่จะให้เกิดความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว -ควรจะมีสมุดบันทึกการมาเยี่ยมสถานที่ เช่น ใคร มาจากไหน ให้มีการลงบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ เป็นต้น
    • เซาะ ควรจะมีการชี้แจงข้อควรปฏิบัติในระหว่างการเดินป่า เช่นเรื่องการทิ้งขยะ เรื่องการระมัดระวังเพื่อความปลอดภัยในการเดินป่า เป็นต้น
    • ก็อต ทุกอย่างโอเคมาก รู้สึกชอบ และประทับใจกับการเดินทางครั้งนี้มาก-แต่รู้สึกว่าการเส้นทางการเดินป่าสั้นไป ครั้งหน้าอยากให้เพิ่มระยะทางให้ไกลกว่านี้อีก-อาจจะมีการเพิ่มเติมกิจกรรมรอบกองไฟ -ในอนาคต หากการท่องเที่ยวมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ก็อยากให้ช่วยกันรักษาเพื่อคงสภาพธรรมชาติให้คงอยู่ต่อไป
    • จากละงู ประทับใจกับการเดินทางครั้งนี้ แต่อยากให้มีการเพิ่มเติมกิจกรรม เพื่อที่จะให้กลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาจากต่างที่กันได้ทำความรู้จักกันมากขึ้น
    • ฮาซัน รู้สึกประทับใจกับสถานที่มาก ชอบสถานที่แบบนี้
    • ครูฮาซัน ชอบการเดินทางในป่าแบบนี้ -นายพรานพูดน้อยไปหน่อย -อาจจะใช้โทรโข่ง เพื่อให้เสียงได้ยินกันทั่วถึง
    • พราน ถือเป็นการดีที่มีการแนะนำติชม เพราะทางพรานจะได้นำไปปรับปรุงและพัฒนาตัวเองต่อไปเพื่อให้การท่องเที่ยวมีประสิทธิภาพมากขึ้น
    • ยันนา อยากให้มีการตั้งกฎการปฏิบัติตัว ข้อจำกัด ในการเดินป่า เพื่อเพิ่มความปลอดภัยมากขึ้น
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 23 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเยาวชนจากในพื้นที่และนอกพื้นที่ กลุ่มนักศึกษาปริญญาโท

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายที่มาเราไม่รู้ว่าเป็นกลุ่มเป้าหมายแบบไหน กิจกรรมที่จัดเตรียมไว้จึงอาจจะไม่ตรงต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมายร้อยเปอร์เซ็น

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม16 มีนาคม 2559
16
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อส่งสรุปรายงานงวดที่ 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ส่งสรุปรายงานกิจกรรมงวดที่ 1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปรายงานการทำกิจกรรมงวดที่ 1 ถูกต้องเรียบร้อยและสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะดำเนินงานโครงการจำนวน  คน และเจ้าหน้าที่ สจรส.

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 6 ประชุมสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ10 มีนาคม 2559
10
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพูดคุยถึงรายละเอียดของกิจกรรมถัดไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ผู้นำชุมชนซักถามความคืบกับหน้าทีมงานดำเนินโครงการ
  • คณะดำเนินโครงการอธิบายให้สภาชุมชนรับทราบถึงรายละเอียดกิจกรรมต่อไปที่จะจัดขึ้น
    • กิจกรรมประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
    • คลองลำแชงชวนปั่น
    • คลองลำแชงชวนเที่ยว
    • กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักในชุมชน
  • คณะดำเนินโครงการขอความคิดเห็นและคำปรึกษาในการการจัดกิจกรรมกับคณะสภาผู้นำชุมชน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้มีการมติกำหนดวันที่เหมาะสมในการจัดกิจกรรม ดังนี้
    • กิจกรรมคลองลำแชงชวนเที่ยว วันที่ 30-31 มีนาคม 2559
    • กิจกรรมคลองลำแชงชวนปั่น วันที่ 23 เมษายน 2559
  • สำหรับกิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักในชุมชน ทางคณะสภาผู้นำชุมชนได้แนะนำว่า ให้มีการหาพันธ์ุพืช
    พันธ์ุผักที่ไม่มีในชุมชน หรือพันธ์ุพืชผักหหายาก มาปลูกในพื้นที่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 11 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะสภาผู้นำชุมชน ซึ่งประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน เยาวชน ครูภูมิปัญญา

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

กิจกรรมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว2 มีนาคม 2559
2
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีความสวยงามสะดวกสบายเพื่อเตรียมพร้อมต้อนรับนักท่องเที่ยว
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการที่ได้ทำการสำรวจและได้ข้อมูลสถานที่จุดสำคัญต่างๆมาและได้นำเอาข้อมูลดังกล่าวมาวางแผนการ พัฒนาจากนั้นก็ได้มีการพัฒนาพื้นที่ในแต่ละจุดต่างๆ ดังนี้

  • จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับการพัฒนาและตกแต่งในแต่ละจุดต่าง

  • นัดแนะกลุ่มมัคคุเทศก์และกลุ่มเยาวชนจากทั้งในและนอกพื้นที่ไปพัฒนา ณ จุดต่างๆ ดังนี้

  • ลานหินปูน ได้มีการเคลียร์พื้นที่ให้สวยงามดูแล้วสบายตา โดยมีการปลูกต้นไม้
    และทำป้ายจุดเช็คอิน และมีการติดป้ายแผนที่การเดินทางไปสู่โตนหน้าผี
    และช่วยกันทำฝายขนาดเล็ก โดยการนำก่อนหินมาจัดเรียงเพื่อให้ระดับสูงขึ้น และนำเชือกที่เตรียมไว้ผูกกับต้นไม้ เพื่อทำเป็นที่โหนเล่นน้ำสำหรับเด็กๆ

  • จุดที่สอง ห่างจากจุดแรกประมาณ 300 เมตร เป็นจุดที่สามารถให้นักท่องเที่ยว หยุดพักและสามารถเล่นน้ำได้ ก็ได้มีการนำป้ายไวนิลไปติด ณ จุดนั้น

  • จุดที่สาม โตนหนึ่ง มีการเคลียร์พื้นที่เก็บกวาดกิ่งไม้ทำให้โล่งเตียน เพื่อให้เกิดความสะดวกสบายแก่ นักท่องเที่ยวในการแวะหยุดพักผ่อน และถ่ายรูป

  • จุดที่สี่ โตนหน้าผี เป็นจุดไฮไลท์ ที่สามรถพักแรมได้ ณ
    จุดนี้จะมีกิจกรรมหลากหลายให้นักท่องเที่ยว ได้เพลิดเพลิน เช่น การทำสปาปลา สไลด์เดอร์หินผา มีจุดกางเต็นท์ มีจุดผูกเปล จุดปิกนิก
    เราจึงได้มีการพัฒนาในแต่ละจุด โดยมีการ ปล่อยพันธุ์ปลาเพื่อทำเป็นวังมัจฉา
    มีการติดป้ายเป็นเขตอนุอักษ์ พันธุ์สัตว์น้ำโดยมีการติดป้ายห้ามจัดสัตว์น้ำโดยวิธีการทำลายล้าง
    ผูกเชือกเป็นทางขึ้นไปสู่สไลเดอร์
    ปรับปรุงภูมิทัศน์และจัดแยกโซนแต่ละพื้นที่ให้เป็นระเบียบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แหล่งท่องเที่ยวมีความสวยงามสะดวกสบาย พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก
มีจุดต่างๆให้นักท่องเที่ยวได้เล่นน้ำ พักแรม ปิกนิก ถ่ายรูป มีจุดชมพันธ์ปลาหลากหลายชนิดมี
มีความปลอดภัยและความพร้อมสำหรับต้อนรับนักท่องเที่ยว

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 18 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะดำเนินงานโครงการร่วมกับกลุ่มมัคคุเทศก์อาสา เยาวชนในพื้นที่ และเยาวชนนอกพื้นที่ที่สนใจ 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ระยะเวลาและงบประมาณ 9500 ถือว่าน้อยสำหรับการที่จะใช้ในการพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐานและสมบูรณ์แบบ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 5 ประชุมสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ20 กุมภาพันธ์ 2559
20
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปรึกษาหารือร่วมกับแกนนำเกี่ยวกับพันธ์ผักที่จะใชปลูกในกิจกรรม 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทีมทำงานร่วมกับแกนนำและชาวบ้านร่วมกันพูดคุยปรึกษาหารือถึงเรื่องพันธ์ุผักที่จะใช้ปลูกในกิจกรรม "ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับครัวเรือน" พร้อมกับวิธีในการปลูก

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทุกคนที่เข้าร่วมเห็นด้วยอย่างยิ่งกับกิจกรรมที่จะจัดขึ้น
  • ผักที่จะนำมาใช้ปลูกในกิจกรรม คือ พริกขี้หนู เนื่องจากชาวบ้านต้องการที่จะรวบรวมผลผลิตให้ได้ในปริมาณที่สามารถส่งขายเข้าสู่ตลาดกลางได้
  • สรุปแนวทางการจัดกิจกรรม "ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับครัวเรือน"
    • ลงพื้นที่เพื่อไปดูแปลกพริกของเพื่อนบ้านในพื้นที่ๆปลูกมาก่อนแล้ว
    • จัดหาพันธ์ุพริกขี้หนู
    • แจกจ่ายเมล็ดพันธ์ุโดยการกระจายกันปลูกในพื้นที่ของตัวเอง
    • รวบรวมผลผลิตที่ได้และจัดส่งสู่ตลาดกลาง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 21 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มแกนนำในชุมชนพร้อมกับทีมคณะดำเนินงานโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พบ สจรส.ม.อ.จัดส่งรายงานงวดที่ 116 กุมภาพันธ์ 2559
16
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดส่งรายงานงวด 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • นำเอกสารการเงินมาให้ สจรส.ม.อ.ตรวจสอบความถูกต้อง และจัดทำรายงานส่ง สสส.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับคำแนะนำจาก สจรส.ม.อ.ด้านการเขียนเอกสารการเงิน การเขียนรายงานกิจกรรม
  • ได้จัดส่งรายงานความก้าวหน้าเสร็จ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สำรวจสถานที่สำคัญในชุมชนเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว15 กุมภาพันธ์ 2559
15
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อทำการสำรวจสถานที่ที่น่าสนใจในชุมชมที่สามารถจะพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะดำเนินโครงการประสานงานกับทีมมัคคุเทศน์อาสาเพื่อนัดแนะสถานที่ที่จะไปสำรวจ
  • เดินทางสำรวจสถานทีที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้รวมถึงสำรวจจุดสำคัญๆ
    ที่จะต้องมีป้ายแนะนำสถานที่และป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัยในการเดินทาง

  • ถ่ายรูปจุดสำคัญๆต่างที่ได้ทำการสำรวจ

  • จดบันทึกรายละเอียดของแต่ละจุด
  • นำรูปภาพและข้อมูลที่ได้จากการเดินทางสำรวจมาจัดทำเป็นแผนที่และป้ายต่างๆ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พบสถานที่จุดสำคัญๆที่น่าสนใจและจะทำการพัฒนาในกิจกรรมต่อไป ดังนี้

  • จุดเช็คอิน เป็นจุดเริ่มต้นจุดแรกของสถานที่ท่องเที่ยว ณ คลองลำแชง ณ จุดนี้ก็จะมีการจัดทำป้ายต้อนรับและป้ายเช็คอินสำหรับนักท่องเที่ยว
  • ลานหินปูน เป็นลานสำหรับนั่งพักผ่อนปิคนิคและสถานที่สำหรับเล่นน้ำ และจะมีการติดแผนที่ แนะนำเส้นทางไปสู่โตนหน้าผี โดยระหว่างเส้นทางก็จะมีจุดที่น่าสนใจต่างๆ ดังนี้
    • จุดกางเต็นท์ 2 จุด จุดที่หนึงจะอยู่บริเวณใกล้กับลานหินปูน และจุดที่สอง จะอยู่บริเวณเส้นทางที่จะไปโตนหน้าผี
    • จุดเล่นน้ำ ซึงจะมีด้วยกันหลายจุดตลอดเส้นทางที่จะไปยังโตนหน้าผี แต่จะมีจุดเล่นน้ำที่น่าสนใจ อยู่บริเวณใกล้ๆกับจุดกางเต็นทฺ์ที่สอง
    • วังมัจฉา เป็นแอ่งน้ำที่จะมีการนำพันธ์ุปลาไปปล่อย
    • โตนหนึ่ง เป็นจุดน้ำตกเล็กๆที่มีความสวยงาม เหมาะสำหรับเป็นจุดพักผ่อนและถ่ายรูป
    • โตนหน้าผี เป็นจุดสุดท้ายของเส้นทางการท่องเที่ยว จุดนี้จะเป็นน้ำตกจากหน้าผาและมีพื้นที่เป็นแอ่งสำหรับเล่นน้ำ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะดำเนินโครงและการสมาชิกกลุ่มมัคคุเทศน์อาสาในพื้นที่ๆได้มีการจัดตั้งไว้จำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดทำรายงานงวดที่ 111 กุมภาพันธ์ 2559
11
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้องของงบประมาณและข้อมูลการจัดทำกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะทำงานเตรียมความพร้อมของข้อมูลเพื่อส่งให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ
  • พี่เลี้ยงตรวจสอบข้อมูลและชีแจงข้อมูลส่วนที่ผิดพลาดเพื่อนำกลับมาแก้ไข
  • พี่เลี้ยงชี้แจงถึงรูปแบบการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมโครงการในครั้งต่อไป
  • คณะทำงานปรับ แก้ไขข้อมูลตามที่พี่เลี้ยงได้ให้คำแนะนำ
  • ส่งข้อมูลให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานได้เรียนรู้ถึงข้อผิดพลาดต่างๆในการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนิน กิจกรรมโครงการและได้ทำการปรับแก้ไขให้ถูกต้อง

  • คณะทำงานได้รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมโครงการและได้รับทราบ ถึงรูปแบบรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมโครงการที่มีการปรับเปลี่ยนใหม่

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทีมงานดำเนินโครงการจำนวน 5 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ จึงทำให้ทางคณะเกิดความสับสนในการจัดทำข้อมูล

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศก์อาสา6 กุมภาพันธ์ 2559
6
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศน์อาสาจากเยาวชนในพื้นที่ให้มาทำหน้าที่บริหารจัดการการท่องเที่ยวในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประสานทีมเยาวชน 4 คน ซึ่งเป็นผู้ที่มีความชำนาญในการเดินป่าเขาพระ
  • นัดประชุมทำความเข้าใจกับทีมเยาวช 4 คน
  • ทดลองเดินป่า โดยให้ทีมเยาวชนทั้ง 4 คน เป็นไกล์นำทางและนำเที่ยว
    ให้กับผู้ที่สนใจเดินป่า ซึ่งเป็นชาวบ้านในพื้นที่และคนทั่วไปจำนวน 12 คน ในวันที่ 6-7 ก.พ.59
  • สรุปผลจากการเดินป่า โดยถอดบทเรียนร่วมกัน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ในเรื่องของการจัดโครงสร้างการทำงานของกลุ่มเราได้ค้นพบเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่ จำนวน 4 คน ซึ่งทางคณะทำงานและที่ปรึกษาโครงการ เห็นร่วมกันว่า เยาวชนกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มที่ทำงานด้านการเกษตร มีวิถีชีวิตพึงพาอาศัยอยู่กับป่าและที่สำคัญเยาวชนกลุ่มนี่เป็นผู้สืบทอดของพรานรุ่นก่อนๆ ดังนั้นคณะทำงาน ด้านมีการพูดคุยในการจัดตั้งทำความเข้าและสร้างความตระการเป็นมัคคุเทศก์อาสา ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
    • ต้องมีใจรักในธรรมชาติ
    • ต้องพึงระวังในการทำลายธรรมชาติให้มากที่สุด
    • ช่วยกันดูแลปกป้องพันธุ์สัตว์ป่าหายาก
    • ต้องมีความรู้ความชำนาญเรื่องของสมุนไพรในป่า
    • อุปกรณ์และเครื่องมือในการล่าสัตว์ต้องมีความเมาะสมและไม่สงผลกระทบที่รายแรงต่อระบบนิเวศ ทางกลุ่มมัคคุเทศก์อาสาจะมีการคัดเลือกประธาน รองประธาร และทีมงานในการจัดตั้งกลุ่มอย่างสมบูรณ์แบบ และได้มีการวางแผนแบ่งบทบาทหน้าที่โดยมี ฝ่ายคนนำทาง ฝ่ายอาหาร ฝ่ายจัดเตรียมที่พักฝ่ายให้ข้อมูลนักท่องเที่ยวและฝ่ายจัดเวรยาม รักษาความปลอดภัยในเวลากลางคืน
  • พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม เราได้มีการจัดให้กลุ่มมัคคุเทศก์ได้ทดลองนำทีมคณะทำงานและผู้ที่สนใจบางส่วนร่วมสำรวจเส้นทางไปสู่น้ำตกคลองลำแชง ในช่วงระว่างเส้นทางเดิน พรานก็ได้มีการแนะนำ
    • จุดที่1 โตน 1 สถานที่นี่บริเวณมีความสวยงามมาก และเป็นสถานที่ สามารถเล่นน้ำได้
    • จุดที่ 2 น้ำตกโตนหน้าผีบริเวณนี้พรานบอกว่า ระยะความสูงของน้ำตกมีความสูงประมาณตึก 15 ชั้น สามารถทำสปาร์ปลาได้ บริเวณรอบมีพันธุ์กล้วยไม้ป่าที่หาดูได้ยากที่สำคัญมีต้นยางนาที่ชาวบ้านสามารถเอาน้ำมันยางไปใช้ประโยชน์ได้และมีบริเวณที่เหมาะแก่การกลางเต้น ค้างคืนได้
    • จุดที่ 3 แพรก2มีระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นจุดพักรับประทานอาหาร กลางวันบริเวณนี้มีพันธุ์ปลาหายาก เช่น ปลาดุกลาย ปลาหวด ปลาบังโฮ๊ะปลาซิวแกะ ปลาล็อด ปลาทีง ปลาเกล็ดหนาปลาหย่า นายพรานได้มีการสาธิตวิธีการจัดปลาแบบไม่ทำลายล้าง เหมาะกับวิถีการพึงพาอาศัยการอยู่ร่วมกับป่า
    • จุดที่ 4 ดงหลุมพอ ซึ้งมีต้นหลุมพอขนาดใหญ่หลายต้นมาก จุดนี้ มีความน่าตื่นตาตื่นใจเป็นที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจในการถ่ายรูปอย่างสนุกสนาน บางต้นมีขนาดใหญ่6 คนโอบเลยที่เดียว
    • จุดที่ 5 จุดปืนไปสู่สันเขาจุดนี้มีความทรหดมากๆ มีความลาดชันประมาณ 50 องศา มันเต็มไปด้วยต้นเนา ซึ่งมีความสวยงามมาก
    • จุดสุดท้าย ที่พัก ต่างคนต่างก็เหนื่อยล้า ตั้งกระเป่าและมุ่งหน้าไปสู่ลำน้ำ และใช้มือสัมผัสกับน้ำที่เย็นฉ่ำต่างคนต่างก็ได้ดื่มน้ำ ชำระร่างกาย ทั้งหมดก็ได้ผ่อนคลายไปตามๆกันในคณะที่คณะทำงาน เพลิดเพลินกับสายน้ำ ส่วนนายพราน ก็ต่างแยกย้าย ปฎิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่ของตนเองทั้งเตรียมอาหาร ที่พัก และหาฟื้นไว้ก่อกองไฟ เมื่อตกค่ำทุกคนก็ได้แชร์ความรู้สึกร่วมกัน มีการวางแผนการเดินทางกลับ ในวันเดินทางกลับ พรานได้นำไปสู่น้ำตกสูงความสูงระยะ 500 เมตร ต่างคนก็รู้สึกตื่นเต้นในความสูงและอลังการของมันและเดินทางกลับบ้านโดยสวัสดิภาพ
  • การจัดทำแผนปฎิบัติงานกลุ่มได้มีการ พูดคุยกันว่า การเป็นนายพรานที่นำนักท่องเที่ยวเดินป่า จะต้องมีรายได้ โดยคิดค่า พราน คนละ 300 /วันเพราะว่าการนำเที่ยวนายพรานจะต้องสละงานประจำเช่น เรื่องของการกรีดยางและการทำสวนเกษตรและมีการตกลงกันว่า เมื่อมีนักท่องเที่ยว เข้า พรานจะต้องให้ความสำคัญกับนักท่องเที่ยว มีเวลาว่างให้และพรานต้องมีความพร้อม ในการนำเที่ยวในป่าเสมอเรื่องของอาหารการกินนักท่องเที่ยวจะมีการรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 16 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ๆมีความรู้ความชำนาญในเรื่องของการเดินป่า
  • กลุ่มเยาวชนที่สนใจอยากจะมัคคุเทศน์และอยากจะเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่คลองลำแชง
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

คืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและเปิดตัวโครงการ4 กุมภาพันธ์ 2559
4
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย นายอะหมัด หลีขาหรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและเปิดตัวโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ลงทะเบียนผู้มาเข้าร่วมกิจกรรม
  • ประธานโครงการกล่าวกล่าวรายงานเชิญผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาพระมาเป็นผู้เปิดพิธีและกล่าวให้โอวาทแก่นักเรียนที่มาเข้าร่วมโครงการ
  • นายอะหมัด หลีขารี (พี่เลี้ยงโครงการ) ชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนิการโครงการและการสนับสนุนงบประมาณจาก สสส.
  • นายดาหนัน ดูหมาด (ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6) พูดถึงโครงการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าและสิ่งแวดล้อมที่ได้จัดทำขึ้น
  • นายอภินันต์ หมัดหลี (ผู้ชำนาญด้านเกษตรธาตุสี่) อธิบายชี้แจงถึงที่มาที่ไปของโครงการโดย (ชี้แจงถึงสภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลเขาพระ )
  • คณะทำงานชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมต่างๆที่จะจัดทำร่วมกับโรงเรียนและชุมชน
  • คณะทำงานพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะครูและนักเรียนที่มาเข้าร่วมโครงการถึงแนวทางกิจกรรมที่จะจัดทำร่วมกัน
  • ปิดการประชุมโดยนายสัน เส็นหล๊ะ (ผู้ชำนาญด้านเกษตรสี่ ย)
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมรับรู้และเข้าใจถึงข้อมูลสถิติการใช้สารเคมี รวมไปถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารเคมีที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนี้ จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 355 คน
อาชีพหลักของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด คือ ทำสวนยางพารา, ทำสวนผลไม้, กรีดยาง, รับจ้างทั่วไป, ค้าขาย, ผลิตและจำหน่ายมีด, เพาะพันธุ์ไม้, ครูโรงเรียนเอกชน, รับซื้อน้ำยางรับราชการ, ทำนา, ประมง, ขับรถรับจ้าง อาชีพเสริมของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด คือ ค้าขาย, รับจ้างทั่วไป, ก่อสร้าง, ช่างไฟฟ้า, ช่างเย็บผ้า, ครูฟัรดูอีน(คุรุสัมพันธ์), หมอบีบนวด, ขับรถรับส่งนักเรียน ข้อมูลอาชีพเกษตร เนื้อที่ในการทำเกษตรของผู้ให้ข้อมูลร่วมทั้งหมด 3,861 ไร่ ต้นทุนการผลิต -ค่าปุ๋ยรวมทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงิน 3,553,080 บาท/ปี -ค่ายาปราบศัตรูพืชทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงิน 165,680บาท/ปี -ค่ายาฆ่าหญ้าทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงิน 268,910 บาท/ปี -ค่าอื่นๆ เช่น ค่าเมล็ดพันธุ์พืชค่าจ้างหรือค่าแรงในการตัดหญ้า ค่าน้ำมัน ค่าจ้างในการฉีดหญ้า เป็นต้น คิดเป็นเงิน 35,600 บาทต่อปี -รวมต้นทุนการผลิตของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดคิดเป็นเงิน 4,023,270 บาท/ปี ข้อมูลกการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชนบ้านคลองลำแชง ปี 2558 จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 40 คน อาชีพหลักของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดคือ เกษตรกร อาชีพเสริมของผู้ให้ข้อมูล คือ ค้าขาย, ก่อสร้าง, ทำธุรกิจส่วนตัว (ข้อมูลอาชีพเกษตร) พื้นที่ในการทำเกษตรทั้งหมด 387 ไร่ รูปแบบในการทำเกษตร -แบบเชิงเดียวมีจำนวน 11 คน โดนส่วนมากปลูกยางพารา -แบบผสมผสารมีจำนวน 34 คนโดยมีการปลูก ยางพารา เงาะ ทุเรียน ลองกอง จำปาดะมังคุด กล้วยผักเหรียง สละ สัปปะรด ชะอม ข้าวโพด ฯลฯ -จำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ทำเกษตรทั้งสองรูปแบบ 2 คน ต้นทุนการผลิต -ค่าปุ๋ย 221,700 บาท/ปี ตรา หัววัวคันไถ, หัวเสือ, ไวกิ้ง, เรือใบ,ไข่มุก, เจริญอินทรีย์, ไข่มุกมังกร, อินทรีย์ มิยาร่า -ค่ายาปราบศัตรูพืช 11,200 บาท/ปี ตรา สิงโต ราวอัพ เสือ คมแฝด -ค่ายาฆ่าหญ้า 12,520 บาท/ปี ตรา มอกโซน ไกลโฟเซต -ค่าอื่นๆ 38,010 -รวมค่าใช้จ่าย283,430 บาท/ปี ผู้เข้าร่วมเข้าใจถึงรายละเอียดกระบวนการดำเนินโครงการและรับทราบถึงบทบาทของตนเองในการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ จัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ หาเครือข่ายที่เป็นกลุ่มน้องๆเยาวชนในพื้นที่ตำบลเขาพระ กลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน คณะครู เพื่อมาจัดตั้งเป็นสภาผู้นำชมชน โดยจะมีการประชุมร่วมกันในทุกๆเดือนๆ เพื่อปรึกษาหารือกันเกี่ยวกับโครงการ สำรวจและรวบรวมข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน เป็นกิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลโดยให้เยาวชนบางส่วนได้ลงไปจัดเก็บข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่หมู่ 6 บ้านคลองลำแชง วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ นำข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการจัดเก็บข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์มาวิเคราะห์ เวที สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชงด้วยการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อคืนข้อมูลและเปิดตัวโครงการ นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและผ่านกระบวนการวิเคราะห์มาเผยแพร่ให้แก่คนในชุมชนได้รับทราบถึงสถาการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน เป็นกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มน้องๆนักเรียนโดยตรง โดยทางทีมงานจะลงไปถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์ให้กับน้องๆในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ประกวดแปลงผักอินทรีย์ในโรงเรียน จะให้น้องๆเยาวชนแต่ละโรงเรียนปลูกผักอินทรีย์และจะมีการประกวดกันระหว่างแต่ละโรงเรียน โดยจะมีคณะกรรมการลงไปตรวจความคืบหน้าเป็นระยะๆ พร้อมกับจะมีรางวัลให้แก่ผู้ที่ชนะการประกวด ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับครัวเรือน ให้กลุ่มเยาวชนนำความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดกลับไปถ่ายทอดต่อให้กับพ่อแม่ พีน้อง โดยจะมีทีมคณะทำงานลงไปให้ข้อมูลความรู้ประกอบเพิ่มเติมด้วย จัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศก์อาสา จัดตั้งกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ๆมีความสามารถนำเที่ยวเมื่อมีนักท่องเที่ยวเข้ามา ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่เกษตรอินทรีย์ หรือพื้นที่ป่าต้นน้ำ สำรวจสถานที่สำคัญในชุมชนเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว นำกลุ่มเยาวชนลงเพื่อสำรวจแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ กิจกรรมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ลงไปพัฒนาและปรับปรุงสถานที่ได้มีการสำรวจมาแล้วว่าเหมาะสมจะสามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ คลองลำแซงชวนเที่ยว จัดกิจกรรมคลองลำแชงนำเที่ยวโดยจะมีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักท่องเที่ยวจากภายนอกเข้ามา และให้กลุ่มมัคคุเทศก์ที่เราได้มีการจัดตั้งไว้ เป็นผู้นำนักท่องเที่ยวเหล่านี้ไปเที่ยวในพื้นที่คลองลำแชง กิจกรรมจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวผ่านทางโซเชียลมีเดียและจำทำป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ คลองลำแซงชวนปั่น จะมีการพัฒนา จัดทำเส้นทางปั่นจักรยานเสือภูเขาให้มีความเหมาะสมเพื่อรองรับนักปั่นจักยานที่สนใจจะมาเข้าร่วมปั่นชมสวนเกษตรอินทรีย์ ทำป้ายสัญลักษณ์รณรงค์เกี่ยวกับสุขภาพ จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ป้ายรณรงค์การทำเกษตรอินทรีย์และบริโภคผักปลอดสารพิษ ผู้เข้าร่วมต่างก็ให้ความสำคัญกับโครงการด้วยการแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่างๆ ดังนี้ ผลจากการปรึกษาหารือเกี่ยวกับกิจกรรม “ประกวดแปลงผักอินทรีย์ในโรงเรียน” ที่จะเกิดขึ้นคือ ทางคณะผู้ดำเนินงานโครงการ จะลงไปให้ข้อมูล และ เทคนิค การปลูกผักปลอดสารrพิษในแต่ละโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีทั้งหมด 6 โรงเรียน (โรงเรียนศึกษาศาสตร์ โรงเรียนบ้านนาลึก โรงเรียนบ้านคลองกั่ว โรงเรียนบ้านคลองเขาล้อน โรงเรียนบ้านทุ่งคมบาง โรงเรียนบ้านเขาพระ) ตัวแทนคณะครูที่เข้าร่วม ได้กล่าวว่า ในฐานะที่เราอยู่ในพื้นที่ต้นน้ำ ที่มีการทำการเกษตรเป็นอาชีพหลัก ถ้าทุนเดิมของเรามีปัญหา การเป็นอยู่ของเราก็จะมีปัญหา ดังนั้นการนำความข้อมูลความรู้มาเผยแพร่ให้แก่เยาวชนน้องๆนักเรียนได้รับรู้ถือเป็นสิ่งที่มีที่สมควรจะต้องทำ เพราะเด็กๆรุ่นใหม่อาจจะยังไม่รู้ถึงผลกระทบในภายภาคหน้า ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ของตนเอง สำหรับกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนที่จะมีขึ้นนั้น ทางโรงเรียนจะกลับไปวางแผนว่า จะรวมกลุ่มกันอย่างไร จะแบ่งพื้นที่อย่างไร เพื่อที่จะมีแปลงผักเกษตรอินทรีย์ มีผักไว้ใช้รับประทานในโรงเรียน หรือถ้าหากเหลือก็อาจจะให้นักเรียนนำกลับไปใช้รับประทานที่บ้านต่อไป และสิ่งสำคัญที่ได้เน้นย้ำคือ เราทุกคนจะต้องนำความรู้ที่ได้กลับไปใช้เพื่อชุมชนของเราต่อไป นายสัน เส็นหล๊ะ (ผู้ชำนาญด้านเกษตรสี่ ย)ได้ส่งเสริมและเน้นย้ำถึงความสำคัญของการปลูกผักไว้รับประทานเองภายในครอบครัว ว่าเป็นแนวทางที่ดีกว่าและปลอดภัยต่อสุขภาพ เพราะว่า ผักที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดในปัจจุบันวันนี้ มีสารเคมีตกค้างอยู่ในปริมาณมาก นอกจากนี้ ก็ได้รณรงค์เชิญชวนให้ท่องเที่ยวรูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรด้วยเช่นกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

คณะครู นักเรียน ผู้นำชุมชน ปราญช์ชาวบ้าน  จำนวน 80 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เวทีสร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชงด้วยการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อคืนข้อมูลและเปิดตัวโครงการ4 กุมภาพันธ์ 2559
4
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อต้องการนำเสนอให้คนในชุมชนและภาคีร่วมรับทราบและเข้าใจ ถึงที่มาที่ไปและรายละเอียดของโครงการที่จะจัดทำขึ้นในพื้นที่

  • เพื่อทำการปรึกษาหารือกับภาคร่วมถึงแนวทางในการจัดกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มต้นด้วยการลงทะเบียนผู้มาเข้าร่วมโครงการ
  • จากนั้นประธานโครงการกล่าวกล่าวรายงานเชิญผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านเขาพระมาเป็นผู้เปิดพิธีและกล่าวให้โอวาทแก่นักเรียนที่มาเข้าร่วมโครงการ
  • นายอะหมัด หลีขารี (พี่เลี้ยงโครงการ)เพื่อพูดชี้แจงให้ผู้เข้าร่วมได้รู้จักกับ สสส.
  • นายดาหนัน ดูหมาด (ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6) พูดถึงโครงการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่า และสิ่งแวดล้อมที่ได้จัดทำขึ้น
  • นายอภินันต์ หมัดหลี (ผู้ชำนาญด้านเกษตรธาตุสี่) อธิบายชี้แจงถึงที่มาที่ไปของโครงการโดย (ชี้แจงถึงสภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลเขาพระ )
  • คณะทำงานชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมต่างๆที่จะจัดทำร่วมกับโรงเรียนและชุมชน
  • คณะทำงานพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะครูและนักเรียนที่มาเข้าร่วมโครงการ ถึงแนวทางกิจกรรมที่จะจัดทำร่วมกัน
  • ปิดการประชุมโดยนายสัน เส็นหล๊ะ (ผู้ชำนาญด้านเกษตรสี่ ย)
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมรับรู้และเข้าใจถึงข้อมูลสถิติการใช้สารเคมี รวมไปถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารเคมีที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนี้
    • ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปี 2555 (จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 355 คน) สถานการณ์การใช้สารเคมีในชุมชน

อาชีพหลักของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด คือ
ทำสวนยางพารา, ทำสวนผลไม้, กรีดยาง, รับจ้างทั่วไป, ค้าขาย, ผลิตและจำหน่ายมีด, เพาะพันธุ์ไม้, ครูโรงเรียนเอกชน, รับซื้อน้ำยางรับราชการ, ทำนา, ประมง, ขับรถรับจ้าง

อาชีพเสริมของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด คือ ค้าขาย, รับจ้างทั่วไป, ก่อสร้าง, ช่างไฟฟ้า, ช่างเย็บผ้า, ครูฟัรดูอีน(คุรุสัมพันธ์), หมอบีบนวด, ขับรถรับส่งนักเรียน

ข้อมูลอาชีพเกษตร

เนื้อที่ในการทำเกษตรของผู้ให้ข้อมูลร่วมทั้งหมด 3,861 ไร่

ต้นทุนการผลิต

-ค่าปุ๋ยรวมทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงิน 3,553,080 บาท/ปี

-ค่ายาปราบศัตรูพืชทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงิน 165,680บาท/ปี

-ค่ายาฆ่าหญ้าทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงิน 268,910 บาท/ปี

-ค่าอื่นๆ เช่น ค่าเมล็ดพันธุ์พืชค่าจ้างหรือค่าแรงในการตัดหญ้า ค่าน้ำมัน ค่าจ้างในการฉีดหญ้า เป็นต้น คิดเป็นเงิน 35,600 บาทต่อปี

-รวมต้นทุนการผลิตของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดคิดเป็นเงิน 4,023,270 บาท/ปี

  • ข้อมูลกการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชนบ้านคลองลำแชง ปี 2558 จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 40 คน

อาชีพหลักของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดคือ เกษตรกร

อาชีพเสริมของผู้ให้ข้อมูล คือ ค้าขาย, ก่อสร้าง, ทำธุรกิจส่วนตัว

(ข้อมูลอาชีพเกษตร)

พื้นที่ในการทำเกษตรทั้งหมด 387 ไร่

รูปแบบในการทำเกษตร

-แบบเชิงเดียวมีจำนวน 11 คน โดนส่วนมากปลูกยางพารา

-แบบผสมผสารมีจำนวน 34 คนโดยมีการปลูก ยางพารา เงาะ ทุเรียน ลองกอง จำปาดะมังคุด กล้วยผักเหรียง สละ สัปปะรด ชะอม ข้าวโพด ฯลฯ

-จำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ทำเกษตรทั้งสองรูปแบบ 2 คน

ต้นทุนการผลิต

-ค่าปุ๋ย 221,700 บาท/ปี ตรา หัววัวคันไถ, หัวเสือ, ไวกิ้ง, เรือใบ,ไข่มุก, เจริญอินทรีย์, ไข่มุกมังกร, อินทรีย์ มิยาร่า

