directions_run

ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีเศรษฐกิจครัวเรือนดีขึ้นด้วยวิถีการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครัวเรือนที่ปรับเปลี่ยนจากการทำสวยยาง สวนปาล์ม มาทำนาอินทรีย์ชีวภาพ ไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน 2. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้เฉลี่ยนก่อนเข้าร่วมโครงการ(ประมาณ 3,000 บาทต่อเดือนต่อครัวเรือน) 3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์

 

 

  • เกิดศูนย์การเรียนรู้ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว 1 แห่ง
2 เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนจำนวนสมาชิกสภาผู้นำที่มาจากกรรมการหมู่บ้าน และสมาชิก อบต. และตัวแทนชาวนา ร้อยละ 80 2. จำนวนหลักสูตรการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการถ่ายทอดความรู้ไม่น้อยกว่า 3 หลักสูตร 3. จำนวนครัวเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ปรับพฤติกรรมโดยใช้สารเคมมีในการเกษตร (ประเมินโดยการสังเกตโดยคณะทำงานโครงการ ร่วมกับการสำรวจปริมาณการขายสารเคมีเพื่อการเกษตรของร้านค้าในชุมชน)

 

 

  • มีสมาชิกเข้าร่วมทำกิจกรรม ร้อยละ 100
  • เกิดศูนย์เรียนรู้ที่เกิดขึ้นมีประชาชนมาร่วมกันพัฒนามากกว่า 40 คน ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและมีหลักสูตรการเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจร ประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในแปลงนาของตนเอง และเยาวชนสามารถเรียนรู้ได้จากแปลงนาสาธิตทำให้กระบวนการผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ได้รับการสืบทอด
3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อนในชุมชนให้เอื้อต่อการส่ง้สริมการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูปข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ
ตัวชี้วัด : 1. เกิดพื้นที่การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์รวมของชุมชนเพื่อใช้เป็ยฐานในการสร้างธนาคารเมล็ดพันธุ์และการส่งเสริมการบริโภค ไม่น้อยกว่า 10 ไร่ 2. มีการจัดตลาดนัดชุมชนเพื่อการจำหน่ายผลผลิตและผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากข้าวสังข์ยหดอินทรีย์ อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง 3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์

 

 

  • เกิดการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์
  • เกิดการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์
  • มีการบริหารจัดการตลาดกลางข้าวอินทรีย์
4 เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดสภาผู้นำร่วม 3 ฝ่ายประกอบด้วยภาครัฐภาคท้องถิ่น และตัวแทนจากหมู่บ้าน ในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ตลาดกลาง และพื้นที่สาธารณะเพื่อการผลิตเมล็ดพันธ์ 2. เกิดข้อตกลงร่วมภายในหมู่บ้านเกี่ยวกับการร่วมกลุ่มการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ

 

 

  • ได้ข้อตกลงร่วมกัน ได้แนวทางการบริหารการจัดการศูนย์เรียนรู้ซึ่งจะทำให้ชุมชนเข้มแข็งมากขึ้น
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

  • เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.ม.อ.และ สสส.จำนวน 5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
  • มีป้ายประชาสัมพันธ์ สสส.จำนวน 2 ป้าย
  • มีรูปภาพประกอบการจัดทำรายงานร้อยละ 70