directions_run

อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะทำงานมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนงานอนุรักษ์คลอง
ตัวชี้วัด : 1.คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้การอนุรักษ์ฟื้นฟูคลองไม่น้อยกว่าร้อยละ50 2.มีข้อมูลสถานการณ์ ปัญหา การใช้ประโยชน์ แนวทางในการจัดการและอนุรักษ์คลอง 3.มีคณะทำงานเกิดตัวแทนหลากหลาย และมีการแบ่งบทบาท 4.มีแผนการขับเคลื่อนการทำงาน 5.คนในชุมชนร้อยละ 20 มีส่วนร่วมในการทำฝายมีชีวิต/ท่าน้ำ 6.ปลูกป่าชายคลองเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1,000 ต้น 7.มีครอบครัวปลูกไม้เพิ่มในเขตหัวสวน ร้อยละ 60 ของครัวเรือนที่มีพื้นที่เขตหัวสวน 8.เกิดคณะทำงานติดตามเฝ้าระวังฟื้นฟูและอนุรักษ์คลอง 9. กติกา/ข้อตกลง ปฎิญญาร่มเมืองอนุรักษ์คลอง 10.เกิดกองทุนอนุรักษ์คลองนาโอ่
0.00 56.00

ภาคีหน่วยงาน องคืกรในชุมชน ต่างให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนมากขึ้น เช่น โรงเรียนจะให้นักเรียนเข้ามาเรียนรู้และทำกิจกรรมของโครงการด้วยทุกครั้ง - หน่วยบริการสุขภาพในชุมชนทั้ง 2 แห่ง ต่างช่วยให้ข้อมูลการเชื่อมโยงของการมีสุขภาพที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่ดีที่มาจากธรรมชาติ เช่น อากาศดีทีมีต้นไม้ คุณภาพน้ำที่ดีถ้าทุกคนดูแลความสะอาดบริเวณโดยรอบแหล่งน้ำ แหล่งเพาะพันธุ์โรดไม่มีถ้าทุกคนไม่ทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทาง โดยใช้ อสม.เข้ามาไปกระบอกเสียง

2 คลองนาโอได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีชีวิต
ตัวชี้วัด : 11.พื้นที่ป่าริมคลองเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 50 12.มีพันธุ์ปลาท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 5 ชนิด 13.มีพันธุ์ไม้เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 20 ชนิด 14.เกิดฝายมีชีวิตอย่างน้อย 3 ฝายและมีฟื้นท่าน้ำริมคลอง 5 ท่า 15.จุดเสี่ยงการพังทลายของดินได้รับการจัดการอย่างน้อย 2 จุด
0.00 2,045.00

บันไดท่าน้ำเล็กๆ คือ บันไดที่ทอดมาจากบริเวณดินหัวสวนที่มีครัวเรือนอาศัย ซึ่งก่อนทำโครงการในการสำรวจข้อมูลทีมเก็บข้อมูลไม่พบบันไดดังกล่าว แต่เมือเก็บข้อมูลหลังเสร็จโครงการทำให้ทีมจัดเก็บข้อมูลแปลกใจที่มีบันไดเล็กๆนี้เพิ่มขึ้นตลอดสายคลอง - การลอยตัวของปลาที่ผิวคลองเมื่อฝนตก ซึ่งเป็นสิ่งที่คนรุ่นเก่าในชุมชนบอกกล่าวว่ามันแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของปลา และการมีน้ำคลองที่ดี ซึ่งอาจจะเป็นตัวบ่งชี้สำคัญของการบ่งบอกระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์ขึ้นของคลองนาโอ่

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ครัวเรือนในพื้นที่ตำบลร่มเม 300
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ครัวเรือนที่มีพื้นที่หัวสว 200

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนงานอนุรักษ์คลอง (2) คลองนาโอได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีชีวิต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีทำความเข้าใจโครงการ (2) ศึกษาดูงานการจัดการและอนุรักษ์คลอง (3) จัดทำข้อมูลคลอง (4) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 1 (5) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่2 (6) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 3 (7) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 5 (8) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 4 (9) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 6 (10) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 7 (11) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 8 (12) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 9 (13) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 10 (14) เพาะพันธ์ุกล้าไม้และปลูกไม้ชายคลองและหัวสวน ครั้งที่ 1 (15) เพาะพันธ์ุกล้าไม้และปลูกไม้ชายคลองและหัวสวน ครั้งที่ 2 (16) เพาะพันธ์ุกล้าไม้และปลูกไม้ชายคลองและหัวสวน ครั้งที่ 3 (17) ทำฝายมีชีวิต และท่าน้ำ (18) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 1 (19) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 3 (20) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 2 (21) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 4 (22) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 5 (23) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 6 (24) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 7 (25) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 8 (26) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 9 (27) รณรงค์การฟื้นฟูอนุรักษ์เฝ้าระวังคลองนาโอ่ ครั้งที่ 10 (28) ปล่อยพันธ์ุปลา  ครั้งที่1 (29) ปล่อยพันธุ์ปลา ครั้งที่ 2 (30) ปล่อยพันธุ์ปลา ครั้งที่ 3 (31) เวทีคืนข้อมูลคลองนาโอ่ (32) เวทีกำหนดกติการชุมชนในการอนุรักษ์คลอง (33) เวทีประกาศข้อตกลง"ปฏิญญาร่มเมือง" (34) จัดทำกองทุนอนุรักษ์คลอง (35) เวทีสรุปบทเรียนการจัดการและอนุรักษ์คลองนาโอ่ (36) เวทีติดตามประเมินผล ครั้งที่ 1 (37) เวทีติดตามประเมินผล ครั้งที่ 2 (38) เวทีติดตามประเมินผล ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh