directions_run

โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ
  1. เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักเรื่องการจัดการขยะ

    1.1 ประชาชนเข้าร่วมเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40

    1.2 ครัวเรือนสมัครเข้าร่วมจัดการขยะไม่น้อยกว่าร้อยละ.25


2. เพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ

2.1 เกิดกลไกที่ประกอบด้วยแกนนำชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง

    2.2 มีกฎกติกาเป็นมาตรการทางสังคมเพื่อการจัดการขยะ

    2.3 มีการเก็บข้อมูลการจัดการขยะ ต้นโครงการ และปลายโครงการ

    2.4 ครัวเรือนปฏิบัติตามกติกาทุกข้ออย่างน้อยร้อยละ 50


3. เพื่อลดปริมาณขยะในระดับครัวเรือนและชุมชน

3.1 ขยะครัวเรือนลดลงร้อยละ 80

    3.2 ขยะในชุมชนและที่สาธารณ ได้รับการจัดการทุกจุด

1.มีประชาชน ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ และภาคีเครือข่าย ร่วมเรียนรู้การจัดการขยะชุมชน จำนวน 86 คน(ครัวเรือน)

2.มีการสรุปผลการดำเนินงานตลอดโครงการ   2.1 มีการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบแต่ละกลุ่มบ้านในเรื่องการจัดการขยะครัวเรือน จำนวน 4 กลุ่ม จำนวน 4 ครัวเรือนที่เป็นต้นแบบในการจัดการขยะจากครัวเรือน   2.2มีการจัดบู้ทการจัดการขยะในครัวเรือนทั้ง 4 กลุ่มบ้าน   2.3มีการเรียนรู้เรื่องการนำขยะมาผลิตเป็นเครื่องใช้ เช่น ทำหมวกจากกล่องนม การทำกระเป๋าจากซองกาแฟ

3.มีการสรุปคืนข้อมูลชุมชน เรื่องการจัดการขยะ พบว่ามีขยะลดลงจากการคัดแยกขยะในครัวเรือน และมีขยะน้อยละในที่สาธารณะทั้ง 2 จุดที่ได้ดำเนินการ

4.ชุมชนได้มีการจัดตั้งธนาคารขยะขึ้นในหมู๋บ้าน เพื่อดำเนินการต่อไป และจะขยายเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนให้ได้ 100% ในหมู่ที่ 8 บ้านป่าตอ

5.มีนวตกรรมเกิดขึ้นจากเศษผ้าขี้ริ้ว คือ กระถางต้นไม้

รายงานกิจกรรม

ขยายผลสู่ทุกหมู่บ้านในตำบลโดยใช้กลไกรับตำบล มี อบต. เป็นแกนนำหลัก ร่วมกับภาคีที่เกี่ยงข้อง และ พชต.

 

 

 

 

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ
  1. เกิดกลไกแกนนำระดับหมู่บ้าน ระดับกลุ่มบ้าน และภาคีร่วม
  2. เกิดกลไกติดตามประเมินผล
  1. เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ 15 คน ที่ประกอบด้วยแกนนำกลุ่มบ้าน ผู้นำชุมชน ผู้แทน อบต. รพสต. กศน
  2. เกิดกลไกติดตามประเมินผลประกอบด้วย 7 คน ผู้นำชุมชน ผู้แทน อบต. รพสต. กศน

ตามรายงานกิจกรรม

เป็นพื่เลี้ยงให้กลไกระดับตำบล นการจัดการขยะที่ขยายผลสู่ระดับตำบล โดย อบต. พชต.และภาคี