task_alt

อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ชุมชน จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 61-01856 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤศจิกายน 2561 ถึงเดือน มิถุนายน 2562

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 1

วันที่ 9 มกราคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ
  2. เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 17 คน
  3. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง
  4. ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. หัวหน้าโครงการ กำนัน รายงานผลการอนุมัติโครงการ และแจ้งการร่วมลงนามในสัญญาโครงการ
  2. รองประธาน นายประพิศ ศรีนอง และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และร่วมแลกเปลี่ยนหาแนวทางในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและภาคีความร่วมมือที่เข้าร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน คือ โรงเรียนวัดนาโอ๋ เทศบาลตำบลร่มเมือง รพ.สต.บ้านหูแร ส่วนของฝายท้องที่
  3. พี่เลี้ยงแนะนำหน่วยจัดการ โครงการ และ แนะนำสสส. และแนวทางความร่วมมือในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. สรุปแนวทางและกำหนดแผนการดำเนินงาน

 

30 0

2. เวทีทำความเข้าใจโครงการ

วันที่ 23 มกราคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เวที่“ร่วมอนุรักษ์คลองนาโอ  ดูแลสายน้ำ  รักษาป่าไม้  ฟื้นฟูระบบนิเวศ คืนสู่ธรรมชาติ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง” ณ สวนป่านาโอ่ มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 142 คน จากภาคส่วนดังนี้ 1.ฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง 2.เทศบาลตำบลร่มเมือง 3.โรงเรียนวัดนาโอ่ ปิปผลิกประชาสรรค์  4.ชมรมผู้สูงอายุบ้านโหล๊ะพันหงส์  5.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ 6.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ 7.วัดนาโอ่ 8.ประชาชนตำบลร่มเมือง และมีภาคีภายนอกตำบล คือ 1.นายสมคิด ทองสง 2.เจ้าหน้าที่ป่าไม้จังหวัดพัทลุง โดยมีจัดกิจกรรมเปิดเวที่เสวนาเรื่อง "สายน้ำมีชีวิต" ที่นำบุคคลสำคัญที่จะร่วมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนและขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการครั้งนี้โดยมี นายประพิศ ศรีนอง รองนายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง เป็นผู้นำเสวนา ร่วมด้วย นายสมคิด ทองสง ภาคีขับเคลื่อนลุ่มน้ำจังหวัดพัทลุง , นายประพาส แก้วจำรัส กำนันตำบลร่มเมือง , นายสมพงษ์  ดอนเพ็งจันทร์ นายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง , นายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ตัวแทนคณะกรรมลุ่มน้ำคลองนาท่อม ,และตัวแทนเจ้าหน้าที่ป่าไม้จังหวัดพัทลุง คือ นางสาวนลิน บุญชูศรี และมีการเสริมกิจกรรมที่เป็นศิริมงคลของโครงการ คือ การจัดบวชป่าให้กับต้นไม้ในสวนป่านาโอ่ ซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ของพันธุ์ไม้และพืชสมุนไพร และเป็นส่วนหนึ่งของอาณาเขตคลองนาโอ่ ทำให้ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้มีเรียนรู้ เห็นความสำคัญของสายน้ำ ป่าไม้ วิถีชีวิต ที่เชื่อมร้อยกันมายาวนานจากอดีต ถึงปัจจุบัน และได้เห็นถึงความสามัคคีของเหล่าผู้นำที่มีแนวคิดการพัฒนาร่วมกันในการดูแลรักษาให้สายน้ำ ต้นไม้ และวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนในตำบลร่มเมืองมีความสุขตามแบบความพอเพียงของพื้นที่ ประเด็นสำคัญ คือ การเห็นร่วมจากชุมชน ประชาชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศน์คลองนาโอ่ที่เป็นสายเลือดที่หล่อเลี้ยงประชาชน คนตำบลร่มเมือง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมคณะผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ และคณะกรรมการกลุ่มอนุรักษ์พัฒนาคลองวัดโอ่ เพื่อสร้างความเข้าใจ แนวทางการทำงานโครงการและการขับเคลื่อนกิจกรรมร่วมกันทุกภาคส่วน
  2. ประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มผู้นำชุมชน องค์กร กลุ่ม ชมรม ในตำบลร่มเมือง
  3. ประชุมชาวบ้านสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม ทั้ง 9 หมู่บ้านเพื่อให้มีการกำหนดภาพอนาคตเป้าหมายเป็นภาพเดียวกัน คือ คลองนาโอ่กลับมามีชีวิตอย่างยั่งยืน
  4. กำหนดบทบาทความรับผิดชอบในการจัดเวที 5.เตรียมสถานที่ ประสานผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ

 

100 0

3. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่2

วันที่ 23 มกราคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานโดยหัวหน้าผู้รับผิดชอบโครงการชื่นชมความร่วมมือของทีมทำงานฝ่ายปกครอง เทศบาล และการเข้าร่วมของชุมชนที่เห็นชัดที่นำเอาอาหารปิ่นโตมาร่วมกิจกรรมเสริมจากอาหารที่จัดเลี้ยง
    2.คณะทำงานโดยหัวหน้าผู้รับผิดชอบโครงและคณะทีมทำงานเห็นถึงอุปสรรคในการแบ่งงานที่ยังต้องเสริมกำลังคนเข้ามาช่วยขับเคลื่อนกิจกรรม
  2. เห็นถึงกลไกคณะทำงานแต่ละหมู่บ้านได้สร้างความเข้าใจและชวนชาวบ้านเข้าร่วมโครงการ
    4.มีการรายงานการเบิกจ่ายเงินตามแผนการดำเนินกิจกรรมที่ 1 เวทีสร้างความเข้าใจฯ ตามมติของคณะทำงาน
  3. ดำเนินการแบ่งปันความรับผิดชอบของกิจกรรมปล่อยปลาครั้งที่ 1 ในวันพรุ่งนี้ โดยประเมินสถานการณ์  ได้รับความตอบรับและมีการยืนยันชาวบ้านและภาคีเข้าร่วมในกิจกรรมในเวทีสร้างความเข้าใจ  และได้ทบทวนหน้าที่และสิ่งที่เตรียมของแต่ละทีมงาน ทุกส่วนได้มีการดำเนินการและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี พร้อมที่จะทำกิจกรรมปล่อยปลาครั้งที่ 1 เพื่อเกิดความสมบูรณ์ของสายน้ำ และเป็นตัวชี้วัดคุณภาพน้ำ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. หัวหน้าโครงการและตัวแทนรับผิดชอบรายงานกิจกรรมความก้าวหน้าของการดำเนินงานในเวทีสร้างตวามเข้าใจ ประสานงานเตรียมกิจกรรม
  2. แลกเปลี่ยนสถานการณ์และแนวทางการดำเนินงานในการสร้างรู้และความตระหนักในการอนุรักษ์คลองนาโอ
  3. ร่วมกันทบทวนและกำหนดแผนการทำงานครั้งถัดไป

 

30 0

4. ปล่อยพันธ์ุปลา ครั้งที่1

วันที่ 24 มกราคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรมในวันนี้ มีจำนวนประชาชนจากหลายภาคส่วนเข้าร่วม โดยมีจำนวน 175 คน จากกลุ่มองค์กรในชุมชน ได้แก่ ชมรม อสม.บ้านหูแร่ , ชมรม อสม.บ้านลำ ,ครูนักเรียนโรงเรียนวัดนาโอ่(ปิปผลิกประชาสรรค์) ,คณะผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลร่มเมือง ,คณะกรรมการกองทุนสวัสดิการตำบลร่มเมือง ,ชมรมผู้สูงอายุ ม.1 บ้านโหลีะพันหงส์  ส่วนที่ 2 กลุ่มบุคคลสำคัญในชุมชน ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ  ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ท่านอดีตนายกเทศมนตรีตำบลร่มเมืองคือนายสมบูรณ์  บุญวิสูตร  ท่านอาจารย์ห่วง  ฤทธิช่วย ซึ่งเป็นอตีตผู้อำนวยการโรงเรียน โดยเป็นบุคคลที่เคารพของชุมชน และอีกท่านคือ ท่านอาจารย์แปลก พัชรดำรงกุล ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญยิ่่งที่ได้ริเริ่มในการดูแลสวนป่านาโอ่ให้ดำรงความอุดมสมบูรณ์ไว้มาจนถึงทุกวันนี้ และถือเป็นปราชญ์คนสำคัญของตำบลร่มเมือง ซึ่งการปล่อยพันธุ์ปลาครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานประมงจังหวัดพัทลุง จำนวน 20,000 ตัว ได้แก่ พันธุ์ปลาตะเพียนขาว จำนวน 5,000 ตัว  พันธุ์ปลาตะเพียนทอง จำนวน 5,000 ตัว  พันธุ์ปลานวลจันทร์เทศ จำนวน 5,000 ตัว  พันธุ์ปลาหมอ จำนวน 5,000 ตัว ลงในคลองนาโอ่ จำนวน 3 จุด ได้แก่ 1.บริเวณสวนป่านาโอ่  2.บริเวณสะพานวัดกลาง  3.บริเวณสะพานคตคอนกรีต โดยมีการกระจายพันธุ์ปลาออกไปตามพิกัดดังกล่าวของทีมฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง โดยก่อนให้ประชาชนปล่อยพันธุ์ปลา ได้มีการให้ความรู้ความสำคัญของสัตว์น้ำที่อาศัยในคลอง เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลคุณภาพน้ำที่อยู่ในลำคลองนาโอ่ให้มีความสะอาด ไม่มีขยะ ไม่ปล่อยสารเคมี หรือใช้สารเคมีบริเวณที่ดินหัวสวนเพื่อป้องกันการซึมผ่านชั้นดินสู่คลอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดหาแหล่งพันธุ์ปลาพร้อมขอความอนุเคราะห์พันธุ์ปลา
  2. กำหนดจุดปล่อยพันธุ์ปลาให้มีความสมดุล
  3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนชาวบ้านและประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมปล่อยปลา
  4. ดำเนินการปล่อยพันธ์ปลาลงสู่คลอง

 

150 0

5. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 3

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ
  2. เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 17 คน
  3. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง
  4. ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. หัวหน้าโครงการ กำนัน รายงานผลการอนุมัติโครงการ และแจ้งการร่วมลงนามในสัญญาโครงการ
  2. รองประธาน นายประพิศ ศรีนอง และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และร่วมแลกเปลี่ยนหาแนวทางในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและภาคีความร่วมมือที่เข้าร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน คือ โรงเรียนวัดนาโอ๋ เทศบาลตำบลร่มเมือง รพ.สต.บ้านหูแร ส่วนของฝายท้องที่
  3. พี่เลี้ยงแนะนำหน่วยจัดการ โครงการ และ แนะนำสสส. และแนวทางความร่วมมือในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. สรุปแนวทางและกำหนดแผนการดำเนินงาน

 

30 0

6. ศึกษาดูงานการจัดการและอนุรักษ์คลอง

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานได้จัดการเรียนรู้การจัดการน้ำพื้นที่จัดการฝาย ณ เหมืองตะกั่ว อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง โดยมีจำนวนผู้เข่าร่วมเรียนรู้การจัดการน้ำโดยใช้ฝายมีชีวิต 62 คน เกินเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้ ซึ่งผู้ร่วมเรียนรู้ในครั้งนี้ ได้แก่ 1.ฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง นำทีมโดยกำนันตำบลร่มเมือง นายประพาส แก้วจำรัส พร้อมด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านอีก 8 หมู่บ้าน 2.เทศบาลตำบลร่มเมือง โดยท่านรองนายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง นายประพิศ ศรีนอง ซึ่งดูแลงานสิ่งแวดล้อมของเทศบาลตำบลร่มเมืองพร้อมด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ 3.โรงเรียนวัดนาโอ่(ปิปผลิกประชาสรรค์) นายจินดา แสงขาว ผู้อำนวยการโรงเรียน พร้อมด้วยนักเรียน 4.ปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน นายล่อง ส่งเพชร โดยได้เรียนรู้ปัญหาเริ่มต้นของระบบน้ำในคลองเหมืองตะกั่ว จนก่อเกิดการรวมกลุ่มของชาวบ้าน คุณครูในพื้นที่ นำแนวทางการให้ในคลองเหมืองตะกั่วได้มีน้ำไหลผ่านตลอดปี จนนำเอาแนวทางการสร้างฝายชะลอน้ำเล็กๆบนภูเขามาประยุกต์และจากการเห็นพื้นที่ในจังหวัดอื่นๆ ได้แก่ ยะลา จนสามารถร่วมกันสร้างฝายได้เป็นรูปร่างจนเป็นรูปธรรมในปัจจุบัน ซึ่งสิ่งที่เหมืองตะกั่วกล่าวไว้คือ การสร้างฝายมีชีวิตมากกว่าตัวฝายคือการเห็นถึงการรวมตัวของชาวบ้านในการร่วมแรง ร่วมใจคนละม้ายคนละมือจนทำให้กลุ่มผู้นำในชุมชนต้องเห็นความสำคัญ ตลอดจนการเข้ามาให้การสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐภายนอก ทำให้ทีมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโครงการครั้งนี้ได้เข้าใจถึงรายละเอียดด้านโครงสร้างฝาย และสำคัญคือกระบวนการสร้างคนในระหว่างการจะดำเนินการสร้างฝายให้สำเร็จ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. คณะทำงานโครงการประชุมกำหนดสถานที่ วันเวลา และกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาดูงาน
  2. ประสานสถานที่แหล่งเรียนรู้การจัดการและอนุรักษ์คลอง ณ ฝายมีชีวิตเหมืองตะกั่ว ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
  3. จัดทำเอกสารแจ้งกำหนดการในการเดินทางไปศึกษาเรียนรู้การจัดการและอนุรักษ์คลองให้กับกลุ่มเป้าหมาย
  4. เดินทางไปศึกษาเรียนรู้การจัดการและอนุรักษ์คลอง 5.ประชุมสรุปถอดบทเรียนการไปเรียนรู้การศึกษาการจัดการและอนุรักษ์คลอง

 

50 0

7. เวทีคืนข้อมูลคลองนาโอ่

วันที่ 8 มีนาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เวทีคืนข้อมูลคลองนาโอ่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เวทีคืนข้อมูลคลองนาโอ่

 

100 0

8. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 4

วันที่ 8 มีนาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ
  2. เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 17 คน
  3. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง
  4. ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. หัวหน้าโครงการ กำนัน รายงานผลการอนุมัติโครงการ และแจ้งการร่วมลงนามในสัญญาโครงการ
  2. รองประธาน นายประพิศ ศรีนอง และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และร่วมแลกเปลี่ยนหาแนวทางในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและภาคีความร่วมมือที่เข้าร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน คือ โรงเรียนวัดนาโอ๋ เทศบาลตำบลร่มเมือง รพ.สต.บ้านหูแร ส่วนของฝายท้องที่
  3. พี่เลี้ยงแนะนำหน่วยจัดการ โครงการ และ แนะนำสสส. และแนวทางความร่วมมือในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. สรุปแนวทางและกำหนดแผนการดำเนินงาน

 

30 0

9. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 2

วันที่ 15 มีนาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง  ลักษณะ กายภาพสภาพอากาศมือครึ้ม  กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้  น้ำไม่มีสีและใส ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๕ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์พอใช้ ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๙ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๑.๑ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๑.๐ เมตร
    ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๑.๑ + ๑.๐ =  ๑.๐๕ เมตร ๒
  2. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน  น้ำไม่มีสีและใส ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗.๑ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๘ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๕ ค่าความโปร่งแสง ๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๑.๔ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๑.๐ เมตร
    ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๑.๔ + ๑.๐ =  ๑.๒ เมตร ๒
  3. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
    ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลเอื่อย มีขยะในน้ำเล็กน้อย บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชน  น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๕.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์พอใช้ ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๗ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐


    ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๑.๐ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๘ เมตร
    ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๑.๐ + ๐.๘ =  ๐.๙ เมตร ๒

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

15 0

10. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 3

วันที่ 20 มีนาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ น้ำตกหลุมพอ หมู่ที่ ๓ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้  น้ำไม่มี สีและใส ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๓ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์แย่ ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๙ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  - เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น - เมตร
หมายเหตุ  ลำคลองน้ำตื้นเขิน

๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน  น้ำไม่มีสีและใส ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๒ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์แย่ ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๘ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๕ ค่าความโปร่งแสง ๑) ระยะที่มองไม่เห็น  - เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น - เมตร
หมายเหตุ  ลำคลองน้ำตื้นเขิน
๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง มีขยะในน้ำเล็กน้อย บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชน  น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๓.๒ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์พอใช้ ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๓๐ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  - เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น - เมตร
หมายเหตุ  ลำคลองน้ำตื้นเขิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

15 0

11. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 4

วันที่ 30 มีนาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๖.๑ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๓๐ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๙ เมตร     (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๘ เมตร
      ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)                                         ๒             = ๐.๙ + ๐.๘ = ๐.๘๕ เมตร                         ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๘ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๗๕ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)                                 ๒ = ๐.๗๕ + ๐.๖๐ = ๐.๖๗๕ เมตร                 ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๘ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)                                 ๒ = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕ เมตร             ๒

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

15 0

12. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 5

วันที่ 8 เมษายน 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ
  2. เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 17 คน
  3. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง
  4. ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. หัวหน้าโครงการ กำนัน รายงานผลการอนุมัติโครงการ และแจ้งการร่วมลงนามในสัญญาโครงการ
  2. รองประธาน นายประพิศ ศรีนอง และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และร่วมแลกเปลี่ยนหาแนวทางในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและภาคีความร่วมมือที่เข้าร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน คือ โรงเรียนวัดนาโอ๋ เทศบาลตำบลร่มเมือง รพ.สต.บ้านหูแร ส่วนของฝายท้องที่
  3. พี่เลี้ยงแนะนำหน่วยจัดการ โครงการ และ แนะนำสสส. และแนวทางความร่วมมือในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. สรุปแนวทางและกำหนดแผนการดำเนินงาน

 

30 0

13. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 1

วันที่ 12 เมษายน 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้  น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๖.๑ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๕ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๙ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๘ เมตร
ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๐.๙ + ๐.๘ =  ๐.๘๕ เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน  น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๗๕ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๐.๗๕ + ๐.๖๐ =  ๐.๖๗๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๘ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๐.๘ + ๐.๗ =  ๐.๗๕ เมตร ๒

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

 

15 0

14. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 5

วันที่ 15 เมษายน 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๖.๑ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๘ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๕ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๙ เมตร     (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๘ เมตร
      ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)                   ๒             = ๐.๙ + ๐.๘ = ๐.๘๕ เมตร               ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๗๕ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)     ๒ = ๐.๗๕ + ๐.๖๐ = ๐.๖๗๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๘ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)     ๒ = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕ เมตร ๒

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

15 0

15. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 6

วันที่ 30 เมษายน 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้  น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๖.๑ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๕ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๙ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๘ เมตร
ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๐.๙ + ๐.๘ =  ๐.๘๕ เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน  น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๗๕ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๐.๗๕ + ๐.๖๐ =  ๐.๖๗๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

15 0

16. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 6

วันที่ 8 พฤษภาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ
  2. เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 17 คน
  3. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง
  4. ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. หัวหน้าโครงการ กำนัน รายงานผลการอนุมัติโครงการ และแจ้งการร่วมลงนามในสัญญาโครงการ
  2. รองประธาน นายประพิศ ศรีนอง และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และร่วมแลกเปลี่ยนหาแนวทางในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและภาคีความร่วมมือที่เข้าร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน คือ โรงเรียนวัดนาโอ๋ เทศบาลตำบลร่มเมือง รพ.สต.บ้านหูแร ส่วนของฝายท้องที่
  3. พี่เลี้ยงแนะนำหน่วยจัดการ โครงการ และ แนะนำสสส. และแนวทางความร่วมมือในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. สรุปแนวทางและกำหนดแผนการดำเนินงาน

 