-ค่ายาปราบศัตรูพืช 11,200 บาท/ปี ตรา สิงโต ราวอัพ เสือ คมแฝด

-ค่ายาฆ่าหญ้า 12,520 บาท/ปี ตรา มอกโซน ไกลโฟเซต

-ค่าอื่นๆ 38,010

-รวมค่าใช้จ่าย283,430 บาท/ปี

  • ผู้เข้าร่วมรับรู้ถึงที่มาที่ไปของโครงการ ดังนี้

    (นายอภินันต์ หมัดหลี) ได้อธิบายถึงที่มาที่ไปของโครงการ ดังนี้ เนื่องจากพื้นที่ตำบลเขาพระนั้นเป็นพื้นที่ต้นน้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์ ประกอบไปด้วยพืชพันธ์ุผลไม้นาๆชนิด คนในพื้นที่ใช้น้ำจากแหล่งต้นน้ำทั้งในการอุปโภคและบริโภค คนในพื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร แต่ในช่วงหลังๆมานี้ เกษตรกรส่วนใหญ่มักจะใช้สารเคมีในการทำเกษตร จึงทำให้เกิดการตกค้างของสารเคมี และกลับกลายเป็นว่า ความอุดมสมบูรณ์ที่มีอยู่นั้น เป็นความอุดมสมบูรณ์ที่แฝงไปด้วยอันตราย ด้วยเหตุนี้ ทางกลุ่มเยาวชน จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นมา โดยใช้ชื่อโครงการว่า ท่องเที่ยวเชิงเกษตรลดสารเคมี สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชง (ต่อเนื่อง ปี 2) เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการที่ได้ทำเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะหาแนวทางแก้ไขปัญหา ซึ่งอาศัยความร่วมมือจากกลุ่มภาคีต่างๆในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียน กลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ ฯลฯ โดยใช้ฐานของโครงการ ภายใต้รูปแบบที่ว่า รณรงค์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ เพื่อที่จะปลูกจิตสำนึกให้คนในชุมชนลดใช้สารเคมีทางการเกษตรและเพื่อสุขภาวะที่ดีของคนในชุมชน

  • ผู้เข้าร่วมเข้าใจถึงรายละเอียดกระบวนการดำเนินโครงการและรับทราบถึงบทบาทของตนเองในการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

    • จัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ หาเครือข่ายที่เป็นกลุ่มน้องๆเยาวชนในพื้นที่ตำบลเขาพระ กลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน คณะครู เพื่อมาจัดตั้งเป็นสภาผู้นำชมชน โดยจะมีการประชุมร่วมกันในทุกๆเดือนๆ เพื่อปรึกษาหารือกันเกี่ยวกับโครงการ
    • สำรวจและรวบรวมข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน เป็นกิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลโดยให้เยาวชนบางส่วนได้ลงไปจัดเก็บข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่หมู่ 6 บ้านคลองลำแชง
    • วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ นำข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการจัดเก็บข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์มาวิเคราะห์
    • เวที สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชงด้วยการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อคืนข้อมูลและเปิดตัวโครงการ นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและผ่านกระบวนการวิเคราะห์มาเผยแพร่ให้แก่คนในชุมชนได้รับทราบถึงสถาการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน
    • กิจกรรมถ่ายทอดความรู้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน เป็นกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มน้องๆนักเรียนโดยตรง โดยทางทีมงานจะลงไปถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์ให้กับน้องๆในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
    • ประกวดแปลงผักอินทรีย์ในโรงเรียน จะให้น้องๆเยาวชนแต่ละโรงเรียนปลูกผักอินทรีย์และจะมีการประกวดกันระหว่างแต่ละโรงเรียน โดยจะมีคณะกรรมการลงไปตรวจความคืบหน้าเป็นระยะๆ พร้อมกับจะมีรางวัลให้แก่ผู้ที่ชนะการประกวด
    • ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในระดับครัวเรือน ให้กลุ่มเยาวชนนำความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดกลับไปถ่ายทอดต่อให้กับพ่อแม่ พีน้อง โดยจะมีทีมคณะทำงานลงไปให้ข้อมูลความรู้ประกอบเพิ่มเติมด้วย
    • จัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศก์อาสา จัดตั้งกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ๆมีความสามารถนำเที่ยวเมื่อมีนักท่องเที่ยวเข้ามา ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่เกษตรอินทรีย์ หรือพื้นที่ป่าต้นน้ำ
    • สำรวจสถานที่สำคัญในชุมชนเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว นำกลุ่มเยาวชนลงเพื่อสำรวจแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่
    • กิจกรรมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ลงไปพัฒนาและปรับปรุงสถานที่ได้มีการสำรวจมาแล้วว่าเหมาะสมจะสามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้
    • คลองลำแซงชวนเที่ยว จัดกิจกรรมคลองลำแชงนำเที่ยวโดยจะมีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักท่องเที่ยวจากภายนอกเข้ามา และให้กลุ่มมัคคุเทศก์ที่เราได้มีการจัดตั้งไว้ เป็นผู้นำนักท่องเที่ยวเหล่านี้ไปเที่ยวในพื้นที่คลองลำแชง

    • กิจกรรมจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวผ่านทางโซเชียลมีเดียและจำทำป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ

    • คลองลำแซงชวนปั่น จะมีการพัฒนา จัดทำเส้นทางปั่นจักรยานเสือภูเขาให้มีความเหมาะสมเพื่อรองรับนักปั่นจักยานที่สนใจจะมาเข้าร่วมปั่นชมสวนเกษตรอินทรีย์

    • ทำป้ายสัญลักษณ์รณรงค์เกี่ยวกับสุขภาพ จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ป้ายรณรงค์การทำเกษตรอินทรีย์และบริโภคผักปลอดสารพิษ

  • ผู้เข้าร่วมต่างก็ให้ความสำคัญกับโครงการด้วยการแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่างๆ ดังนี้

    • ผลจากการปรึกษาหารือเกี่ยวกับกิจกรรม “ประกวดแปลงผักอินทรีย์ในโรงเรียน” ที่จะเกิดขึ้นคือ ทางคณะผู้ดำเนินงานโครงการ จะลงไปให้ข้อมูล และ เทคนิค การปลูกผักปลอดสารrพิษในแต่ละโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีทั้งหมด 6 โรงเรียน (โรงเรียนศึกษาศาสตร์ โรงเรียนบ้านนาลึก โรงเรียนบ้านคลองกั่ว โรงเรียนบ้านคลองเขาล้อน โรงเรียนบ้านทุ่งคมบาง โรงเรียนบ้านเขาพระ)
    • ตัวแทนคณะครูที่เข้าร่วม ได้กล่าวว่า ในฐานะที่เราอยู่ในพื้นที่ต้นน้ำ ที่มีการทำการเกษตรเป็นอาชีพหลัก ถ้าทุนเดิมของเรามีปัญหา การเป็นอยู่ของเราก็จะมีปัญหา ดังนั้นการนำความข้อมูลความรู้มาเผยแพร่ให้แก่เยาวชนน้องๆนักเรียนได้รับรู้ถือเป็นสิ่งที่มีที่สมควรจะต้องทำ เพราะเด็กๆรุ่นใหม่อาจจะยังไม่รู้ถึงผลกระทบในภายภาคหน้า ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ของตนเอง สำหรับกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนที่จะมีขึ้นนั้น ทางโรงเรียนจะกลับไปวางแผนว่า จะรวมกลุ่มกันอย่างไร จะแบ่งพื้นที่อย่างไร เพื่อที่จะมีแปลงผักเกษตรอินทรีย์ มีผักไว้ใช้รับประทานในโรงเรียน หรือถ้าหากเหลือก็อาจจะให้นักเรียนนำกลับไปใช้รับประทานที่บ้านต่อไป และสิ่งสำคัญที่ได้เน้นย้ำคือ เราทุกคนจะต้องนำความรู้ที่ได้กลับไปใช้เพื่อชุมชนของเราต่อไป
    • นายสัน เส็นหล๊ะ (ผู้ชำนาญด้านเกษตรสี่ ย)ได้ส่งเสริมและเน้นย้ำถึงความสำคัญของการปลูกผักไว้รับประทานเองภายในครอบครัว ว่าเป็นแนวทางที่ดีกว่าและปลอดภัยต่อสุขภาพ เพราะว่า ผักที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดในปัจจุบันวันนี้ มีสารเคมีตกค้างอยู่ในปริมาณมาก นอกจากนี้ ก็ได้รณรงค์เชิญชวนให้ท่องเที่ยวรูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรด้วยเช่นกัน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

คณะครู
นักเรียน
ผู้นำชุมชน
ปราญช์ชาวบ้าน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายอะหมัดหลีขาหรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมภาผู้นำ ครั้งที่ 428 มกราคม 2559
28
มกราคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงานสำหรับเวที 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมทีมงานเพื่อกำหนดและจัดเตรียมข้อมูลและกิจกรรมที่จะมีขึ้นในเวที

    "สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชงด้วยการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
    เพื่อคืนข้อมูลและเปิดตัวตัวโครงการ"ฯ ตามรายละเอียด ดังนี้

  • สาเหตุที่ไม่มีความเคลื่นไหวในการทำโครงการ
  • ข้อมูลที่จะนำไปเสนอพูดคุยในเวที
  • หนังสือเชิญผู้เข้าร่วม
  • ร่างกำหนดการคร่าวๆ
  • จัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ค้นพบถึงสาเหตุที่ทำให้การดำเนินโครงการชุดชะงักชั่วคราว และเกิดความล่าช้า ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา

    • ประธาน : เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้ยางพารามีราคาถูก ประกอบกับ คนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือกรีดยาง ทำให้คนในพื้นที่มีเวลาน้อยลง เพราะต้องประกอบอาชีพเสริมเพื่อหารายได้มาจุนเจือครอบครัว ทำให้การจัดกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้อย่างราบรื่น นอกจากนี้ สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย มีฝนตกชุก ก็มีส่วนที่ทำให้เกิดอุปสรรคต่อการจัดกิจกรรมเช่นกัน
    • เลขา : เนื่องจากกำลังศึกษาอยู่ในมหาลัยที่อยู่ในต่างจังหวัด ทำให้การเดินทางไป-กลับ ไม่ค่อยสะดวก ต้องใช้เวลาหลายชั่วโมงในการเดินทางประกอบกับในช่วงเวลาที่ผ่านมาเป็นช่วงสอบปิดภาคเรียน มีงานหลายชิ้นที่ต้องเคลียร์ให้เสร็จก่อนช่วงสอบและไม่สามรถขาดสอบได้ ทำให้ไม่สามารถเดินทางกลับไปเข้าร่วมการประชุมวางแผนเตรียมงานได้ จึงส่งผลให้คณะทำงานก็ไม่สามารถดำเนินงานได้อย่างราบรื่น
    • เหรัญญิก : เนื่องจากช่วงที่ผ่านมาสุขภาพร่างกายไม่ค่อยดี มีโรคประจำตัว และไม่สบายบ่อยครั้ง ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน
    • ฝ่ายประสานงาน : เนื่องจากอยู่ในช่วงที่เพิ่งเปิดกิจการทำธุรกิจ การดำเนินงานของธุรกิจยังไม่ลงตัว มีปัญหาค่อนข้างเยอะ จึงทำให้ไม่ค่อยมีเวลาที่จะมาเข้าร่วมประชุมดำเนินโครงการได้
    • ผู้ช่วยทั่วไป : เนื่องจากอยู่ในช่วงที่ประสบอุบัติเหตุ ทำให้ต้องใช้เวลาในการพักรักษาตัว จึงไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ สรุป : ความคิดเห็นที่มีต่อการทำโครงการในช่วงพัฒนาโครงการ ช่วงเริ่มแรกดำเนินโครงการ และ การดำเนินโครงการที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้ ช่วงพัฒนาโครงการ ทีมงานแต่ละคนมีความกระตือรือร้นมากที่จะเขียนโครงการให้สำเร็จ เนื่องจากทุกคน มีความตั้งใจจริงที่อยากจะพัฒนาสร้างสรรค์สังคมให้ดีขึ้น และเป็นช่วงที่ทุกคนว่าง ไม่ติดภารกิจอื่น และไม่มีอุปสรรคอะไร การดำเนินการเขียนโครงการจึงมีความราบรื่นและผ่านไปได้ด้วย และหลังจากที่โครงการได้รับการอนุมัติเป็นที่เรียบร้อยและเข้าอยู่ในช่วงเริ่มดำเนินโครงการตามที่ได้วางแผนเอาไว้ ทางทีมคณะผู้ทำงานก็ต้องพบเจออุปสรรคต่างๆ ทั้งที่เป็นอุปสรรคส่วนตัวและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับโครงการโดยตรง ดังที่ได้กล่าวมาในตอนต้น ทำให้หลายๆคนต่างเงียบหาย รู้สึกไม่ค่อยกระตือรือร้น และขาดแรงบันดาลใจที่จะดำเนินโครงการ แต่หลังจากนี้ ทางคณะทำงานจะกลับมาดำเนินโครงการตามแผนที่ได้วางไว้อย่างจริงจัง และจะพยายามดำเนินงานให้โครงการนี้เสร็จลุล่วงไปด้วยดี
  • ได้รายละเอียดข้อมูลที่จะนำไปเสนอพูดคุยในเวทีตามหัวข้อ ดังนี้

    • ข้อมูลสุขภาพชุมชน ปี 2555
    • ข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่คลองลำแชง ปี 2558
    • รายละเอียดโครงการ(หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กิจกรรมในโครงการและการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน)
    • ได้กำหนดผู้เข้าร่วมที่จะทำการส่งหนังสือเชิญ (กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผอ.จากเจ็ดโรงเรียนในพื้นที่โรงเรียนศึกษาศาสตร์ โรงเรียนบ้านนาลึก โรงเรียนบ้านควนดินแดง โรงเรียนบ้านคลองกั่ว โรงเรียนบ้านคลองเขาล้อน โรงเรียนบ้านทุ่งคมบาง โรงเรียนบ้านเขาพระ แกนนำชุมชน เจ้าหน้าที่อนามัย ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่ของกรมป่าไม้ เจ้าหน้าที ททท. )
    • กำหนดการคร่าวๆ ดังนี้ กิจกรรมจะจัดขึ้นในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ณ โรงเรียนบ้านเขาพระ อ.รัตภูมิ จ.สงขลา12:30-13:00 น. ลงทะเบียน 13:00-13:15 น. กล่าวรายงานโดยตัวแทนจากคณะทำงาน 13:15-13:30 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาพระ 13:30-14:30 น. ชี้แจงข้อมูลและรายละเอียดโครงการ 14:30:15:00 น. เปิดเวทีเสนอความคิดเห็น 15:00-15:15 น. สรุปกิจกรรมทั้งหมด 15:15-15:30 น. ปิดพิธีโดย นายสัน เส็นหล๊ะ

    • คณะทำงานแต่ละคนมีหน้าที่ๆต้องรับผิดชอบอย่างชัดเจนสำหรับกิจกรรมที่จะจัดขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 9 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการดำเนินการโครงการ จำนวน 9 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 310 ธันวาคม 2558
10
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพูดคุย ทบทวนถึงกิจกรรมที่ได้จัดทำขึ้นแล้วว่า มีอะไรบ้าง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมสภาผู้นำ เรื่อง สรุปข้อมูลการสำรวจที่ได้ทำผ่านมา
  • รวบรวมเอกสารข้อมูลที่ได้จัดทำแล้ว
  • ทบทวนรายละเอียดกิจกรรมที่ได้จัดทำแล้ว ได้แก่
    ครั้งที่ 1 จัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้คำแนะนำจากทีมสภาผู้นำชุมชน ต่อเวทีที่คุยกัน ดังนี้

  • สภาผู้นำเล็งเห็นถึงสภาพชุมชนที่เกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจที่อาจจะทำให้คนในชุมชน

ไม่มีความพร้อมที่จะมาเข้าร่วมโครงการได้เต็มที่ ซึ่งอาจจะส่งผลให้กิจกรรมเกิดความล่าช้า ไม่เป็นไปตามแผน

  • สภาผู้นำให้กำลังใจทีมคณะทำงานให้มุ่งหน้าดำเนินโครงการต่อไปอย่างเต็มกำลัง อย่าย่อท้อ
    เพราะมีความเชื่อมั่นในพลังเยาวชนว่าจะสามารถดำเนินโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปได้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำชุมชนที่ได้จัดตั้งขึ้น

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ28 พฤศจิกายน 2558
28
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อนำข้อมูลดิบมาวิเคราะห์ - เพื่อให้เห็นสถานการณ์การการใช้สารเคมีในชุมชนและผลกระทบที่คนในชุมชนได้รับจากการใช้สารเคมี มุมมองของคนในชุมชนเกี่ยวกับความพยายามที่จะผลักดันพื้นที่คลองลำแชงให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เมื่อเยาวชนได้ทำการเก็บข้อมูลเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จากนั้นก็ได้มีการนัดหมายเพื่อมาร่วมกัน วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมมาร่วมกับวิทยากรผู้รู้ โดยเริ่มต้นจากการตั้งโจทย์วิเคราะห์ด้วยการยึด เอาประเด็นตามแบบสอบถาม ดังนี้
    • 1 ผู้ให้ข้อมูลมีจำนวนทั้งหมดกี่คน?
  • อาชีพหลักของผู้ให้ข้อมูลคือ?
  • อาชีพเสริมของผู้ให้ข้อมูลคือ?
    • (ข้อมูลอาชีพเกษตร)
  • เนื้อที่ในการทำเกษตรของผู้ให้ข้อมูลร่วมทั้งหมด ?
  • รูปแบบในการทำเกษตร
    • จำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ทำเกษตรแบบเชิงเดี่ยวมีกี่ราย?
    • จำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ทำอาชีพแบบผสมผสารมีกี่ราย?
    • จำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ทำเกษตรทั้งสองรูปแบบมีกี่ราย?
  • ต้นทุนการผลิต

    • ค่าปุ๋ยรวมทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงินเท่าไรต่อปี? และใช้ตราอะไรบ้าง?
    • ค่ายาปราบศัตรูพืชทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงินเท่าไรต่อปี? และใช้ตราอะไรบ้าง?
    • ค่ายาฆ่าหญ้าทั้งหมดจากผู้ให้ข้อมูลทุกคนคิดเป็นเงินเท่าไรต่อปี? และใช้ตราอะไรบ้าง
    • ค่าอื่นๆมีอะไรบ้าง?
    • รวมต้นทุนการผลิตของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดคิดเป็นเงินเท่าไรต่อปี?
    • 2 ความคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูล
  • สาเหตุสำคัญของการใช้สารเคมี

  • สถานการณ์การได้รับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี  เคยได้รับผลกระทบ? อย่างไร?  ไม่เคยได้รับผลกระทบ
  • มุมมองความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์
  • หากมีลูกหลานของท่าน หรือคนอื่นที่เข้ามาทำการเกษตรในพื้นที่ ท่านจะแนะนำให้ทำเกษตรในรูปแบบใด?

 แนะนำให้ใช้สารเคมีในการเกษตร  แนะนำให้ทำเกษตรอินทรีย์

  • ท่านมีแนวคิดที่จะช่วยกันปกป้องพื้นที่คลองลำแชงสู่ความยั่งยืนได้อย่างไร?
  • มุ่มมองส่วนตัว เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่คลองลำแชงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว  เห็นด้วย? อย่างไร?  ไม่เห็นด้วย? อย่างไร?

  • เมื่อได้มีการกำหนดโจทย์ออกมาเป็นประเด็นๆแล้ว ก็น้ำข้อมูลดิบทีได้ออกมาเพื่อตอบโจทย์ประเด็นดังกล่าวที่ได้กำหนดไว้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล ได้ดังนี้
  1. จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 40 คน • อาชีพหลักของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดคือ เกษตรกร • อาชีพเสริมของผู้ให้ข้อมูล คือ ค้าขาย, ก่อสร้าง, ทำธุรกิจส่วนตัว

(ข้อมูลอาชีพเกษตร)

  • พื้นที่ในการทำเกษตรทั้งหมด 387 ไร่
  • รูปแบบในการทำเกษตร • แบบเชิงเดียวมีจำนวน 11 คน โดนส่วนมากปลูกยางพารา • แบบผสมผสารมีจำนวน 34 คนโดยมีการปลูก ยางพารา เงาะ ทุเรียน ลองกอง จำปาดะมังคุด กล้วยผักเหรียง สละ สัปปะรด ชะอม ข้าวโพด ฯลฯ • จำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ทำเกษตรทั้งสองรูปแบบ 2 คน

• ต้นทุนการผลิต

  1. ค่าปุ๋ย 221,700 บาท/ปี ตรา หัววัวคันไถ, หัวเสือ, ไวกิ้ง, เรือใบ,ไข่มุก, เจริญอินทรีย์, ไข่มุกมังกร, อินทรีย์ มิยาร่า
  2. ค่ายาปราบศัตรูพืช 11,200 บาท/ปี ตรา สิงโต ราวอัพ เสือ คมแฝด
  3. ค่ายาฆ่าหญ้า 12,520 บาท/ปี ตรา มอกโซน ไกลโฟเซต
  4. ค่าอื่นๆ 38,010

รวมค่าใช้จ่าย 283,430 บาท/ปี

• สาเหตุสำคัญของการใช้สารเคมี
เพื่อการกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืช และที่สำคัญคือเป็นสิ่งที่หาซื้อได้ง่าย
มีขายตามท้องตลาดทั่วไป

• สถานการณ์การได้รับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี จำนวนเกษตรกรที่ไม่เคยได้รับผลกระทบจากการใช้สารเคมี 26 คน จำนวนเกษตรกรที่เคยได้รับผลกระทบจากการใช้สารเคมี 14 คน เวลาฝนตกจะเสียหาย พื้นที่อยู่ด้านล่าง ของคนทำเกษตรโดยใช้สารเคมีจึงได้รับผลกระทบไปด้วย กระทบโดยตรงต่อร่างกาย เช่น เกิดผื่นแดง คัน
ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย ทำให้เสียสุขภาพ แพ้ดินบริเวณนา ดินปลูกอะไรไม่ขึ้น แพ้สารเคมี

• มุมมองความคิดเห็นโดยรวมเกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ ผู้ให้ข้อมูลทุกคนมีความคิดเห็นเป็นเสียงเดียวกันว่า เป็นสิ่งทีดี ช่วยประหยัดต้นทุนการผลิต ให้ผลผลิตที่ดี
ช่วยรักษาสภาพดิน ช่วยฟื้นหน้าดินไม่ทำให้ดินเปรี้ยว ทำให้ดินร่วนซุยส่งผลให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี และที่สำคัญคือ ไม่มีผลข้างเคียงทีจะเป็นอันตรายต่อคนและสัตว์ รวมถึงไม่มีสารเคมีตกค้างอยู่ในพื้นดิน

• หากมีลูกหลานของท่าน หรือคนอื่นที่เข้ามาทำการเกษตรในพื้นที่ท่านจะแนะนำให้ทำเกษตรในรูปแบบใด  แนะนำให้ใช้สารเคมีในการเกษตร 5 คน เพราะ ให้ผลลัพธ์ที่รวดเร็วทันใจ  แนะนำให้ทำเกษตรอินทรีย์ 35 คน เพราะ ช่วยให้หน้าดินมีสภาพอุดมสมบูรณ์ ดินไม่เป็นด่าง ช่วยลดต้นทุน ที่สำคัญคือ ปลอดภัย
ทำให้ผู้บริโภคและตัวเกษตรกรเองไม่เสี่ยงต่อการเป็นโรค และยังเป็นรูปแบบการทำเกษตรที่มีความยั่งยืนอีกด้วย

• ท่านมีแนวคิดที่จะช่วยกันปกป้องพื้นที่คลองลำแชงสู่ความยั่งยืนได้อย่างไร ช่วยกันดูแลพื้นที่คลองลำแชงด้วยการอนุรักษ์ต้นไม้และลำคลอง รักษาป่าต้นน้ำ
รณรงค์ให้มีการปลูกต้นไม้และเก็บขยะ ปลูกจิตสำนึกให้ลูกหลานเห็นผลดีของการทำเกษตร
เน้นการทำการเกษตรแบบยั่งยืน ไม่ใช้สารเคมี ช่วยส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
รณรงค์ไม่ให้มีการทำธุรกิจดูดทราย

• มุ่มมองส่วนตัว เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่คลองลำแชงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว  เห็นด้วย 33 คน
เพราะอยากจะให้พื้นที่มีความเจริญ อยากให้มีการพัฒนาโดยปรับภูมิทัศน์ให้สวยงามปรับปรุงพื้นที่ โดยรอบให้เอื้ออำนวยต่อการท่องเที่ยว เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวกเช่น ห้องน้ำ ม้านั่ง เป็นต้น
นอกจากนี้ก็อยากจะให้ช่วยกันดูแลรักษาความสะอาด เพื่อให้คนที่มาเที่ยวได้เห็นธรรมชาติที่สวยงาม อยากให้มีการแนะนำให้ผู้ที่มาเที่ยวกลับไปประชาสัมพันธ์บอกต่อให้พื้นที่คลองลำแชงกลายเป็นสถานที่ๆ มีคนรู้จักมากขึ้นและจะเป็นการสร้างรายได้ให้ชุมชนด้วย  ไม่เห็นด้วย 7 คน เพราะเมื่อไหร่ที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยอะก็จะทำเกิดความวุ่นวาย จะทำให้ขยะเพิ่มขึ้น ทำลายสิ่งแวดล้อมและทำให้พื้นที่เสื่อมโทรมเป็นมลพิษ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 17 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย
  • เยาวชนผู้เก็บรวบรวมข้อมุล
  • วิทยาการผู้มีความรู้ด้านการวิเคราะห์ข้อมุล
  • คณะทีมงานดำเนินโครงการ
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สำรวจและรวบรวมข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน26 ตุลาคม 2558
26
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้สารเคมีของเกษตรกรในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ชี้แจงรายละเอียดแบบสอบถามแต่ละหัวข้อที่ได้เตรียมไว้ให้กับกลุ่มเยาวชนที่จะลงไปเก็บข้อมูลจนเข้าใจอย่างละเอียด
  2. กลุ่มเยาวชนได้แบ่งกลุ่มและแยกย้ายกันลงไปเก็บข้อมูลแต่ละครัวเรือนในพื้นที่ ที่ได้กำหนดไว้
  3. กลุ่มเยาวชนสัมภาษณ์แต่ละครัวเรือน ในประเด็นต่อไปนี้
    • ความทุกข์ที่เกิดจากการใช้สารเคมี
    • สาเหตุสำคัญที่ทำให้ต้องใช้สารเคมี
    • การดำรงชีวิตของแต่ละครัวเรือน
    • ความต้องการและแนวทางการทำการเกษตรแบบอินทรีย์
  4. จัดทำรายงานผลการสำรวจข้อมูล
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนลงได้ลงไปเก็บข้อมูลในพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านคลองลำแชง จำนวน 40 ครัวเรือน โดยมีการพบปะพูดคุยกับคนในชุมชนและสอบถามคำถามในประเด็นต่างๆตามในแบบสอบถามซึงจากกิจกรรมดังกล่าว เยาวชนได้เรียนรู้และฝึกฝนการจดบันทึกข้อมูล การจับประเด็นสำคัญๆ ได้ฝึกเรื่องการทำงานเป็นทีม
  • ได้ข้อมูลดิบเกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์สำหรับการที่จะใช้นำไปวิเคราะห์หาแนวทางและแก้ไขและพัฒนาต่อไป
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 24 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

เยาวชนในพื้นที่ชุมชนจำนวน 24 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

