แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้และเป็นคณะทำงานการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 1.1 ชุมชนมีความรู้และสามารถจัดการขยะ ได้ 1.2 เกิดกลไกการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้าน, ตัวแทนกลุ่ม/องค์กร และผู้แทนอปท.ร่วมออกแบบ วางแผน 1.3 เกิดครัวเรือนสมัครเป็นครัวเรือนต้นแบบขอคืนถัง 80 ครัว
4.00 4.00

-เกิดคณะทำงานแต่ละภาคส่วนร่วมจัดการขยะด้วยวิธีที่แตกต่างกัน เช่น รพสต ฝึกสอน อสม.ให้เป็นครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะก่อนลงพื้นที่แนะนำชุมชน  ทางโรงเรียนวัดเขาแดง ส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยมีธานาคารขยะรองรับ วัดเขาแดงจัดการขยะโดยมีพระนักเทศน์ขยายผลการเทศน์ให้ความรู้การคัดแยกขยะ การใช้ประโยชน์จากขยะ และวัดทำให้ดูเป็นตัวอย่าง นำขยะอินทรีย์ไปไส่สวนปาล์ม

ชุมชนมีความรู้ มีการคัดแยกในครัวเรือน และมีการใช้ประโยชน์จากขยะ

คณะกรรมการแต่ละภาคส่วนดำเนินการจัดการขยะแบมีส่วนร่วม โดยการคัดแยกก่อนทิ้ง เช่น วัดเขาแดงออกนำขยะอินทรีย์ ไปทิ้งในสวนปาล์ม เดิมที่เป็นใบไม้จะเผามีปัญหาถูกชาวบ้านร้องเรียน

2 เพื่อให้คณะทำงานเป็นกลไกของชุมชนขับเคลื่อนการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 2.1 มีข้อตกลงการจัดการขยะที่ชัดเจน -ประชุมเดือนละครั้งครั้ง -มีข้อมูลปริมาณขยะ/จำนวนถังในชุมชน -คร.สมัครใจเข้าร่วมคัดแยกขยะคืนถังขยะ -มีแผนปฏิบัติงานชัดเจนเพื่อคืนถังขยะหน้าบ้าน -เกิดธนาคารความดีสร้างแรงจูงใจขอค้นถัง 2.2. เกิดแผนการจัดการขยะและแผนการคืนถัง
4.00 21.00
  • ข้อตกลง ครัวเรือนคัดแยก 4 ประเภท
  • นำขยะมาประชุม ธนาคารความดีจะให้คะแนนแลกสวัสดิการ
  • ประชุมเดือนละครั้งเพื่อติดตามความก้าวหน้า
  • สวนปาล์มเป็นที่ทิ้งขยะอินทรีย์ของวัดเขาแดง
  • ครัวเรือนใช้ถังรักษ์โลก กำจัดขยะอินทรีย์
  • เกิดแผนที่ขยะที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน
  • ขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป ขยะขายได้ ขยะอันตราย
  • นำขยะมาประชุมได้ คะแนน คูน 2
  • ชุมชนแบ่ง 6 กลุ่ม ผู้ดูแลรายงานความก้าวหน้าเดือนละครั้ง
  • ขยะอินทรีย์ในวัด เดิมเผา ได้รับการร้องเรียนมลพิษ ปัจจุบันนำไปทิ้งในสวนปาล์ม
  • ขยะอินทรีย์ใส่ถังรักษ์โลก อาหารสัตว์ ผลิตปุ๋ย
  • มีแผนที่ขยะทำให้รู้ทางเดินของขยะ

คณะทำงานจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมมาจากหลายภาคส่วน ได้แก่ เจ้าอาวาสวัดเขาแดงออก รพสต โรงเรียนวัดเขาแดง แกนนำชุมชน ทั้งหมดถูกคัดเลือกมาเป็นคณะทำงาน เพราะมีทุนเดิมในการจัดการขยะ คณะทำงานมีเป้าหมายลดขยะและชุมชนคืนถังขยะโดยใช้ธานาคารความดีเป็นเครื่องมือ

3 เพื่อให้คณะทำงานมีระบบการติดตามประเมินและสร้างแรงจูงใจสู่การคืนถังขยะของชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.1คณะทำงานใช้การประชุมติดตาม แผนทุกเดือน 3.2 มีการเก็บข้อมูลและสะท้อนข้อมูลทุก 3 เดือน 3.3 ธนาคารความดีใช้ตัวชี้วัดความดี ขับเคลื่อนคืนถังขยะ
4.00 4.00

-คณะทำงานจากรพสต ให้อสม เป็นต้นแบบคัดแยกและติดตาม

-มีการชั่งขยะรวมของชุมชน 9 ตันต่อเดือนก่อนดำเนินโครงการ -สิ้สุดโครงการ

-อสม.เป็นต้นแบบ 52 คนคัดแยก ก่อนไปแนะนำครัวเรือนในเขตรับผิดชอบ ทำให้เกิดไข้เลือดออก 2 รายน้อยกว่าปี 2561
-ขยะรวมของตำบลลดลงจาก 9 ตันเหลือ 6.8 ตัน

กระบวนการติดตาม -ใบเสร็จแสดงปริมาณขยะรวมแต่ละเดือนและจำนวนถังที่นำมาคืน -ใช้คะแนนความดี 4 ด้าน ที่ฝากสะสมไว้มาแลกเป็นสวัสดิการ