30 0

17. ทำฝายมีชีวิต และท่าน้ำ

วันที่ 14 พฤษภาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การดำเนินการเริ่มต้นในพื้นที่ ม.1 บ้านโหล๊ะพันหงส์ เมื่อวันที่ 13 พฤาภาคม 2562 โดยมีการจำลองรูปแบบฝายเพื่อสร้างความเข้าใจส่วนประกอบของการทำฝายและกำหนดกลุ่มทีมนำในการสร้างโครงสร้างฝายเพื่อให้เกิดทักษะทีดีในการทำงาน โดยได้มีคุณลุงที่เป็นปราชญ์ในชุมชนเป็นผู้สอนให้เรียนรู้ผ่านรูปแบบโมเดล
วันที่ 14 พฤษภาคม 2562 เป็นวันที่กำหนดลงปฏิบัติสร้างโครงสร้างโดยมีการทีมโครงสร้างที่เรียนรู้และมีทีมเสริมจากเทศบาลบาลตำบลร่มเมืองโดยเน้นผู้ชายเป็นกำลังงาน และมีภาคีจากภายนอกเข้ามาร่วมให้กำลังใจจากนายอำเภอเมืองพัทลุง
วันที่ 21 พฤษภาคม 2562เป็นต้นมา จึงมีการร่วมมือของประชาชนในตำบล ชมรมผู้สูงอายุ ม.1 บ้านโหล๊ะพันหงส์ อสม.ทั้งส่วนของ รพ.สต.บ้านลำ รพ.สต.บ้านหูแร่ โรงเรียนวัดนาโอ่ ปิปผลิกประชาสรรค์ โรงเรียนวัดกลาง จิตอาสาตำบลร่มเมือง ชุมชนเครือข่ายลุ่มน้ำนาท่อม โรงเรียนประภัสสร หน่วยทหารค่ายอภัยบริรักษ์ โรงเรียนพลเมือง วิทยาลัยภูมิปัญญา ได้เข้ามาช่วยในการใส่ทรายในกระสอบ นำกระสอบทรายลงสู่ตัวฝาย ขนาดความกว้างของฝาย 10 เมตร ยาว 16 เมตร
วันที่ 3 มิถุนายน 2562 ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง ท่านวันชัย สุขเกษม ได้เข้ามาเยี่ยมเยือนให้กำลังใจในการทำงานพร้อมรับฟังเรื่องราวการขับเคลื่อนและการคิดริเริ่มในการจัดทำโครงการ และมีการหนุนเสริมการทำงานจากภาคเอกชน ได้แก่ ร้านประดับยนต์ฮกเซ้ง หน่วยงาน ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรจังหวัดพัทลุง กลุ่มสหกร์เครดิตยูเนี่ยนบ้านทุ่งเลียบ บริษัทหาดทิพย์ จำกัด ในการสนับสนุนน้ำดื่ม จากประชาชนในตำบล ได้แก่ ป้าหนอม ยายเยื้อน พี่คลาย ป้าเอียด ป้าฉี ในการนำอาหารว่าง ผลไม้ และการรับบริจาคกระสอบสำหรับใส่ทรายจากชาวบ้านในตำบล กลุ่มผู้เลี้ยงสุกร ไก่ ในชุมชน คือ พี่เจี๊ยบ ม.6 พี่ไพรัช ม.2 และจากกลุ่มเลี้ยงหมูภายนอกพื้นที่ โดยขณะนี้ก็ได้ดำเนินการสร้างฝายมาเป็นเวลา 5 วัน
วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ทีมคณะทำงานร่วมด้วยฝ่ายปกครอง ผู้นำท้องถิ่นนำโดยรองนายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง พนักงานเทศบาล ประชาชน ผู้สูงอายุ อสม.และนักเรียนจากโรงเรียพัทลุงพิทยาคมพร้อมคณะครู โดยมีการสนับสนุนอาหารจากชาวบ้านในการนำมาประอาหาร เช่น ผัก ผลไม้ ฯลฯ และการสนับสนุนภายนอก เช่น บริษัทเบทาโกร สนับสนุนเนื้อไก่มาใช้ประกอบอาหาร ผู้ประกอบการเลี้ยงหมู ฟาร์มจรรยาได้จัดแบ่งเนื้อหมูมาใช้ในการจัดทำอาหาร ซึ่งความร่วมมือในการประอบอาหารก็จะได้รับการร่วมมือจากประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะกลุ่มสูงอายุที่่บอกว่าตนเองคงช่วยแรงงานได้น้อยจึงช่วยปรุงอาหารอร่อยๆ ส่วนของการสร้างฝายก็จะเป็นขบวนการเติมกระสอบทรายในส่วนกลางของฝาย โดยประเมินความก้าวหน้าอยู่ในระดับร้อยละ 70 ของความสำเร็จตัวฝาย แต่หากประเมินความสุขในการทำฝายทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมจะบอกว่าเราเหนื่อยกายมากแต่เรามีความสุขใจที่เห็นความร่วมมือของทุกๆส่วนที่ไม่เคยคิดว่าจะมาร่วมกิจกรรม
วันที่ 11 มิถุนายน 2562 นำทีมคณะทำงานร่วมด้วยฝ่ายปกครอง ผู้นำท้องถิ่นนำโดยรองนายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง พนักงานเทศบาล ประชาชน ผู้สูงอายุ อสม.และครูฝายมีชีวิตจากตำบลวังอ่าง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการมาช่วยประเมินความสมบูรณ์ของตัวฝาย เพราะทีมทำงานของตำบลร่มเมืองจะต้องเรียนรู้ปัญหาของการทำให้ฝายมีประสิทธิภาพมากที่สุด ทั้งนี้กลุ่มครูฝายในครั้งนี้เป็นการประสานผ่านปราชญ์ในชุมชนที่เป็นคุณครูในการวางรูปแบบการสร้างฝายในครั้งแรก ซึ่งจะเห็นว่า ทีมทำงานของตำบลร่มเมืองเกิดการเรียนรู้ ทักษะ ความแก้ไขปัญหา และการสร้างทีมให้เข้มแข็ง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต และท่าน้ำ
  2. จัดเตรียมพื้นที่ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิตและท่าน้ำ
  3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการทำฝายมีชีวิตและท่าน้ำ
  4. ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวมพลังชาวบ้านชาวร่มเมืองทุกภาคส่วนร่วมกันสร้างฝายมีชีวิตและท่าน้ำ
  5. ดำเนินการสร้างฝายมีฃีวิตและท่าน้ำ