กลุ่มเยาวชนมีเวลาจำกัด ส่วนใหญ่มีเวลาว่างไม่ตรงกับผู้ให้สัมภาษณ์

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานและสภาผู้นำ ครั้งที่ 225 ตุลาคม 2558
25
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกันระหว่างผู้ดำเนินงาน และวางแผนการดำเนินงานของกิจกรรมถัดไปที่จะจัด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ผู้รับผิดชอบโครงการทบทวนแผนการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆที่ได้วางไว้ และร่วมกันออกแบบสอบถามเรื่องการทำเกษตรอินทรีย์บ้านคลองลำแชง ดังนี้
  1. กิจกรรมจัดตั้งสภาผู้นำชุมชน
  2. กิจกรรมสำรวจและรวบรวมข้อมุลการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน
  3. กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมุลที่ได้จากการสำรวจ
  4. กิจกรรม"เวทีสร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชงด้วยการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
  5. กิจกรรมถ่ายทอดความรุ้สู่เรื่องเกษตรภูมิปัญญาและเกษตรอินทรีย์แก่กลุ่มเยาวชน"
  6. กิจกรรมประกวดแปลงผักอินทรีย์ในโรงเรียน
  7. กิจกรรมส่งเสริมการปลุกผักปลอดสารพิษในระดับครัวเรือน
  8. กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศน์อาสา
  9. กิจกรรมสำรวจสถานที่สำคัญในชุมชนเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
  10. กิจกรรมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
  11. กิจกรรมคลองลำแชงชวนเที่ยว
  12. กิจกรรมจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
  13. กิจกรรมคลองลำแชงชวนปั่น
  • วางแผนการดำเนินงานของกิจกรรมถัดไปที่จะจัดขึ้น ซึ่งประกอบด้วยการกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ วัน เวลา ระยะเวลา สถานที่ที่จะจัด กลุ่มเป้าหมายของกิจกรรม โดยให้เยาวชนในพื้นที่หมู่ที่ 6 ต.เขาพระ ลงพื้นที่เก็บข้อมูลของคนในชุมชนจำนวน 100 ครัวเรือน ระหว่างวันที่1-14 พฤศจิกายน
  • ร่วมกันออกแบบและเตรียมข้อมูลที่จะจัดทำแบบสอบถามที่จะต้องใช้ประกอบในการทำกิจกรรม โดยมีรายละเอียดของแบบสอบถามดังนี้

แบบสอบถาม
ข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

• ชื่อ.......... • ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ บ้านเลขที่........... หมู่ 6ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา • เบอร์โทรศัพท์............................. • อาชีพหลักในครอบครัว................. • อาชีพเสริม................................. (หากทำอาชีพเกษตรให้ตอบข้อมูลด้านล้างนี้) • เนื้อที่ในการทำเกษตรร่วมทั้งหมด...........................ไร่ • รูปแบบในการทำเกษตร -  เชิงเดียวปลูก..................................................... -  ผสมผสาร ปลูก.................................................. - ต้นทุนการผลิต 1. ค่าปุ๋ยรวมทั้งหมด.......................บาท/ปี ตรา............ 2. ค่ายาปราบศัตรูพืช.....................บาท/ปี ตรา............. 3. ค่ายาฆ่าหญ้า...........................บาท/ปี ตรา............. 4. ค่าอื่นๆ................................................................ รวม..........................................................บาท/ปี

• สาเหตุสำคัญของการใช้สารเคมี....................................

• ท่านเคยได้รับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี หรือไม่  ไม่เคย  เคย อย่างไร............................................................. • ความคิดเห็นของท่านเกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ ดี หรือไม่ดี อย่างไร? ..................................................................................... • หากมีลูกหลานของท่าน หรือคนอื่นที่เข้ามาทำการเกษตรในพื้นที่ท่านจะแนะนำให้ทำเกษตรในรูปแบบได  ใช้สารเคมีในการเกษตร เพราะ................................................  เกษตรอินทรีย์ เพราะ............................................................

• ท่านมีแนวคิดที่จะช่วยกันปกป้องพื้นที่คลองลแชงสู่ความยั่งยืนได้อย่างไร .......................................................................................

• มุ่มมองส่วนตัว เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่คลองลำแชงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว  เห็นด้วย เพราะ............................................................... - ท่านมีข้อเสนอแนะในด้านไดบ้างที่เกี่ยวกับการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ..................................................................................... • หากท่านไม่เห็นด้วยท่านคิดว่าควนพัฒนาให้ไปในทิศทางไดเพื่อให้สายนำคลองลำแชงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ......................................................................................

ลงชื่อผู้สัมภาษณ์ลงชื่อผู้ให้สัมภาษณ์

............... (..........................)(....................) ว/ด/ป............/........................./..............ว/ด/ป............/........................./..............

หมายเหตุ : แบบสอบถามนี้ไม่มีผลได้ๆต่อผู้ที่ตอผู้ให้สัมภาษณ์ เก็บข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ และนำขอมูลไปพัฒนาต่อในพื้นที่เท่านั้น

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานได้ทบทวนกิจกรรมี่ผ่านมาและกำหนดการ
  • ได้แบบสอบถาม ข้อมูลการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 19 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะทีมทำงานดำเนินโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครั้งที่ 1 จัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและคณะกรรมการดำเนินการโครงการ20 ตุลาคม 2558
20
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกันระหว่างผู้ดำเนินงาน และวางแผนการดำเนินงานของกิจกรรมถัดไปที่จะจัด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะทำงานชี้เเจ้งเเละทำความเข้าใจให้ผู้เข้าร่วม เข้าใจลักษณะของโครงการความเป็นมา
    วัตถุประสงค์ เเละรายละเอียดกิจกรรมภาพรวมทั้งโครงการ และจัดตั้งสภาผู้นำชุมชน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้สภาผู้นำชุมชน จำนวน 15 คน ดังนี้
  1. ประธาน 1 คน คือ นายดะนัน ดูหมาด
  2. รองประธาน 1 คน (นายอภินันท์ หมัดหลี)
  3. เลขานุการ 1 คน (นางสาวมารีน่า กรมเมือง)
  4. คณะกรรมการ 12 คน คือ ผู้ร่วมประชุมทั้งหมดที่เหลือ
  • ได้มีการจัดตั้งเงื่อนไข ของสภาชุมชนว่า จะต้องมีการประชุมปรึกษาหารือกัน
    ทุกวันที่ 10 ของเเต่ละเดือน หรือเมื่อมีกิจกรรมเร่งด่วน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มแกนนำ ผู้นำ ในชุมชน จำนวน 25 คน ซึ่งจะประกอบด้วย

  • ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน
  • คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน
  • ผู้นำชุมชน 7 คน
  • แกนนำเยาวชน 2 คน
  • ศูนย์การเรียนรู้ครูภูมิปัญญาไทยเกษตรธาตุ 4 จำนวน 10 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการ5 ตุลาคม 2558
5
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย เกษตรภูมิปัญญา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อทำความเข้าใจกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ผู้รับผิดชอบโครงการทำความเข้าใจกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้

    การทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส.ม.อ. พี่เลี้ยง และผู้รับผิดชอบโครงการการบริหารจัดการโครงการ
    การรายงานผลผ่านเวบไซต์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการ
    การสังเคราะห์ผลของโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การเข้าใช้งานระบบเวบไซต์คนใต้สร้าง
    happynetwork.org ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอีดยโครงการ ลงในเวบไซต์ประกอบด้วย

• รายละเอียดโครงการ (วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม และงบประมาณ)
• แผนภาพเชิงระบบโครงการ
• กำหนดปฏิทินการดำเนินงานใน 1 ปี
• รายงานผู้รับผิดชอบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการจัดอบรม ทำให้ได้เรียนรู้การทำโครงการชุมชนน่าอยู่ ได้รู้เรื่องการสรุปผลการทำกิจกรรม การวางแผนปฏิทินกิจกรรม การทำเอกสารการเงินให้ถูกต้อง
  • ได้ลงปฏิทินแผนการดำเนินงานได้เสร็จในโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานในโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายอะหมัด หลีขาหรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการ5 ตุลาคม 2558
5
ตุลาคม 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย นายอะหมัด หลีขาหรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อทำความเข้าใจกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการทำความเข้าใจกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส.ม.อ. พี่เลี้ยง และผู้รับผิดชอบโครงการ  การบริหารจัดการโครงการ การรายงานผลผ่านเวบไซต์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการ การสังเคราะห์ผลของโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การเข้าใช้งานระบบเวบไซต์คนใต้สร้าง www.happynetwork.org ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอีดยโครงการ ลงในเวบไซต์  ประกอบด้วย • รายละเอียดโครงการ (วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม และงบประมาณ) • แผนภาพเชิงระบบโครงการ • กำหนดปฏิทินการดำเนินงานใน 1 ปี • รายงานผู้รับผิดชอบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส.ม.อ. พี่เลี้ยง และผู้รับผิดชอบโครงการ  การบริหารจัดการโครงการ การรายงานผลผ่านเวบไซต์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการ การสังเคราะห์ผลของโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การเข้าใช้งานระบบเวบไซต์คนใต้สร้าง www.happynetwork.org ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอีดยโครงการ ลงในเวบไซต์  ประกอบด้วย • รายละเอียดโครงการ (วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม และงบประมาณ) • แผนภาพเชิงระบบโครงการ • กำหนดปฏิทินการดำเนินงานใน 1 ปี • รายงานผู้รับผิดชอบ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-