 

100 0

18. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 7

วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้  น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๖.๑ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๕ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๙ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๘ เมตร
ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๐.๙ + ๐.๘ =  ๐.๘๕ เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน  น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น  ๐.๗๕ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
ค่าความโปร่งแสง =  (๑) + (๒)         ๒ =  ๐.๗๕ + ๐.๖๐ =  ๐.๖๗๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร  แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

15 0

19. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 7

วันที่ 4 มิถุนายน 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ
  2. เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 17 คน
  3. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง
  4. ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. หัวหน้าโครงการ กำนัน รายงานผลการอนุมัติโครงการ และแจ้งการร่วมลงนามในสัญญาโครงการ
  2. รองประธาน นายประพิศ ศรีนอง และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และร่วมแลกเปลี่ยนหาแนวทางในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและภาคีความร่วมมือที่เข้าร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน คือ โรงเรียนวัดนาโอ๋ เทศบาลตำบลร่มเมือง รพ.สต.บ้านหูแร ส่วนของฝายท้องที่
  3. พี่เลี้ยงแนะนำหน่วยจัดการ โครงการ และ แนะนำสสส. และแนวทางความร่วมมือในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. สรุปแนวทางและกำหนดแผนการดำเนินงาน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 39 19                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 300,000.00 175,650.00                  
คุณภาพกิจกรรม 76 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 6 ( 8 พ.ค. 2562 )
  2. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 7 ( 20 พ.ค. 2562 )
  3. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 7 ( 8 มิ.ย. 2562 )
  4. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 8 ( 20 มิ.ย. 2562 )
  5. เวทีติดตามประเมินผล ครั้งที่ 2 ( 20 มิ.ย. 2562 )
  6. เวทีกำหนดกติการชุมชนในการอนุรักษ์คลอง ( 28 มิ.ย. 2562 - 13 มิ.ย. 2562 )
  7. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 8 ( 8 ก.ค. 2562 )
  8. จัดทำกองทุนอนุรักษ์คลอง ( 9 ก.ค. 2562 )
  9. เวทีสรุปบทเรียนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 1 ( 9 ก.ค. 2562 )
  10. ปล่อยพันธุ์ปลา ครั้งที่ 2 ( 10 ก.ค. 2562 )
  11. เพาะพันธ์ุกล้าไม้และปลูกไม้ชายคลองและหัวสวน ครั้งที่ 2 ( 15 ก.ค. 2562 )
  12. เพาะพันธ์ุกล้าไม้และปลูกไม้ชายคลองและหัวสวน ครั้งที่ 3 ( 15 ก.ค. 2562 )
  13. ทำฝายมีชีวิต และท่าน้ำ ( 15 ก.ค. 2562 - 12 ส.ค. 2562 )
  14. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 9 ( 20 ก.ค. 2562 )
  15. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 9 ( 8 ส.ค. 2562 )
  16. เวทีติดตามประเมินผล ครั้งที่ 3 ( 8 ส.ค. 2562 )
  17. ปล่อยพันธุ์ปลา ครั้งที่ 3 ( 12 ส.ค. 2562 )
  18. รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 10 ( 20 ส.ค. 2562 )

(................................)
นายประพาส แก้วจำรัส
ผู้รับผิดชอบโครงการ